การพฒั นานวตั กรรม
เรอ่ื ง การพฒั นาคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์
ด้วยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม ๑ สายชนั้ ๑ โครงงานคณุ ธรรม
กลุม่ มสาระการเรียนรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
โรงเรียนวดั บางพนู
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
คำนำ
ในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนวัดบางพูน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ ได้ตั้งเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาโดยกำหนดว่า สถานศึกษา
จะพัฒนานักเรียนโรงเรียนวดั บางพูนให้เกิดคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม ซึ่งโรงเรียน
วัดบางพูนได้ตระหนักถึงความสำคัญของโครงงานคุณธรรมดังกล่าวคณะผู้จัดทำได้ออกแบบกิจกรรมโครงงาน
คุณธรรม เพื่อแก้ปัญหาให้นักเรียนมีคุณธรรมและจริยธรรมมากขึ้น ทำให้กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม จดั ทำนวตั กรรมเรื่องการพฒั นาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑ สายช้ัน ๑
โครงงานคณุ ธรรม มาเพื่อเสริมสรา้ งคุณธรรมและจริยธรรมใหเ้ กิดขน้ึ แกผ่ ู้เรียนโรงเรียนวดั บางพนู อีกท้ังยังเป็น
การเพิ่มทักษะกระบวนการทำงานและเสริมสร้างคุณธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรยี นใหเ้ กิดข้ึนกบั นักเรียนโรงเรียน
วดั บางพูนในทกุ ระดบั ชั้นด้วย จึงไดจ้ ดั ทำโดยการศึกษาค้นคว้าจากรายงานการวจิ ัย และไดร้ บั ความร่วมมือจาก
ผู้บริหาร คณะครูผู้สอนวิชาสังคมศึกษาท่ีให้ข้อเสนอแนะและแนวทางในการกำหนดมาตรการ โดยมุ่งเน้นการ
ปฏบิ ัตงิ านทีต่ ่อเนื่อง
หวังวา่ การพัฒนานวัตกรรมในชนั้ เรียน เรื่อง การพัฒนาคณุ ธรรมอัตลักษณด์ ว้ ยกระบวนการโครงงาน
คุณธรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ฉบับนี้ จะเป็นแนวทางในการดำเนินงานสู่การพัฒนานักเรียนให้เกิด
คณุ ธรรมอัตลักษณด์ ้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรมอย่าง ยง่ั ยืนตอ่ ไป
คณะผจู้ ดั ทำ
บทคัดยอ่
ชอื่ งานวิจัย การพฒั นาคณุ ธรรมอตั ลักษณ์ดว้ ยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม ๑ สายชน้ั ๑ โครงงานคณุ ธรรม
คณะผู้จดั ทำ
นางสาวเกษฎาพร วรรณสุทธ์ิ
โรงเรยี น
ปีการศึกษา นางสาวธิดาภรณ์ ไกยพนั ธ์
นางสาวจุฑามาส ภิรมย์ศรี
นายอดิศร เอ่ยี มบุญสง่
ครกู ล่มุ สาระการเรยี นรสู้ ังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม โรงเรียนวดั บางพนู
สงั กัดสำนกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
วัดบางพนู สำนักงานเขตพ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาปทมุ ธานีเขต ๑
๒๕๖๓
การพัฒนานวัตกรรมเรื่อง การพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม
๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม เป็นการดำเนินงานเพือ่ พัฒนานักเรยี นระดบั ชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี
๓ ของโรงเรียนวัดบางพูนให้เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ซึ่งมีขั้นตอนการ
ดำเนินงานและใช้กระบวนการ PDCA ในการดำเนินการ ดังนี้ ประชุมคณะครูในการวางแผนจัดทำ กำหนด
ปฏิทินการดำเนินงาน โดยผู้บรหิ าร ครู และนักเรียนร่วมกันค้นหาและกำหนดคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน
ครูแต่ละสายชั้นนำคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนลงสู่นักเรยี น โดยมีการตรวจสอบและประเมินผลระหว่าง
ดำเนินกิจกรรมและสิ้นสุดการทำกิจกรรม สุดท้ายแล้วนำผลท่ีไดจ้ ากการตรวจสอบและประเมินผลมาเป็นแนว
ทางการพฒั นาคุณธรรมอัตลกั ษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรมของนกั เรยี นโรงเรียนวดั บางพูน
ผลการพัฒนานวัตกรรม พบว่า นักเรียนโรงเรียนวัดบางพูนเกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ ร้อยละ
๘๐ ขึ้นไปทุกประการ อันได้แก่ วินัยดี มีระเบียบ รับผิดชอบ รอบคอบจิตอาสา มีความพอเพียง จึงสรุปได้ว่า
นวัตกรรม เรื่อง การพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงาน
คุณธรรม บรรลุวัตถปุ ระสงคต์ ามเกณฑท์ ก่ี ำหนด
กติ ติกรรมประกาศ
การจัดทำงานวจิ ัย เรื่อง การพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑
สายชน้ั ๑ โครงงานคณุ ธรรม ครั้งนส้ี ำเรจ็ ลุลว่ งตามวัตถุประสงค์ไปได้ดว้ ยดี เน่ืองจากไดร้ ับความช่วยเหลือดูแล
เอาใจใส่เป็นอย่างดีจากหลายๆ ฝ่าย โดยเฉพาะท่านผู้อำนวยการโรงเรียน นางสาวอรุณศรี เหลืองธานี ที่ให้
การแนะนำแก้ไข ให้ข้อเสนอแนะติดตามความก้าวหน้าในการดำเนินการวจิ ัย คณะผูว้ ิจัยขอขอบคุณอย่างสูงไว้
ณ โอกาสน้ี
ขอขอบคุณ คณะครูครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมทุกท่านที่ให้
คำปรึกษาแนะนำทีเ่ ป็นประโยชน์อย่างยงิ่ ในการจัดทำงานวจิ ยั นีใ้ ห้สำเร็จลุล่วงดว้ ยดี ขอขอบพระคุณเป็นอย่าง
สูงไว้ ณ โอกาสน้ี
ขอขอบคุณ นักเรยี นกเรยี นระดับอนบุ าล - ช้นั มัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูน ท่ีให้
ความร่วมมอื ในการทำกจิ กรรมต่างๆ จนทำให้งานวิจยั คร้งั นี้จนสำเรจ็ ลุล่วงไปด้วยดี
คณะผู้จัดทำ
สารบัญ หน้า
เร่อื ง ก
ข
คำนำ ค
บทคดั ย่อ ง
กติ ติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช
สารบญั ตาราง
สารบญั แผนภมู ิ ๑
๒
บทท่ี ๑ บทนำ ๒
๑.๑ ความเป็นมาและความสำคญั ของปัญหา ๓
๑.๒ จุดประสงค์และเป้าหมายของการวิจยั ๔
๑.๓ ขอบเขตการศกึ ษา
๑.๔ นยิ ามศัพทเ์ ฉพาะทใี่ ชใ้ นการวจิ ยั ๖
๑.๕ กรอบเน้ือหาขน้ั ตอนการดำเนินงาน
๙
บทที่ ๒ เอกสารและงานวจิ ัยท่เี กี่ยวข้อง ๑๒
๒.๑ การพฒั นาคณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์ของโรงเรียนด้วยกระบวนการโครงงาน ๑๒
คณุ ธรรม ๑๒
๑๒
บทที่ ๓ วธิ ดี ำเนนิ การวิจัย ๑๒
๓.๑ ขนั้ ตอนการสร้างนวตั กรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคณุ ธรรม
๓.๒ กลุ่มประชากร ๑๓
๓.๓ เครอื่ งมอื ที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู
๓.๔ การพัฒนาและหาคุณภาพนวัตกรรม
๓.๕ การเก็บรวบรวมข้อมลู
๓.๖ การวิเคราะห์ข้อมลู
บทที่ ๔ ผลการวจิ ยั
๔.๑ ผลการพัฒนานกั เรียนระดบั อนบุ าล - ช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรยี น
วดั บางพนู ให้เกดิ คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้
๑๖
เรอ่ื ง ๑๖
บทที่ ๕ สรปุ อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ๑๗
๑๗
๕.๑ สรปุ ผลการวิจัย ๑๗
๕.๒ การอภปิ รายผล ๑๙
๕.๓ ปัจจยั ความสำเรจ็ ๑๙
๕.๔ บทเรยี นที่ไดร้ ับ/ ข้อเสนอแนะ
๕.๕ ประโยชนท์ ไี่ ดร้ ับ ๒๐
๕.๓ การเผยแพร่
๒๑
บรรณานกุ รม
ภาคผนวก
ภาคผนวก รูปภาพข้ันตอนการจดั กจิ กรรม
สารบญั ตาราง หนา้
๑๓
ตารางที่
๑ ผลจากการสังเกตพฤตกิ รรมนักเรียนระดับอนบุ าล - ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓
เกิดคุณธรรมอตั ลกั ษณ์
สารบญั แผนภมู ิ หนา้
๑๔
แผนภูมิที่
๑ ผลจากการสงั เกตพฤตกิ รรมนักเรยี นระดบั อนบุ าล-ชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี ๓
เกดิ คณุ ธรรมอัตลักษณ์
บทที่ ๑
บทนำ
๑. ความเปน็ มาและความสำคญั ของปญั หา
จากในปัจจุบันสภาพสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปทั้งจากเทคโนโลยีที่เข้ามาและจากความเป็นอยู่ที่
เปลี่ยนแปลงไป ทำให้นักเรียนขาดคุณธรรมในการใช้ชีวิตและเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจและด้วยนักเรียน
โรงเรียนวัดบางพูนส่วนใหญ่แล้วยังไม่สามารถสร้างคุณธรรรมให้เกิดขึ้นในตัวเองได้ จึงต้องมีการเสริมสร้าง
คุณธรรมให้เด็กนักเรียนเกิดความตั้งใจและมีคุณธรรมสำหรับใช้ในการดำเนินชีวิตและด้วยการที่โรงเรียน
วัดบางพูนเป็นโรงเรียนวถิ ีพุทธท่ีเนน้ การนำหลักธรรมทางพระพุทธศาสนามาใช้ในการบูรณาการประยกุ ต์ใช้ใน
การจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนาผู้เรียนผ่านกระบวนการทางวัฒนธรรมมุ่งพัฒนาจิตใจให้เข้มแข็งอย่าง
มีคุณภาพ มีวินัยในด้านการดำเนินชีวิตอย่างดีงามมีความรู้ที่ถูกต้อง มีศักยภาพในการคิดและการแก้ปัญหา
ดังนั้นในการดำเนินกิจกรรมโครงงานคุณธรรมจึงเปรียบเสมือนกระบวนการที่สามารถนำนักเรียนให้ก้าวไปสู่
คณุ ธรรมทพี่ งึ ปราถนาได้
โครงงานคุณธรรมหรือที่เรารู้จักกันในนามของโครงงานในการทำความดี ซึ่งโครงงานคุณธรรม
เปรียบเสมือนโครงงานคุณธรรมเชิงรุกโดยโครงงานคุณธรรมจะเปน็ ตัวที่ชว่ ยให้ผูเ้ รียนท่เี ปน็ ทั้งเด็กและเยาวชน
เกิดความรู้สึกนี้ขึ้นเองผ่านเทคนิคกระบวนการเรียนรู้แบบโครงงาน ( Project Appronch ) โดยประเด็นที่
นักเรียนเลือกที่จะนำมาทำโครงงานคุณธรรม จะเกิดจากความสนใจและความคิดของนักเรียนเองซึ่งเกิดมาก
จากพื้นฐานเดิม ปัญหาที่นักเรียนประสบพบเจอในห้องเรียนหรือการดำเนินชีวิต โดยการดำเนินงานของ
โครงงานคุณธรรม จะเน้นไปที่การเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่มที่ต้อลงมือปฏิบัติจริงด้วยความพากเพียร
พยายามอยา่ งจดจอ่ ในชว่ งระยะเวลาทยี่ าวนานพอสมควรกับปญั หาหรือเร่ืองท่นี ักเรียนสนใจ โดยวธิ ีปฏบิ ัติการ
ของนักเรียนจะเป็นในเชิงการแก้ปัญหาและส่งเสริมการบ่มเพาะความดี มีคุณธรรมอย่างเป็นรูปธรรมและเป็น
ระบบ รวมทั้งขยายการมีส่วนร่วมไปสู่บุคคลต่างๆในชุมชนของตนเองและเมื่อโครงงานคุณธรรมเป็น
กระบวนการพัฒนาคุณธรรมและความดี โครงงานคุณธรรมจึงมีลักษณะที่เปิดกว้างสำหรับทุกคน โดยไม่มี
ขอ้ จำกัดวา่ สำหรับใครอยา่ งไรเพราะโครงงานคุณธรรมหรอื ความดีงามเปน็ เรื่องทีม่ ีคุณคา่ ที่ควรเขา้ ถึงของคนทุก
คนนัน่ เอง
จากสภาพและปัญหาข้างต้น การพัฒนานวัตกรรม ๑ สายชน้ั ๑ โครงงานคุณธรรมได้ถูกออกแบบมา
เพื่อตอบโจทย์การแก้ปัญหานักเรียนโรงเรียนวัดบางพูน ทำให้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และ
วัฒนธรรม จึงมีความสนใจจัดทำนวัตกรรมเรื่อง ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรมมาเพื่อเสรมิ สร้างคุณธรรมให้
เกิดขึ้นกับนักเรยี นโรงเรยี นวัดบางพูน อีกทั้งยังเป็นการเพิม่ ทักษะกระบวนการทำงานและเสริมสร้างคุณธรรม
อัตลักษณ์ของโรงเรียนให้เกิดขึ้นกับนักเรียนโรงเรียนวัดบางพนู ในทุกระดับชนั้ ด้วย
๒. จดุ ประสงค์และเป้าหมายของการวจิ ยั
๒.๑ จุดประสงค์
๑. เพอื่ พฒั นานักเรียนระดับช้นั อนุบาล - ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูนให้เกิด
คณุ ธรรมอัตลักษณด์ ว้ ยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม
๒.๒ เปา้ หมาย
๑. นักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูน จำนวน ๙๓๒
คน สามารถแกป้ ญั หาโดยผา่ นกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม
๓. ขอบเขตการศกึ ษา
นวัตกรรมเรื่องการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑ สายชั้น ๑
โครงงานคุณธรรม ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดบางพูน คณะผู้จัดทำได้
กำหนดขอบเขต ดังนี้
๓.๑ ขอบเขตด้านกลุม่ เป้าหมาย
นกั เรียนระดบั ช้นั อนุบาล - ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูน ปกี ารศึกษา ๒๕๖๓
สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑ จำนวน ๙๓๒ คน
๓.๒ ขอบเขตด้านเน้อื หา
กระบวนการทำโครงงานคณุ ธรรม
๓.๓ ขอบเขตด้านตัวแปร
ตัวแปรที่ใชก้ ารวิจัย ผู้วจิ ัยไดแ้ บ่งออกเปน็ ๒ ตัวแปร ดงั นี้
๓.๓.๑ ตวั แปรตน้ ไดแ้ ก่
- โครงงานคุณธรรม
๓.๓.๒ ตัวแปรตาม ได้แก่ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียน
วดั บางพูนเกดิ คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม
ด้านครู ครูนำคุณธรรมอัตลักษณ์ไปลงสู่ห้องเรียนโดยใช้กระบวนการโครงงาน
คุณธรรมใหน้ ักเรยี นไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิ
ด้านนกั เรยี น นกั เรียนเกิดคุณธรรมอัตลกั ษณข์ องโรงเรียนดว้ ยกระบวนการโครงงาน
คณุ ธรรม
ดา้ นโรงเรยี น โรงเรยี นวัดบางพูนเป็นโรงเรยี นคณุ ธรรม
๓.๔ ขอบเขตดา้ นสถานท่ี
สถานที่ใช้วิจัยครั้งนี้ ได้แก่ ห้องเรียนนักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
โรงเรียนวดั บางพนู สำนักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
๓.๕ ขอบเขตดา้ นระยะเวลา
ระยะเวลาทีใ่ ช้การวจิ ัยคร้ังน้เี รมิ่ ต้งั แตเ่ ดอื นกรกฎาคม ๒๕๖๓ ถงึ เดอื นเมษายน ๒๕๖๔
๔. นยิ ามศัพท์เฉพาะท่ีใชใ้ นการวจิ ัย
โครงงานคุณธรรม หมายถึง โครงงานความดีเชิงรุกที่เด็กคิดเด็กเลือกเด็กทำ ในรูปแบบของโครงงาน
กลุ่มด้วยการลงมือปฏิบัติจริง ทำให้เกิดการเรียนรู้ถึงการทำความดี เพื่อแก้ไขปัญหาความเสื่อมทางศีลธรรม
และส่งเสริมการบ่มเพาะความดีผา่ นกิจกรรมรูปแบบหลกั บนั ได ๘ ขน้ั ดังน้ี
- ขน้ั ท่ี ๑ วิเคราะห์ปญั หาในห้องเรยี น ครทู ่ปี รึกษาอาจวางเงื่อนไขเบื้องตน้ จากการใหผ้ เู้ รยี น
สำรวจและสังเกตสภาพปญั หาต่างๆ จากเพอ่ื นนกั เรียน ปัญหาทพ่ี บเหน็ ในห้องเรียน แล้วชว่ ยกันระดมความคิด
ตอ่ ปญั หาทเี่ กิดขน้ึ ใหไ้ ด้มากท่ีสุด แลว้ มาอภปิ รายกนั ในกลุม่ ย่อยและกลุ่มใหญก่ ็ได้
- ขั้นที่ ๒ กำหนดวิธีการในการแก้ไขปัญหา นักเรียนและครูร่วมกันกำหนดวิธีแก้ไขปัญหาให้
สอดคล้องกบั สาเหตขุ องปญั หาและวตั ถุประสงคใ์ นการทำโครงงานคณุ ธรรม
- ขั้นที่ ๓ จัดทำโครงร่างโครงงานคุณธรรม นักเรียนร่วมกันจัดทำโครงร่างโครงงานคุณธรรม
ซึ่งขั้นตอนนี้เป็นการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและภาพรวมทั้งหมด โดยนำข้อมูลที่รวบรวมและ
ประมวลได้ท้งั หมดนน้ั มาเรียบเรียงและจัดทำเป็นเอกสารร่างโครงงาน โดยมีหวั ข้อดังน้ี ระบุปัญหา, ระบุสาเหตุ
ของปัญหา,กำหนดวัตถุประสงค์ ,กำหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหานั้น ,กำหนดวิธีแก้ไขปัญหา ,กำหนด
หลักธรรม พระราชดำรสั พระราชดำริ หรอื คำสอนทนี่ ำมาใชใ้ นการดำเนินงานโครงงานคุณธรรม ,เชื่อมโยงไปสู่
คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ,กำหนดวิธีวัดและประเมินผล ,ตั้งชื่อโครงงานคุณธรรม ,คณะผู้รับผิดชอบ ,
ครูท่ปี รึกษา
- ขั้นที่ ๔ ลงมือปฏิบัติ นักเรียนนำโครงร่างโครงงานมาปฏิบัติจริงไปตามลำดับขั้นตอนและ
วธิ ีการดำเนินงาน ซงึ่ จะมที ั้งในสว่ นทแี่ บ่งงานและดำเนินงานกันในระหว่างสมาชิกในกลุ่มผรู้ ับผิดชอบโครงงาน
และงานในส่วนที่สร้างการมีส่วนร่วมให้กับเพื่อนนักเรียนอื่นหรือบุคคลต่างๆ ที่เข้ามาช่วยทำงานในด้านต่างๆ
โดยอยูภ่ ายใตก้ ารดแู ล กำกบั ตดิ ตาม และแนะนำอย่างใกล้ชิดของครูท่ีปรกึ ษา
- ขั้นที่ ๕ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการจัดประกวดโครงงาน เป็นสายชั้นให้นักเรียนแต่ละห้อง
นำเสนอโครงงานคุณธรรม และนำผลงานชนะเลิศจัดนิทรรศการโชว์ผลงานในวันวิชาการเพื่อเป็นการ
แลกเปลย่ี นเรยี นรู้
- ขั้นที่ ๖ ประเมินพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
ตามแบบประเมนิ หลกั ธรรมและคณุ ธรรม
- ขั้นที่ ๗ ถอดบทเรียน นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่และเขียนบรรยาย
ความรสู้ ึกในการเข้าร่วม ๑ สายชน้ั ๑ โครงงานคณุ ธรรม
- ขั้นท่ี ๘ การสรุปประเมินผลและรายงานผล จากการดำเนินงานนั้นให้นักเรียนได้ทำการ
ประเมินผลและสรุปผลการดำเนนิ งาน เพือ่ นำมาใชจ้ ัดทำเปน็ รูปเลม่ โครงงานคุณธรรม
คุณธรรมอัตลักษณ์ หมายถึง คุณธรรมที่ทุกคนร่วมกันกำหนดขึ้น จากการคิดวิเคราะห์เพื่อใช้
แก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้เกิดขึ้นในโรงเรียนคุณธรรม เป็นตัวบ่งชี้พฤติกรรมของนักเรียนโรงเรียน
วดั บางพูน ประกอบด้วย วนิ ัยดี มรี ะเบยี บ รับผิดชอบ รอบคอบจติ อาสา มีความพอเพยี ง
กรอบแนวความคิด
แผนผังการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ใชร้ ูปแบบ “บางพูนสคลู โมเดล”
วสิ ัยทัศนโ์ รงเรยี น บางพูนสคูลโมเดล บ้าน วัด โรงเรียน
โรงเรียนวัดบางพูนจดั การศึกษาแบบมสี ่วน
ร่วมมงุ่ พัฒนาผู้เรียนใหม้ ีความรคู้ คู่ ุณธรรม
นอ้ มนำหลักเศรษฐกจิ พอเพยี งมคี วามเปน๋ เลิศ
ด้านวิชาการและเทคโนโลยีบนพื้นฐานของ
ความเป็นไทย
วนิ ยั คุณธรรมเปา้ หมาย มคี วามรับผดิ ชอบ
คุณธรรมอตั ลกั ษณ์ คุณธรรมอตั ลกั ษณ์
ผบู้ ริหาร ครู นักเรียน ผู้บรหิ าร ครู นกั เรียน
พฤติกรรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งช้ี พฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤติกรรมบง่ ช้ี พฤติกรรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบง่ ชี้
เชิงบวก เชงิ บวก เชงิ บวก เชงิ บวก เชิงบวก เชงิ บวก
ปฏบิ ตั หิ นา้ ที่ตรง เขา้ สอนตรงเวลา เดินแถวเปน็ ระเบยี บ นิเทศการเรยี น
เตรียม สอ่ื วัสดุ อปุ กรณ์ ส่งงานตรงเวลา ทง้ิ ขยะลง
เวลา พดู จาสุภาพ พดู จาสภุ าพ การสอน ประกอบการ สอน สง่ งานท่ี ถังมีความรับผดิ ชอบตอ่
พูดจาสภุ าพ ปฏบิ ัติตามกฎของ ตรงตามเวลา ไดร้ บั มอบหมาย ตรง หน้าที่ที่ไดร้ บั มอบหมาย
กำหนด
โรงเรยี น
รอบคอบจิตอาสา มคี วามพอเพียง
คุณธรรมอตั ลักษณ์ คณุ ธรรมอตั ลักษณ์
ผู้บรหิ าร ตรู นกั เรยี น ผู้บรหิ าร ครู นกั เรยี น
พฤตกิ รรมบ่งชี้ พฤติกรรมบง่ ชี้ พฤติกรรมบ่งช้ี พฤติกรรมบง่ ชี้ พฤตกิ รรมบง่ ช้ี พฤตกิ รรมบ่งชี้
เชงิ บวก เชิงบวก เชงิ บวก เชิงบวก เชิงบวก เชงิ บวก
ปฏบิ ัติหนา้ ที่ทัง้ ใน ชว่ ยเหลืองาน รักษาความสะอาด ปิดเคร่ืองใช้ไฟฟา้
และนอกสถานท่ี เกบ็ ขยะโดยไม่รอ เม่อื ไมใ่ ช้งานใชว้ ัสดุ ใช้อุปกรณ์การเรียนการ รบั ประทานอาหาร
โรงเรียน คำสง่ั จากครชู ว่ ยเหลือ อุปกรณอ์ ยา่ งคมุ้ คา่ สอนอย่างประหยัดตาม กลางวนั หมดจาน
ด้วยความเต็มใจ งานโรงเรยี นด้วย ความจำเป็นและคุม้ คา่ ใชว้ ัสดอุ ปุ กรณอ์ ยา่ ง
ความเตม็ ใจ ปิดเครื่องใช้ไฟฟ้า เม่ือไม่ ค้มุ คา่ ปิด
ใชง้ าน เครอื่ งใช้ไฟฟ้า เมือ่ ไม่ใช้
งาน
บทที่ ๒
เอกสารและงานวิจัยทเี่ กย่ี วขอ้ ง
นวัตกรรมเรื่อง การพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑ สายชั้น ๑
โครงงานคุณธรรม ของนักเรียนระดับชั้นอนุบาล–ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดบางพูน คณะผู้จัดทำได้
นำเสนอแนวคิดทฤษฎี เอกสาร และงานวจิ ัยท่ีเกี่ยวขอ้ ง ดังนี้
๑. การพัฒนาคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรียนดว้ ยกระบวนการโครงงานคุณธรรม
ความหมายของโครงงานคณุ ธรรม
โครงงานคุณธรรมเป็นกระบวนการที่ให้ผู้เรียนคิดแก้ไขปัญหาจากที่พบเจอแล้วนำปัญหานั้นมาสู่การ
ลงมือแกไ้ ขปญั หาโดยใชโ้ ครงงานคณุ ธรรมเพ่ือให้ผู้เรยี นได้ใช้กระบวนการกลุ่มในการลงมอื แก้ไขปัญหาดว้ ยกนั
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้ให้ความหมายว่า โครงงานคุณธรรมหรือโครงงาน
ความดี เป็นนวัตกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมการทำความดีมีคุณธรรมแบบเชิงรุก โดยให้ผู้เรียนที่เป็นเด็กและ
เยาวชนเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของกิจกรรมการเรียนรู้นี้เองผ่านเทคนิควิธีการเรียนรู้แบบโครงงาน ( Project
Approach) โดยประเด็นที่เลือกทำโครงงาน นั้นเกิดขึ้นมาจากความสนใจและความคิดริเริ่มของผู้เรียนเอง
เน้นการเรียนรู้ผ่านกระบวนการกลุ่มที่ ลงมือปฏิบัติงานจริง ด้วยความพากเพียรพยายามอย่างจดจ่อต่อเนื่อง
ในลกั ษณะวิจยั ปฏิบตั ิการ (action research) นำไปสู่การแก้ไขปัญหาด้านความเสอื่ มโทรมทางศีลธรรม และ
ส่งเสริมการบ่มเพาะความดีมีคุณธรรมอย่าง เป็นรูปธรรมและเป็นระบบรวมทั้งการขยายความมีส่วนร่วม ไปสู่
บคุ คลตา่ งๆ ในสถานศกึ ษาและชมุ ชนของตนเองหรอื ชมุ ชนอืน่ ๆ ท่ีเกี่ยวข้อง
ราชบณั ฑติ ยสถาน ได้ใหค้ วามหมายคณุ ธรรมไว้ดังนี้
สภาพคุณงามความดี เปน็ สภาพคุณงามความดีทางความ ประพฤติและจติ ใจ ซึ่งสามารถแยก
ออกเป็น ๒ ความหมาย ได้แก่ ความประพฤติดีงามเพื่อประโยชน์แก่ตนและสังคม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากหลัก
ศีลธรรมทางศาสนาค่านิยมทางวัฒนธรรมประเพณีหลักกฎหมาย จรรยาบรรณวิชาชีพ การรู้จักไตร่ตรองว่า
อะไรควรทำไม่ควรทำและอาจกล่าวได้ว่าคุณธรรม คือ จริยธรรมที่นำมาปฏิบัติจนเป็นนิสัย เช่น การเป็นคน
ซอื่ สัตย์ เสยี สละ และมีความรับผดิ ชอบ
พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ได้ให้ความหมายว่าคุณธรรม คือ ความดีงามที่ถูกปลูกฝัง
ข้นึ ในจิตใจจนเกิดจติ สำนกึ ทีด่ ี มคี วามกตัญญู เปน็ ต้น
วศิน อินทสระ ได้กล่าวถึง คุณธรรม ไว้ว่าหมายถึง อุปนิสัยอันดีงามซึ่งสั่งสมอยู่ในดวงจิตอุปนิสัยนี้
ได้มาจากความพยายามและความประพฤติท่ีตดิ ต่อกนั มาเป็นเวลานาน
พุทธทาสภิกขุ ได้ให้ความหมายว่าคุณธรรมไวว้ า่ หมายถึง ค่าที่มีอยู่ในแต่ละสิ่ง ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความ
ยึดถือ เป็นไปได้ทั้งทางดีและทางร้าย คือ ไม่ว่าจะทำให้จิตใจยินดีหรอื ยินร้าย ก็เรียกว่า “คุณ” ซึ่งเป็นไปตาม
ธรรมชาติของมัน ส่วนคำว่า ธรรม มีความหมาย ๔ อย่าง คือ ธรรมะ คือ ธรรมชาติ ธรรมะ คือ กฎของ
ธรรมชาติท่ีเรามีหน้าที่ต้องเรียนรู้ ธรรมะ คือ หน้าที่ตามกฎของธรรมชาติ เรามีหน้าที่ต้องปฏิบัติ
ธรรมะ คือ ผลจากการปฏิบัติหนา้ ทีน่ ้ัน เรามีหน้าท่ีจะตอ้ งมี หรือใช้มนั อย่างถูกต้อง
ประภาศรี สีหอำไพ ได้ให้ความหมายว่า คุณธรรม หมายถึง หลักธรรมจริยธรรมท่สร้างความรู้สึกผิด
ชอบชั่วดีทางศลี ธรรม มคี ณุ งามความดภี ายในจติ ใจจนเตม็ เปย่ี มดว้ ยความสุข ความยินดี
จากความหมายเกี่ยวกับคุณธรรมที่กล่าวมาแล้วพอสรุปได้ดังน้ีคุณธรรม หมายถึง หลักของความดี
ความงาม ความถูกต้อง ซง่ึ จะแสดงออกมาโดยการกระทำทางกาย วาจาและจติ ใจของแตล่ ะบุคคล ซ่งึ เป็นหลัก
ประจำใจในการประพฤติปฏิบัติจนเกิดเป็นนิสัยเป็นสิ่งที่มีประโยชน์ต่อตนเองผู้อื่น และสังคมให้เกิดความรัก
ความสามคั คี ความอบอนุ่ มั่นคงในชีวติ
ความหมายของจริยธรรม
ราชบัณฑิตยสถาน ให้ความหมายว่า “จริยธรรมหมายถึง ธรรมที่เป็นข้อประพฤติปฏิบัติ ศีลธรรม
กฎศลี ธรรม
พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชิโร) ได้ให้ความหมายว่าจริยธรรม คือ การประพฤติปฏิบัติ
การกระทำดีตามคุณธรรมที่มีอยู่ในจิตใจปรากฏเป็นความดีงาม ทั้งทางกาย ทางวาจา และ ทางใจ เมื่อความดี
งามมีความกตัญญู ขยัน ประหยัด ซอื่ สตั ย์ สามคั คี มีวินยั มีน้ำใจ และ เป็นสภุ าพชน เป็นต้น ถูกแสดงออกทาง
จรรยามารยาทการประพฤติปฏบิ ตั ิและการกระทำทดี่ ีตามคณุ ธรรมที่มีในจติ ใจนั้น
พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต) กล่าวว่าจริยธรรม คือ หลักแห่งความประพฤติ หรือแนวทาง
การปฏิบัติ หมายถึง แนวทางของการปฏิบัติ หมายถึง แนวทางของการประพฤติปฏิบัติจนให้เป็นคนดีเพ่ือ
ประโยชน์สขุ ของตนเองและสว่ นรวม
ทา่ นพทุ ธทาสภกิ ขุได้ให้ความหมายจริยธรรมวา่ เปน็ ระเบียบปฏิบตั ิที่มุง่ ปฏบิ ตั เิ พอ่ื ให้เกิดความผาสุกใน
สังคม เปน็ สง่ิ ที่มนุษยท์ ำขนึ้ แต่งขึ้นตามเหตผุ ลของมนษุ ยเ์ อง หรือตามความตอ้ งการของมนษุ ย์
พระพรหมคุณาภรณ์ ได้กล่าวถึง จริยธรรม ไว้ว่า เป็นเรื่องของการดำเนินชีวิตในด้านต่าง ๆ ดังนี้ ๑)
พฤติกรรมทางกาย วาจา และการใช้อินทรีย์ ในการสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม ๒) จิตใจของเรา ซึ่งมีเจตจำนง
ความตั้งใจแรงจูงใจที่จะทำให้เรามีพฤติกรรมสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมอย่างไรตามภาวะและคุณสมบัติต่าง ๆ
ของจิตใจนั้นๆ ๓) ปัญญา ความรู้ ซึ่งเป็นตัวชี้ทางให้ว่าเราจะสัมพันธ์อย่างไรจึงจะได้ผลและเป็นตัวจำกัด
ขอบเขตว่าเราจะสัมพันธ์กับอะไรจะใชพ้ ฤติกรรมได้แค่ไหนเรามีปัญญามีความรู้แค่ไหนเราก็ใช้พฤติกรรมได้ใน
ขอบเขตนน้ั ถา้ เราขยายปญั ญาความรอู้ อกไป เราก็มีพฤตกิ รรมทีซ่ ับซอ้ นและได้ผลดียง่ิ ขน้ึ
วิทย์ วิศทเวทย์ ได้ให้ความหมาย จริยธรรม คือ ความประพฤติ ตามค่านิยมที่พึงประสงค์ โดยใช้วิชา
จริยศาสตรม์ าวิเคราะห์แยกแยะว่าสง่ิ ใดดี ควรกระทำและสิง่ ใดชั่วควรละเว้น
จากความหมายเก่ยี วกับจริยธรรมท่ีกล่าวมาแล้วพอสรุปได้ดังนี้จริยธรรม หมายถึง จริยธรรมจึงเป็นส่ิง
สำคัญในสังคม ที่จะนำความสุขสงบและความและความเจริญก้าวหน้ามาสู่สังคมนั้นๆ เพราะเมื่อคนในสังคม
มีจริยธรรม จิตใจก็ย่อมสูงส่ง มีความสะอาด และสว่างในจิตใจ จะทำการงานใดก็ไม่ก่อให้เกิดความเดือดร้อน
ไม่ก่อให้เกิดทุกข์แก่ตนเองและผู้อื่น เป็นบุคคลมีคุณค่ามีประโยชน์ และสร้างสรรค์คุณงามความดี อันเป็น
ประโยชน์ต่อบา้ นเมืองตอ่ ไป
ความหมายของคณุ ธรรมอตั ลักษณ์
คุณธรรมอัตลักษณ์ หมายถึง คุณธรรมที่ทุกคนร่วมกันกำหนดขึ้น จากการคิดวิเคราะห์เพื่อ
ใช้แก้ปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งดีๆ ให้เกิดขึ้นในโรงเรียนคุณธรรมเป็นลักษณะเฉพาะของสถานศึกษาที่มีความ
โดดเด่นเปน็ เอกลักษณ์ของสถานศึกษาและเป็นตวั บ่งชพ้ี ฤตกิ รรมของนักเรียนโรงเรียนวัดบางพูน ประกอบด้วย
วินัยดี มีระเบยี บ รบั ผิดชอบ รอบคอบจติ อาสา มีความพอเพียง
ความหมายของวินยั ดี
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ ให้ความหมายของวินัยไว้ว่า ระเบียบแบบ
แผนและขอ้ บังคบั ขอ้ ปฏบิ ตั ิ
คิงส์เบอร่ี (Joseph Vingsbury) อธิบายว่า วินัย หมายถึงการควบคุมพฤติกรรมของบุคคลซ่ึง
อาจทำได้ ๒ วิธี ไดแ้ ก่ การใชก้ ฎ ข้อบังคับ คำสั่งและการบงั คับโดยใช้การลงโทษเป็นเครื่องหนนุ หรือโดยการส่ัง
สอน ฝกึ อบรม เพือ่ ให้เกดิ ประสบการณใ์ นการมคี วามพรอ้ มรับผดิ ชอบ
ผ.อ.ปนิ่ มุทกุ ันต์ อธิบายความหมายของคำว่า วินัย วา่ วินัยเป็นแบบของคน คนทุกท่ี ฟอร์ม
ตัวอยู่ในวินัยแล้ว เป็นคนดีทั้งนั้น ยกตัวอย่าง เช่น ดิน หิน ปูน หรือเศษโลหะ ที่เราเหยียบย่ำโยนทิ้ง ถ้ามา
ปั้นหลอมเข้าแบบเป็นพระพุทธรูปแล้วก็จะกลายเปน็ ของดีที่ทุกคนเคารพกราบไหว้ คนเรามีแบบ แบบของคน
เรยี กว่า “วนิ ยั ” วนิ ยั จงึ เป็นแบบนี้ ป้ันหลอมคนใหเ้ ป็นคนดี
จากความหมายเกี่ยวกับวินัยพอสรุปความหมายของวินัยได้ว่าระเบียบ กฎเกณฑ์ข้อบังคับสำหรับ
ควบคุมความประพฤติทางกายของคนในสังคมใหเ้ รียบรอ้ ยดงี าม เป็นแบบแผนอันหนึง่ อันเดยี วกัน สามารถอยู่
ร่วมกันในสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ
ความหมายของมคี วามรบั ผดิ ชอบ
ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายไว้วา่ ยอมรับผลทั้งที่ดีและไม่ดใี นกิจการที่ตนได้ทำลงไป
หรือที่อยู่ในความดูแลของตน เช่น สมุห์บัญชีรับผิดชอบเรื่องเกี่ยวกับการเงินรับเป็นภารธุระ เช่น งานนี้เขา
รบั ผดิ ชอบเรือ่ งอาหาร เธอจะไปไหนกไ็ ปเถอะ ฉันรบั ผดิ ชอบทกุ อย่างในบา้ นเอง
อ.เปล้อื ง ณ นคร ไดใ้ ห้ความหมายไวว้ ่ารบั ความดีความชั่วในสิง่ ของหรือกจิ การทไี่ ด้ทำไแล้ว
เพชรา ให้ความหมายว่าความรับผิดชอบ หมายถึง ภาระหรือพันธะผูกพันในการจะปฏิบัติ
หน้าที่การงานของผู้ร่วมงานให้เป็นไปตามเป้าหมายขององค์การเนื่องจากบุคคลต้องอยู่ร่วมกันทำงานใน
องค์การจำเป็นต้องปรบั ลักษณะนสิ ยั เจตคติของบคุ คลเพ่ือช่วยเปน็ เครื่องผลักดันให้ปฏิบัติงานตามระเบียบรู้จัก
เคารพสิทธิของผู้อื่น ปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ต้องรับผิดชอบและมีความซื่อสัตย์สุจริต คนที่มีความรับผิดชอบ
จะทำให้การปฏิบัติงานไปสู่เป้าหมายที่วางไว้ และช่วยให้การทำงานร่วมกันเป็นไปด้วยความราบรื่น ความ
รบั ผิดชอบจึงเปน็ ภาระผูกพนั ท่ผี ้นู ำตอ้ งสรา้ งขึน้ เพ่ือให้องคก์ ารสามารถบรรลเุ ป้าหมายได้อยา่ ง
จากความหมายเกี่ยวกับความรับผดิ ชอบ พอสรุปความหมายของความรับผดิ ชอบได้ว่าเป็นการยอมรับ
หรือการรบั ผดิ ชอบในสง่ิ หรอื หน้าท่ีต่างๆทไ่ี ดร้ บั มอบหมายและปฏบิ ตั ิหน้าที่ทไี่ ด้รับอย่างเตม็ ความสามารถ
ความหมายของรอบคอบจิตอาสา
กิรตินันท์ จันทร์ประไพ ได้ให้ความหมายไว้ว่า "จิตอาสา" คือ ใจที่มีความต้องการที่จะทำ
ด้วยความเตม็ ใจและสมัครใจ ซึ่งมาจากคำว่า จิต หมายถึง สิ่งที่มีหนา้ ที่รู้ คิด และนึก และรวมกับคำวา่ อาสา
หมายถงึ ความหวงั ความต้องการ รับทำดว้ ยความเตม็ ใจ
พระไพศาล วิสาโล กล่าวว่า จิตอาสา คือจิตที่ไม่นิ่งดูดายต่อสังคม หรือความทุกข์ยากของ
ผคู้ น และปรารถนาที่จะเข้าไปช่วย ไม่ไดช้ ว่ ยโดยการให้เงนิ แต่ช่วยโดยการสละเวลาและแรงเขา้ ไปช่วยด้วยจิต
ทีเ่ ปน็ สุขทไ่ี ด้ชว่ ยผอู้ ่ืน ไม่ใชแ่ ค่ทำประโยชน์เพื่อผูอ้ นื่ อย่างเดียว แตเ่ ปน็ การพัฒนา "จิตวญิ ญาณ" ของเราดว้ ย
ราชบัณฑิตยสถาน ได้ให้ความหมายของ จิตสำนึกทางสังคม หรือจิตสำนึกสาธารณะว่า คือ
การตระหนกั ร้แู ละคำนงึ ถึงส่วนรวมรว่ มกนั หรือการคำนงึ ถึงผอู้ ่ืนทร่ี ว่ มสมั พนั ธ์เปน็ กลุ่มเดยี วกัน
สำนกั งานคณะกรรมการวจิ ัยแห่งชาติ ได้ใหค้ วามหมายว่า การรจู้ กั เอาใจใส่เป็นธรุ ะและเข้าร่วม
ในเรอ่ื งของส่วนรวมที่เป็นประโยชน์ต่อ ประเทศชาติ มี ความสำนึกและยึดมนั่ ในระบบคุณธรรม และจริยธรรม
ท่ีดีงาม ละอายต่อสิง่ ผดิ เนน้ ความเรียบรอ้ ย ประหยดั และมคี วามสมดลุ ระหวา่ งมนุษย์กับธรรมชาติ
สรุปไดว้ า่ จติ อาสาหรือจิตสาธารณะ คือ จิตสำนกึ (Conscious) เปน็ การตระหนักรตู้ ัว หรือเปน็
จติ สว่ นทรี่ ู้ตวั รูว้ า่ ทำอะไร อยูท่ ่ีไหน เปน็ อย่างไรขณะที่ต่ืนอยนู่ ั่นเอง ส่วนคำว่า สาธารณะ (Public) เป็น การ
แสดงออกเพื่อสังคมส่วนรวม เป็นการบริการชุมชน ทำประโยชน์เพื่อสังคม ถ้าเป็นสิ่งของก็ต้องใช้ประโยชน์
ร่วมกนั เมื่อนำสองคำมารวม หมายถึง การตระหนักรู้ตน ทีจ่ ะทำส่ิงใดเพือ่ เห็นแกป่ ระโยชน์สว่ นรวม
ความหมายของมคี วามพอเพียง
คำว่า “พอเพียง” จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเต้าอยู่หัวฯ เนื่องในโอกาสวัน
เฉลมิ พระชนมพรรษา วันท่ี ๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๑ ณ ศาลาดุสติ ดาลัย สวนจติ รลดา พระราชทานความหมาย
ของคำว่า “พอเพียง” ไวว้ ่าคำว่าพอเพยี งมคี วามหมายอกี อย่างหน่ึง มคี วามหมายกวา้ งออกไปอีก ไมไ่ ด้หมายถึง
การมีพอสำหรบั ใชเ้ องเทา่ น้นั แตม่ ีความหมายวา่ พอมพี อกนิ พอมีพอกนิ น้ีแผลว่าเศรษฐกิจพอเพียงนน้ั เอง
จิรายุ อิศรางกูร ณ อยุธยา ประธานคณะอนุกรรมการขับเคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพียงอธิบายถึง
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงว่าเป็นการพัฒนาที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานของทางสายกลางและความไม่
ประมาท โดยคำนึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผลและการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัวตลอดจนการใช้ความรู้
ความรอบคอบและคุณธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทำต่างๆ ซึ่งแต่ละปัจจัยมี
ความหมาย คอื
๑. ความพอประมาณ หมายถงึ ความพอดที ไี่ มม่ ากและไม่น้อยจนเกินไป ไม่เบยี ดเบยี นตนเอง
และผอู้ ื่น เช่น การผลติ และการบริโภคทพ่ี อประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การใชห้ ลักเหตผุ ลในการตดั สินใจเรื่องตา่ งๆ โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยที่
เกีย่ วขอ้ ง ตลอดจนผลทค่ี าดวา่ จะเกดิ ขนึ้ อยา่ งรอบคอบ
๓. การมีภูมิคุ้มกันที่ดีหมายถึง การเตรียมตัวให้พร้อมรับต่อผลกระทบทีเ่ กิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
รอบตวั
สรุปความพอเพียงก็คือ ความพอดีในการดำรงชีวิต ซึ่งเป็นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทำให้คนไทยสามารถ
พงึ่ ตนเองและดำเนนิ ชีวติ ไปไดอ้ ยา่ งมีศักด์ิศรี และมีความเปน็ อิสระ
บทท่ี ๓
วธิ ดี ำเนินงาน
ในการดำเนินงาน การพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ๑ สาย
ชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ครั้งนี้เพื่อเป็นการศึกษาแนวทางในการพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนด้วย
กระบวนการโครงงานคุณธรรม ของนักเรียนโรงเรียนวัดบางพูน ในระดับอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี ๓
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต ๑ โดยมีขั้นตอนและรายละเอียดการดำเนินการ
ตามลำดบั ดงั นี้
๓.๑ ขน้ั ตอนการสรา้ งนวตั กรรม ๑ สายช้นั ๑ โครงงานคณุ ธรรม
๓.๒ กลุ่มประชากร
๓.๓ เครื่องมือที่ใชใ้ นการเก็บรวบรวมข้อมลู
๓.๔ การพัฒนาและหาคุณภาพนวตั กรรม
๓.๕ การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล
๓.๖ การวเิ คราะห์ขอ้ มลู
๑. ขน้ั ตอนการสร้างนวตั กรรม ๑ สายช้ัน ๑ โครงงานคุณธรรม
การดำเนนิ งาน ๑ สายชนั้ ๑ โครงงานคุณธรรม ใชว้ งจรคณุ ภาพ PDCA เปน็ ตวั ขับเคลื่อน
มีกระบวนการทำงานเชอ่ื มโยง/สมั พนั ธ์ กับคุณธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรียน คือ “วนิ ัยดี มรี ะเบยี บ
มคี วามรบั ผิดชอบ รอบคอบจิตอาสา มคี วามพอเพียง”
P D
ศกึ ษาเอกสาร ลงมอื ปฏบิ ตั ิ
และทฤษฎี c
Plan ตรวจสอบ
ประเมินผล
A
ข้นั นาไปใช้
คณุ ธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรยี น
“วนิ ัยดี มรี ะเบยี บ รับผิดชอบ รอบคอบจติ อาสา มคี วามพอเพยี ง”
ข้ันตอนการสร้างนวตั กรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคณุ ธรรม
จากจัดกิจกรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรมคุณภาพโดยใช้กระบวนการ PDCA เป็นตัวขับเคลือ่ น
มีกระบวนการทำงาน โดยยึดหลักการในการทำงาน ได้แก่ การวางแผนปฏิบัติการ ( P – Plan) การ
ดำเนินการตามแผนท่กี ำหนดไว้ (D – Do) การตรวจสอบประเมนิ ผล (C – Check) และการปรับปรุงพฒั นาการ
ดำเนินงาน (A – Action) เพ่ือใหเ้ กิดความเหมาะสมตามบรบิ ทของนักเรียน ดงั นี้
๑. ศกึ ษาเอกสารและทฤษฎี (P – Plan)
๑.๑. ประชมุ คณะครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ในการวางแผนจัดทำ
กจิ กรรมที่ ๑ สายชน้ั ๑ โครงงานคุณธรรม โดยมขี น้ั ตอนนี้
๑) ศกึ ษาคมู่ อื ในการดำงานโรงเรียนคุณธรรม
๒) ศกึ ษารายละเอียดเกีย่ วกบั หลักการและวิธีการทำโครงงานคณุ ธรรม
๑.๒ กำหนดปฎิทินในการดำเนินงาน
๑.๓ แตง่ ตงั้ คณะกรรมการดำเนนิ งาน
๒. ขน้ั ลงมอื ปฏิบตั ิ (D – Do)
๒.๑ จัดอบรมเชงิ ปฏิบัติการโรงเรยี นคุณธรรม ให้แก่ ผู้บริหาร ครู
๒.๒ ผู้บรหิ าร ครู และนกั เรียนร่วมกันค้นหาและกำหนดคณุ ธรรมอตั ลกั ษณข์ องโรงเรยี น
๒.๓ ครูแต่ละสายชนั้ นำคณุ ธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรียนลงสนู่ ักเรยี น
๒.๔ การจัดกจิ กรรม ๑ สายช้ัน ๑ โครงงานคุณธรรมโดยมีการใช้หลักการบนั ได ๘ ขั้น ในการทำ
โครงงานคุณธรรม ดงั นี้
หลกั การบนั ได ๘ ขั้น ในการทำโครงงานคุณธรรม
ขัน้ ท่ี ๘ รายงานผล
ขัน้ ที่ ๗ ถอดบทเรียน
ขน้ั ที่ ๖ ประเมินพฤตกิ รรมที่พ่ึง
ประสงค์
ขนั้ ที่ ๕ แลกเปลย่ี นเรียนรู้
ข้นั ท่ี ๔ ลงมอื ปฏบิ ัติ
ขั้นที่ ๓ จดั ทำโครร่างโครงงานคณุ ธรรม
ขน้ั ที่ ๒ กำหนดวิธีการในการแกไ้ ขปญั หา
ขั้นที่ ๑ วิเคราะห์ปัญหาในห้องเรยี น
จากการดำเนินงานพัฒนาคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม ได้ใช้หลัก จากแผนภูมิ
หลกั การบันได ๘ ขน้ั ในการทำโครงงานคณุ ธรรมรายละเอยี ดสรุปไดด้ ัง
ขัน้ ที่ ๑ วิเคราะห์ปญั หาในห้องเรยี น ครทู ปี่ รึกษาอาจวางเงอื่ นไขเบื้องตน้ จากการใหผ้ ู้เรยี น
สำรวจและสังเกตสภาพปญั หาตา่ งๆ จากเพ่ือนนกั เรยี น ปญั หาท่พี บเห็นในห้องเรยี น แล้วชว่ ยกันระดมความคิด
ต่อปญั หาทเ่ี กิดขึ้นใหไ้ ด้มากทสี่ ุด แล้วมาอภปิ รายกันในกล่มุ ย่อยและกลมุ่ ใหญ่ก็ได้ เพอื่ เลือกประเด็นปัญหาที่มี
ความสนใจ หรอื อยากจะแก้ปญั หานนั้ มากทส่ี ุด เพอื่ นำมาตงั้ เปน็ ประเดน็ สำหรับทำโครงงาน
ขั้นที่ ๒ กำหนดวิธีการในการแก้ไขปัญหา นักเรียนและครูร่วมกันกำหนดวิธีแก้ไขปัญหาให้
สอดคลอ้ งกับสาเหตุของปญั หาและวัตถุประสงคใ์ นการทำโครงงานคณุ ธรรม
ขั้นที่ ๓ จัดทำโครงร่างโครงงานคุณธรรม นักเรียนร่วมกันจัดทำโครงร่างโครงงานคุณธรรม
ซึ่งขั้นตอนนี้เป็นการคิดพิจารณาวางแผนงานในรายละเอียดและภาพรวมท้ังหมด โดยนำข้อมูลที่รวบรวมและ
ประมวลได้ท้ังหมดนน้ั มาเรียบเรียงและจัดทำเป็นเอกสารร่างโครงงาน โดยมหี ัวขอ้ ดงั นี้ ระบุปัญหา, ระบุสาเหตุ
ของปัญหา,กำหนดวัตถุประสงค์ ,กำหนดเป้าหมายของการแก้ปัญหานั้น ,กำหนดวิธีแก้ไขปัญหา ,กำหนด
หลักธรรม พระราชดำรสั พระราชดำริ หรอื คำสอนทนี่ ำมาใช้ในการดำเนินงานโครงงานคุณธรรม ,เช่ือมโยงไปสู่
คุณธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียน ,กำหนดวิธีวัดและประเมินผล ,ตั้งชื่อโครงงานคุณธรรม ,คณะผู้รับผิดชอบ ,
ครูท่ีปรึกษา
ขั้นที่ ๔ ลงมือปฏิบัติ นักเรียนนำโครงร่างโครงงานมาปฏิบัติจริงไปตามลำดับขั้นตอนและ
วธิ ีการดำเนินงาน ซึ่งจะมีทงั้ ในสว่ นท่แี บง่ งานและดำเนนิ งานกันในระหว่างสมาชิกในกลุ่มผรู้ ับผิดชอบโครงงาน
และงานในส่วนที่สร้างการมีส่วนร่วมให้กับเพื่อนนักเรียนอื่นหรือบุคคลต่างๆ ที่เข้ามาช่วยทำงานในด้านต่างๆ
โดยอยภู่ ายใตก้ ารดแู ล กำกบั ตดิ ตาม และแนะนำอยา่ งใกล้ชิดของครูท่ปี รกึ ษา
ขั้นที่ ๕ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีการจัดประกวดโครงงาน เป็นสายชั้นให้นักเรียนแต่ละห้อง
นำเสนอโครงงานคุณธรรม และนำผลงานชนะเลิศจัดนิทรรศการโชว์ผลงานในวันวิชาการเพื่อเป็นการ
แลกเปลย่ี นเรียนรู้
ขั้นที่ ๖ ประเมินพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์ ครูสังเกตและประเมินพฤติกรรมที่พึ่งประสงค์
ตามแบบประเมินหลกั ธรรมและคณุ ธรรม
ขั้นที่ ๗ ถอดบทเรียน นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่และเขียนบรรยาย
ความรู้สึกในการเข้ารว่ ม ๑ สายช้นั ๑ โครงงานคุณธรรม
ขั้นท่ี ๘ การสรุปประเมินผลและรายงานผล จากการดำเนินงานนั้นให้นักเรียนได้ทำการ
ประเมนิ ผลและสรปุ ผลการดำเนนิ งาน เพ่อื นำมาใชจ้ ัดทำเป็นรูปเล่มโครงงานคณุ ธรรม
๓. ขน้ั ตรวจสอบและประเมนิ ผล (C – Check)
๓.๑ จดั ตัง้ คณะกรรมการติดตามการดำเนนิ งานโครงงานคุณธรรม
๓.๒ ตรวจสอบและประเมินผลทั้งในระหว่าง และสิ้นสุดการทำกิจกรรม โดยครูสังเกตและ
ประเมินพฤตกิ รรมทพี่ ่ึงประสงค์ ตามแบบประเมนิ หลกั ธรรมและคุณธรรมของนักเรียนเปน็ รายบคุ คล
๓.๓ นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่และเขียนบรรยายความรู้สึกในการทำ
๑ ห้องเรยี น ๑ โครงงานคณุ ธรรม
๔. ข้นั นำไปใช้ (A – Action)
นำผลที่ได้จากขั้นตรวจสอบและประเมินผลเป็นแนวทางการ พัฒนาคุณธรรมอัตลั กษณ์ด้วย
กระบวนการโครงงานคุณธรรมของนักเรียนโรงเรียนวัดบางพูน และใช้เป็นข้อมูลในการแก้ไขปรับปรุง
กระบวนการเรียนรู้ของนักเรยี นตอ่ ไป
๒. กลมุ่ ประชากร
กลุ่มเป้าหมายในการดำเนินกิจกรรมครั้งนี้ ได้แก่ ในระดับชั้นอนุบาล ถึงชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
จำนวน ๙๓๒ คน สำนักงานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑
๓. เครือ่ งมอื ทใี่ ชใ้ นการเกบ็ รวบรวมข้อมลู
ในการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในคร้ังนี้ ผา่ นการเก็บข้อมลู จากแบบตดิ ตามการดำเนนิ งานโครงงานคุณธรรม
แต่ละห้องเรียนและผ่านตัวโครงงานคุณธรรมแต่ละห้องเรียน ซึ่งแต่ละห้องจะมีโครงงานคุณธรรมที่สมบูรณ์
เป็น ๑ รูปเล่มโครงงานคณุ ธรรม และมีเครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบประเมินความพึงพอใจ
ในการ และแบบถอดบทเรยี นจากโครงงานคณุ ธรรม
๔. การพฒั นาและหาคณุ ภาพนวัตกรรม
การพฒั นาและหาคณุ ภาพนวัตกรรม ผู้จดั ทำได้ดำเนินการตามขนั้ ตอน ดงั น้ี
๔.๑ ศึกษาค้นคว้าเอกสาร ตำรา บทความ และงานวิจัยที่เก่ยี วข้องกบั โครงงานคุณธรรม
๔.๒ วิเคราะห์ลกั ษณะข้อมูลท่ีตอ้ งการจากวตั ถุประสงค์ของการดำเนินการจัดทำนวัตกรรมและศกึ ษา
กระบวนการในการจัดทำและนำมาพัฒนากระบวนการดำเนนิ การจัดทำ ๑ สายช้ัน ๑ โครงงานคณุ ธรรม
๔.๓ ออกแบบขั้นตอนการดำเนินการและวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อตอบวัตถุประสงค์รวมถึงการ
เสริมสรา้ งคณุ ธรรมผ่านกจิ กรรม ๑ สายชัน้ ๑ โครงงานคณุ ธรรม โดยผูจ้ ัดทำไดว้ างรปู แบบการดำเนนิ การและ
การจดั ทำรูปเล่มโครงงาน การนำเสนอ รวมถึงการตดิ ตามเป็นระยะๆ
๕. การเก็บรวบรวมข้อมูล
การเก็บรวบรวมข้อมูล ผู้จัดทำได้มีการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านการติดตามด้วยแบบติดตามการดำเนนิ
กจิ กรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคณุ ธรรม ซ่ึงทกุ ห้องเรียนจะตอ้ งมกี ารรายงานผลการดำเนนิ การทผี่ า่ นมา
จากนั้นมีการเก็บรวมรวมข้อมูลผ่านรูปเล่มโครงงานคุณธรรมที่แต่ละห้องเรียนได้ดำเนินการแล้วเสร็จพร้อม
นำเสนอด้วยการทำบอร์ดโครงงานคณุ ธรรมของแตล่ ะห้องและการเก็บรวบรวมข้อมูลผ่านแบบประเมินความพึง
พอใจในการทำกิจกรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ซึ่งใช้สอบถามประเมินความพึงพอใจในการจัด
กิจกรรมสำหรับผู้ปกครอง นักเรียน และคณะครู ทั้งนี้แบบประเมินความพึงพอใจจะนำผลไปวิเคราะห์ข้อมูล
ต่อไปและมีแบบถอดบทเรียนโครงงานคุณธรรมของนักเรียนทุกคนว่าจากการทำโครงงานคุณธรรมเรื่องน้ี
นกั เรียนเขา้ ใจมากน้อยเพียงใดและส่งิ ทน่ี ักเรยี นได้จากการทำโครงงานน้ี
๖. การวิเคราะห์ข้อมลู
การวเิ คราะห์ข้อมลู ผจู้ ัดทำไดด้ ำเนินการวเิ คราะห์ข้อมลู ในสว่ นของแบบประเมินความพึงพอใจโดยได้
เสนอขอ้ มูลในแบบสถิติเชิงพรรณนา (Desceiptive) เพอ่ื หาค่าสถิติร้อยละ ความถี่ คา่ เฉลยี่ และส่วนเบ่ียงเบน
มาตรฐาน ซึ่งผลสถิตินี้ใช้สำหรับอธิบายการประเมินโดยใช้แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรม ๑
สายชั้น ๑ โครงงานคณุ ธรรมสำหรบั ผูป้ กครอง นักเรียน และคณะครู
บทที่ ๔
ผลการวจิ ยั
๑. ผลจากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระดับอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์
๔ ประการ ได้แก่ วนิ ยั ดี มรี ะเบียบ รับผิดชอบ รอบคอบจิตอาสา มีความพอเพียง
ตารางที่ ๑ ผลจากการสังเกตพฤตกิ รรมนกั เรียนระดับช้ันอนบุ าล-ชัน้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๓ เกิดคุณธรรมอตั ลกั ษณ์
คณุ ธรรมอตั ลกั ษณ์
ระดับชั้น จำนวน วินยั ดี มรี ะเบยี บ รับผิดชอบ รอบคอบ มคี วามพอเพยี ง
ช้ันอนบุ าล ๒ (คน)
จิตอาสา
๔๕
ดมี าก พอใช้ ดมี าก พอใช้ ดมี าก พอใช้ ดมี าก พอใช้
40 5 40 5 35 10 39 6
88.89% 11.11 88.89% 11.11% 77.78% 22.22 86.67% ๑.๙๖%
%
ชน้ั อนบุ าล ๓ ๖๐ 55 5 50 10 45 15 55 5
91.44% 8.33% 83.33% 91.67% 8.33%
16.67% 75.00% 25.00
%
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ๑๐๘ 102 6 90 18 100 ๑๐ 95 13
ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๑๑๖ 94.44% 5.56% 83.33% 16.67% 92.59% ๘.๔๐% 87.96% 12.04%
110 6 110 6 98 18 100 16
94.83% 5.17% 94.83% 5.17% 94.23% 15.52 86.21% 13.79%
%
ชน้ั ปะถมศึกษาปที ี่ ๓ ๑๐๔ 100 4 90 14 98 ๖ 92 12
ชน้ั ประถมศกึ ษาปีที่ ๔ ๙๙ 96.15% 3.85% 86.54% 13.46% 94.23% ๖.๙๘% 88.46% 11.54%
ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๕ ๑๑๓
ชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๖ ๑๐๒ 95 4 86 12 90 9 80 10
ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๑ 95.96% 4.04% 88.89% ๔.๓๙%
๗๐ 87.76% 12.24% 90.91% 9.09%
110 3 ๑๐๐ ๔
97.35% 2.65% 100 13 105 8 ๙๖.๑๕% 11.11%
88.50% 11.50% 92.92% 7.08%
95 7 95 7
93.14% 6.86% 90 12 93 9 93.14% 6.86%
88.24% 11.76% 91.18% 8.82%
64 6 65 5
91.43% 8.57% 60 10 55 15 92.86% 7.14%
85.71% 14.29% 78.57% 21.43
%
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ ๕๔ 47 7 40 14 45 9 45 9
87.04% 12.96% 74.07% 25.93% 83.33% 16.67 83.33% 16.67%
%
ชนั้ มธั ยมศึกษาปีที่ ๓ ๖๒ 54 8 55 7 53 9 50 12
87.10% 12.90% 88.71% 11.29% 85.48% 14.52 80.65% 19.35%
%
รวม 872 61 811 121 817 116 814 110
คา่ เฉลีย่ (ร้อยละ) 93.56 6.54 87.33 11.80
87.01 12.98 87.66 17.81
จากตารางที่ ๑ ผลจากการสังเกตพฤติกรรมนักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ พบว่า
นักเรียนเกิดคุณธรรมอัตลักษณ์จากนักเรียนทั้งหมด ๙๓๒ คน ในด้านวินัยดี มีระเบียบ จำนวน 872 คน คิด
เป็นร้อยละ 93.56 อยู่ดับดีมาก ส่วนอีกจำนวน 61 คน ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 6.54 ด้าน
รับผิดชอบ จำนวน 811 คน คิดเปน็ ร้อยละ 87.01 อยใู่ นระดับดีมาก ส่วนอีกจำนวน 121 คน ซงึ่ ถือวา่ อย่ใู น
ระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 12.98 ด้านรอบคอบจิตอาสา จำนวน 817 คน คิดเป็นร้อยละ 87.66 อยู่ใน
ระดับดีมาก ส่วนอีกจำนวน 116 คน ซึ่งถือว่าอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 17.81 และด้านสุดท้ายคือ
ด้านมีความพอเพียง จำนวน 814 คน คิดเป็นร้อยละ 87.33 อยู่ในระดับดีมาก ส่วนอีกจำนวน 110 คน ซึ่ง
ถือว่ายังอยู่ในระดับพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 11.80 ทั้งนี้การที่พฤติกรรมของนักเรียนในแต่ละด้านมีความ
แตกต่างอาจเกิดข้นึ มาได้จากหลากหลายสาเหตุไมว่ ่าจะเป็นองค์ประกอบภายนอก และแรงกระตนุ้ อน่ื ๆ
ซึ่งจากผลการสังเกตพฤติกรรมจะเห็นได้ว่านักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
เกิดคณุ ธรรมอัตลักษณใ์ นด้านวินัยดี มีระเบยี บ มากท่ีสุด คดิ เป็นร้อยละ 93.56 รองลงมา คือ ดา้ นรอบคอบ
จิตอาสา คิดเป็นร้อยละ 87.66 ด้านมีความพอเพียง คิดเป็นร้อยละ 87.33 และลำดับสุดท้ายคือด้าน
รบั ผดิ ชอบ คิดเป็นรอ้ ยละ 87.01 ทง้ั นเ้ี นื่องจากพฤติกรรมด้านการมีรับผดิ ชอบ ยังเปน็ เพยี งองค์ประกอบส่วน
น้อยที่จะเกิดขึ้นจากการดำเนินงานโครงงานคุณธรรมของแต่ละห้อง แต่โดยภาพรวมแล้วแสดงให้เห็นอย่าง
ชัดเจนว่านักเรียนมีควินยั ดี มีระเบียบมากขึ้น รอบคอบในการดำเนินงานต่าง ๆ อักทั้งยังมีความมีจิตอาสา ซ่ึง
จะนำพาไปสู่ความพอเพยี งในอนาคตไดอ้ ีกด้วย
จากตารางที่ ๑ สามารถนำมาสรุปเปน็ แผนภมู ไิ ดด้ งั ต่อไปน้ี
120
วนิ ยั ดี มรี ะเบียบ
100 รบั ผิดชอบ
รอบคอบจิตอาสา
80 มีความพอเพยี ง
60
40
20
0
อนุบาล 2 อนุบาล 3 ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
๒. นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่และเขียนบรรยายความรู้สึกในการเข้าร่วม ๑ สายชั้น
๑ โครงงานคณุ ธรรม
นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่ทำและเขียนบรรยาย
ความรู้สึกในการเข้าร่วม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ของนักเรียนระดับช้ัน
อนบุ าล – ช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓
นักเรียนถอดบทเรียนจากโครงงานคุณธรรมที่ทำและเขียนบรรยาย
ความรู้สกึ ในการเข้ารว่ ม ๑ สายชัน้ ๑ โครงงานคุณธรรม ของนกั เรียนระดับช้ัน
ประถมศกึ ษาปที ี่ ๔ – ช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๓
บทที่ ๕
สรปุ อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ
การวิจัยในครั้งนีม้ ีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนานักเรียนระดับอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียน
วัดบางพูนให้เกิดคุณธรรมอัตลักษณด์ ้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม โดยมีการสรุปผลการวิจัย อภิปรายผล
และข้อเสนอแนะ ดังน้ี
๑. สรุปผลการวิจัย
ช่วงเวลาในการดำเนินงาน ๑ สายชัน้ ๑ โครงงานคณุ ธรรม โดยไดม้ ีการเร่มิ เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่าง
เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๒ ถึง เดือนมีนาคม ๒๕๖๓ ทั้งนี้ได้ทำการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา
(Descriptive Statistics) โดยใช้ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการอธิบายผล
การประเมินทง้ั การประเมินพฤตกิ รรมคณุ ธรรมอัตลักษณ์
จากการดำเนินงาน ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม เพื่อพัฒนานักเรียนระดับชั้นอนุบาล -
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูนให้เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วยกระบวนการโครงงานคุณธรรม
พบว่านักเรียนเกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ ดังนี้โดยผลการประเมินพฤติกรรมคุณธรรมอัตลักษณ์ นักเรียนมี
พฤติกรรมด้านวินัยดี มีระเบียบ ร้อยละ 93.56 นักเรียนพฤติกรรมด้านมีความรับผิดชอบ ร้อยละ 87.01
นักเรยี นมีพฤตกิ รรมด้านรอบคอบจิตอาสา รอ้ ยละ 87.66 และพฤตกิ รรมดา้ นมีความพอเพยี ง ร้อยละ 87.33
โดยภาพรวมอยู่แล้วนักเรียนจะเกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ ร้อยละ ๘๐ ขึ้นไปทุกประการ จึงสรุปได้ว่านวัตกรรม
๑ สายชัน้ ๑ โครงงานคณุ ธรรม บรรลุวัตถุประสงค์ตามเกณฑ์ทีก่ ำหนด
๒. การอภิปรายผล
จากการพัฒนานักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูนให้เกิด
คณุ ธรรมอัตลักษณ์ดว้ ยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม เมอื่ พิจารณารายด้านสามารถนำมาอภปิ รายผล ไดด้ งั น้ี
๒.๑ ด้านวินัยดี พบว่า นักเรียนมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 93.56 แต่ยังมี
นักเรียนบางคนที่ยังต้องได้รับการปรับปรุงพัฒนาใหเ้ กิดวินัยดีในลำดับต่อไป ทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนบางส่วนมี
วินัยในตนเองอยู่แล้วแต่ยังต้องพัฒนาให้ดียิ่ง ๆ ขึ้น รวมถึงผู้ที่มีวินัยดีแล้วก็ต้องดำเนินการพัฒนาต่อไปใน
อนาคตด้วย
๒.๑ ด้านมีความรบั ผิดชอบ นักเรียนมีผลการประเมินอยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 87.01 แต่ยัง
มนี ักเรยี นบางคนที่ยงั ตอ้ งไดร้ ับการปรับปรุงพัฒนาให้มีความรับผิดชอบในลำดบั ต่อไป เนื่องจากนักเรยี นบางคน
ยังไม่รู้และเข้าใจในหน้าที่ความรับผิดชอบของตนที่ต้องปฏิบัติ ดังนั้นจึงต้องหาแนวทางในการพัฒนาการมี
ความรับผดิ ชอบให้เกิดขึ้นแกน่ กั เรียนต่อไป
๒.๓ ด้านอบคอบจิตอาสา นักเรียนมีผลการประเมนิ อยู่ในระดับดีมาก คิดเป็นร้อยละ 87.66 แต่ยังมี
นักเรียนบางคนที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ของความรอบคอบจิตอาสาตามที่กำหนดไว้ ทั้งนี้เนื่องจากนักเรียนมียังการ
ขาดตกบกร่องในการระมดั ระวงั ตนเองจากเหตุการณต์ ่าง ๆ รวมถงึ ยังขาดความมนี ้ำใจช่วยเหลอื ซ่ึงกันและกัน
๒.๔ ดา้ นมคี วามพอเพียง นักเรยี นมีผลการประเมนิ อยู่ในระดับดีมาก คดิ เป็นร้อยละ 87.33 แต่ยังมี
นักเรียนบางคนที่ยังไม่ผ่านเกณฑ์ของการมีความพอเพียงตามที่กำหนดไว้ ทั้งนี้เนื่องจาก ความพอเพียงเกิดได้
หลากหลายรปู แบบซึ่งบางคร้ังนกั เรียนอาจจะยังไม่ไดม้ ีความพอเพยี งในเร่ืองท่ีตรงกบั วตั ถุประสงคข์ องโครงงาน
คุณธรรมตามทหี่ อ้ งเรียนตนเองกำหนดไว้
๓. ปจั จยั ความสำเรจ็
ปัจจัยที่นำไปสู่ความสำเร็จของการพัฒนานักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของ
โรงเรยี นวัดบางพูนใหเ้ กดิ คณุ ธรรมอตั ลักษณด์ ้วยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม
๓.๑ บทบาทของครู
ครูจะใช้เวลาในการทำกิจกรรมร่วมกับนักเรียนมากขึ้น ให้ความเป็นกันเอง แล้วพยายามสังเกต
พฤตกิ รรมทเี่ กิดข้ึนกบั นักเรียนในด้านต่าง ๆ ทั้งวนิ ัยดี มีความรับผดิ ชอบ รอบคอบจิตอาสา มีความพอเพียง
ความสนใจในการทำกิจกรรมห้องเรียนของนักเรียนแต่ละคน การดำเนินกิจกรรมต่าง ๆ ภายในห้องเรียนของ
ตนครูจะต้องเอาใจใส่ ดแู ล ให้คำแนะนำ คำปรกึ ษา เม่ือนักเรียนเกิดปัญหา ช่วยใหข้ อ้ เสนอแสะ แนวทางแก้ไข
เพ่ือใหน้ ักเรยี นเกดิ แรงใจในการดำเนนิ งานตอ่ ไป ท้งั นค้ี รูยงั ตอ้ งรู้จักนักเรยี นเป็นรายบุคคล มกี ารเสริมแรงและ
สร้างแรงจูงใจอย่างสม่ำเสมอเพื่อ เปิดโอกาสให้นักเรียนทุกคนได้แสดงออกตามศักยภาพ เสริมสร้างให้เกิด
พฤตกิ รรมทเี่ หมาะสม และเกดิ คณุ ธรรมอตั ลักษณ์ของโรงเรยี น
๓.๒ บทบาทของนักเรียน
นักเรียนต้องมีแรงจูงใจ เห็นความสำคัญ เข้าใจกระบวนการของการดำเนินงานนวัตกรรม ๑ ๑
โครงงานคุณธรรม เมื่อมีปัญหาหรือข้อสงสัย อยากได้คำแนะนำนักเรียนต้องกล้าซักถาม กล้าเข้าหาครูท่ี
ปรึกษาโครงงาน นักเรียนมีความกระตือรือร้น ใฝ่รู้ใฝ่เรียน และสนใจในการเรียน ในการพัฒนาตนเองเพื่อให้
เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ครบทั้ง ๔ ด้าน รวมถึงนักเรียนต้องหมั่นแสวงหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ และเรียนรู้
กระบวนการต่าง ๆ ที่สามารถนำมาพัฒนาให้เกิดคุณธรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนได้อย่างต่อเนื่องตาม
รูปแบบท่ตี นเองสนใจ
๓.๓ บทบาทของผ้บู รหิ ารและสถานศึกษา
ผู้บรหิ ารมีจุดเนน้ ทชี่ ดั เจน ในการพฒั นานักเรียนใหเ้ กดิ คณุ ธรรมอัตลักษณ์ของโรงเรียนวัดบางพูน เป็น
โรงเรียนคุณธรรมที่นักเรียนมีคุณธรรมพื้นฐาน ให้การสนับสนุนด้านงบประมาณ ให้คำปรึกษา นิเทศ กำกับ
และติดตามผลอยา่ งสมำ่ เสมอ
๔. บทเรยี นท่ีไดร้ บั / ข้อเสนอแนะ
จากการพัฒนานักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ของโรงเรียนวัดบางพูนให้เกิด
คุณธรรมอัตลักษณด์ ้วยกระบวนการโครงงานคณุ ธรรม ครูผู้สอนได้ขอ้ คน้ พบดังน้ี
๔.๑ ปจั จยั ที่นำไปสคู่ วามสำเรจ็ ของ นวตั กรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคณุ ธรรม ของนกั เรียนระดับช้ัน
อนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โดยการพัฒนาพฤติกรรมจากการให้แต่ละห้องเรียนดำเนินการจดั ทำโครงงาน
คณุ ธรรมเพ่อื ใหน้ ักเรียนแต่ละหอ้ งนำปัญหามาพฒั นาคุณธรรมให้เกดิ ขึน้ แกต่ นเอง
๔.๒ นวัตกรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ถือได้ว่าเป็นโครงการที่มีประโยชน์อย่างยิ่งในการ
พัฒนาคุณภาพนักเรียน โรงเรียนควรนำจุดเด่นหรือความสำเร็จของการดำเนินงานไปใช้เป็นแนวทางในการ
พัฒนาโครงการและรักษา มาตรฐานการปฏบิ ัติของโครงการไว้อย่างต่อเนอื่ ง เพ่อื พฒั นาคุณภาพของนักเรียนให้
มีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงค์ของสงั คมและประเทศชาติต่อไป
๔.๓ จุดเด่นของ นวัตกรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม คือ กิจกรรมมีความหลากหลายทั้ง
แนวทาง วิธีการ และการกระบวนการในการพัฒนานักเรียนให้เกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ที่เหมาะสม ทั้งน้ี
กิจกรรม/นวัตกรรมนี้ยังเป็นการสร้างแรงจูงใจใหแ้ ก่นักเรียนในการเป็นคนดเี ป็นต้นแบบที่ดีของสังคมต่อไปใน
อนาคต
๔.๔ จดุ ดอ้ ยของ นวตั กรรม ๑ สายชน้ั ๑ โครงงานคุณธรรม คอื ยังขาดการดำเนินงานทรี่ ัดกุม รวมถึง
การประชาสมั พันธ์ให้นักเรยี นเกิดแรงจงู ใจเพ่ิมมากขน้ึ
๔.๕ จากการสังเกต พบว่า เมื่อนักเรียนที่ได้รับการพัฒนาด้วยกระบวนการการดำเนินกิจกรรม
๑ สายช้ัน ๑ โครงงานคุณธรรม แลว้ น้นั นกั เรยี นมีคณุ ธรรมอัตลกั ษณ์ของโรงเรียนอยู่มนระดบั ดมี าก ครบทัง้ ๔
ด้าน ทั้งด้านวินัยดี มีความรับผิดชอบ รอบคอบจิตอาสา มีความพอเพียง อีกทั้งในการประเมินคามพึงพอใจ
ต่อนวัตกรรม ๑ สายชั้น ๑ โครงงานคุณธรรม ยังอยู่ในระดับมากที่สดุ แสดงให้เห็นว่ากิจกรรมน้ีเป็นประโยชน์
แบะสามารถทำใหน้ ักเรยี นและครูนำไปประยุกตใ์ นการดำเนินชวี ติ และพัฒนาตนเองได้
๔.๖ ผปู้ กครองพึงพอใจต่อ นวัตกรรม ๑ สายช้นั ๑ โครงงานคณุ ธรรม ทัง้ นเ้ี น่ืองจากกิจกรรมนเ้ี ปน็
การเสริมสร้างคุณธรรมให้เกดิ ขึ้นแกน่ ักเรียนอีกท้ังยังทำให้นกั เรียนเป็นคนดี มีวินัย มีความรับผดิ ชอบ
มจี ิตอาสา ช่วยเหลือผูอ้ นื่ ตามทีต่ นเองสามารถทำได้
๕. ประโยชนท์ ไี่ ดร้ บั
๕.๑ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดบางพูนเกิดคุณธรรมอัตลักษณ์ด้วย
กระบวนการโครงงานคณุ ธรรม
๕.๒ นักเรียนระดับชั้นอนุบาล - ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ โรงเรียนวัดบางพูน สามารถนำทักษะ
กระบวนการทไ่ี ดร้ ับจากการดำเนินโครงงานคณุ ธรรมไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดำเนินชวี ติ ประจำวันได้
๕.๓ นักเรียนรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ โดยนำเวลามาทำกิจกรรมเพื่อพัฒนาตนเอง และเป็น
ประโยชน์แกส่ ว่ นรวม
๕.๔ นักเรียนมีความสุขในการทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆ ในชั้นเรียน ได้พูดคุยแลกเปลี่ยนแนวคิด
วธิ กี าร และสนกุ สนานในการทำกิจกรรม
๖. การเผยแพร่
๖.๑ จัดนิทรรศการ แสดงผลงาน การนำวิธีการ รูปแบบและการใช้นวัตกรรม เผยแพร่ต่อผู้บริหาร
คณะครู และนักเรียน ในงานวันนวิชาการของโรงเรยี นวัดบางพูน
๖.๒ เผยแพรข่ อ้ มูลทางเว็บไซตข์ องโรงเรียน
๖.๓ ผลงานได้รบั การยอมรับและได้รับรางวลั ปีการศกึ ษา ๒๕๖๒ ดงั น้ี
- เหรียญทอง รองชนะเลศิ อันดบั ๑ การแข่งขันโครงงานคณุ ธรรมระดับ ป.๑-๓
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑
- เหรียญทอง รองชนะเลิศอนั ดับ ๑ การแข่งขนั โครงงานคณุ ธรรมระดบั ป.๔-๖
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาปทมุ ธานี เขต ๑
- เหรียญทอง รองชนะเลิศ การแขง่ ขันโครงงานคณุ ธรรมระดับ ม.๑-๓
งานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ระดับเขตพื้นที่การศึกษา ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จากสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศกึ ษาปทุมธานี เขต ๑
- เหรยี ญเงนิ การแข่งขันโครงงานคณุ ธรรมระดับ ม.๑-๓ ๓ งานศลิ ปหัตถกรรมนกั เรียน
ระดับชาติภาคกลางและภาคตะวันออก ครงั้ ท่ี ๖๙ ปีการศึกษา ๒๕๖๒ จังหวัดสมุทรปราการ จากสำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
- ได้รบั โล่รางวัล รองชนะเลิศอันดับ ๒ ในกจิ กรรมประเภทประกวดโครงงานคุณธรรม
ส่งเสรมิ อัตลกั ษณว์ ิถีพุทธ งานมหกรรมส่งเสรมิ ศลี ธรรมและประกวดกจิ กรรมพัฒนาผ้เู รียนดา้ น
พระพทุ ธศาสนาปีที่ ๔ จากสำนักงานพระสอนศีลธรรม มหาวิทยาลยั มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บรรณานกุ รม
จิรายุ อศิ รางกรู ณ อยธุ ยา.(2548). “การขับเคล่ือนเศรษฐกจิ พอเพียง” วารสารเศรษฐกิจและสังคม
(พฤศจิกายน-ธันวาคม) : 41-47
ประภาศรี สีหอำไพ. (2550). พ้นื ฐานการศึกษาทางศาสนาและจรยิ ธรรม. กรงุ เทพฯ : สำนักพิมพ์แห่ง
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ผ.อ.ปิน่ มทุ กุ ันต.์ (2546). พุทธวิธคี รองใจคน. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทั สร้างสรรคบ์ คุ๊ ส์.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ประยูร ธมมจิตโต). (2551). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม
(พิมพ์คร้งั ท่ี 16). กรงุ เทพฯ : เอส. อาร์. พรน้ิ ต้ิงแมสโปรดกั ส.์
พระวิจิตรธรรมาภรณ์ (เทอด ญาณวชโิ ร). (2552). สมาธิเบ้ืองต้นสำหรบั ชาวบา้ น. กรุงเทพฯ : สยามเอ็มแอนด์
บีพบั ลชิ ช่ิง จำกดั .
พระไพศาล วสิ าโล. (2554). 108 ธรรมะสะกิดใจ. กรุงเทพฯ : สารคด.ี
พุทธทาสภิกข.ุ (2552). ค่มู อื มนุษย์ของพุทธทาสภิกข.ุ พิมพโ์ ดยกรมการศาสนา, กระทรวงวัฒนธรรม.
กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พช์ ุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
ราชบณั ฑิตยสถาน. (2556). พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑติ ยสถาน พ.ศ.2554 เฉลมิ พระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหวั เน่ืองในโอกาสพระราชพิธีมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 7 รอบ 5
ธันวาคม 2554. กรงุ เทพฯ : ราชบณั ฑิตยสถาน
วศิน อินทสระ. (2549). พุทธจริยศาสตร์. กรุงเทพฯ : ธรรมดา.
.
ภาคผนวก
รปู ภาพขั้นตอนการจัดกจิ กรรม
ภาพประกอบกจิ กรรมนักเรียนลงมือทำโครงงานคุณธรรม
โครงงานคณุ ธรรมเร่ืองด่ืมทุกหยุด หมดทกุ กล่อง สายชั้นอนุบาล 2
นักเรียนดื่มนมเสร็จแล้ว นักเรียนฝึกการทิ้งขยะลงในถังขยะ
อย่างเป็นระเบยี บ
โครงงานคณุ ธรรมเรอ่ื งเก็บของให้ถูกที่ เกบ็ ให้ดีหนจู ะมรี ะเบียบ
สายช้นั อนุบาล 3
นักเรียนฝึกการเก็บถาดอาหารให้ถูกที่ และเพื่อทำให้นักเรียนมี
ระเบียบวนิ ยั ในตนเอง
โครงงานคุณธรรมเรื่องทานแล้วเก็บ เช็ดให้สะอาด สายชั้น
ประถมศึกษาปที ่ี 1
นักเรียนรับประทานอารหารเสร็จแล้วเช็ดทำความสะอาดโต๊ะ
และเกบ็ ถาดให้เป็นระเบยี บ
โครงงานคณุ ธรรมเรือ่ งลกู ป.2 เดนิ ดี มีวินัย ใส่ใจกฎระเบยี บ
สายชัน้ ประถมศึกษาปีท่ี 2
นักเรียนฝึกการเดินขึ้งลงบันไดไม่ให้เสียงดัง ไม่วิ่งบนอาคาร
เรียน และเดนิ อยา่ งมรี ะเบียบ
โครงงานคณุ ธรรมเรอ่ื งขยะลงถงั ปลูกฝงั คุณธรรม
สายช้ันประถมศึกษาปีท่ี 3
นักเรียนฝึกการทิ้งขยะให้ถูกที่ ทำให้ห้องเรียนสะอาด บรรยากาศ
นา่ เรียน ไมม่ เี ศษขยะ
โครงงานคณุ ธรรมเร่ืองหนูจา๋ ทานอยา่ งร้คู ณุ คา่ ของอาหาร
สายชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4
นักเรียนรับประทานอาหารหมด และทำให้นักเรียนรู้คุณค่าของ
อาหารทมี่ ปี ระโยชน์
โครงงานคณุ ธรรมเรอื่ ง รใู้ ช้ รูค้ ุณค่า ร้รู ักษา สง่ิ ของ
สายชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 นกั เรียนไม่ทงิ้ สง่ิ ของไวใ้ นห้องเรียน
นักเรียนทเ่ี ป็นคณะกรรมการตรวจการใชอ้ ุปกรณก์ ารเรียนของ
ทกุ คน โดยสมุ่ ตรวจ 2 คร้ัง/สปั ดาห์
โครงงานคุณธรรมเรื่อง ฟ้าเหลืองสดใสเดินแถวด้วยใจฝึกวินัยใน
ตนเอง สายชน้ั ประถมศกึ ษาปที ่ี 6
รูปโครงงานคุณธรรมม ป.6 กำลงั ดำเนนิ การ
นักเรียนเดินแถวอย่ามีระเบียบให้ไม่คุย ไม่วิ่งในขณะที่เดิน และจะ
มคี ณะกรรมการทไ่ี ด้
รูปโครงงานคณุ ธรรมม ป.6 กำลังดำเนนิ การ
โครงงานคุณธรรมเรื่องห้องเรียนสวยด้วยจิตอาสา สายชั้น
มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 นกั เรียนมคี วามรบั ผิดชอบในหนา้ ท่ขี องตนเอง
นักเรียนมีจิตอาสาช่วยกันทำความสะอาดห้องเรียน มีความ
รบั ผดิ ชอบในหน้าทีข่ องตนเอง
โครงงานคุณธรรมเร่ือง เยาวชนวยั ใส สร้างสรรค์ความดี
ตามบทฝึกห้องเรียนต้นแบบ สายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 นักเรียน
ฝึกบทเรียนการเช็ดทำความสะอาดโต๊ะ เก้าอ้ี ฝึกนิสัยการรักษา
ความสะอาด
นักเรียนฝึกบทเรียนการถอดรองเท้า เป็นฝึกให้นักเรียนมีวินัย
มรี ะเบยี บในการถอดและวางรองเท้า
โครงงานคุณธรรมเรื่อง จิตอาสาพัฒนาห้องเรียน สายช้ัน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 นกั เรียนช่วยกันทำความสะอาดหอ้ งเรยี น
นักเรียนมีจิตอาสาทำความสะอาดห้องเรียน ช่วยกันดูแลความ
สะอาดของห้องเรยี น