The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสืออ่านเพิ่มเติมนาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by donlada77, 2021-04-22 00:50:52

หนังสืออ่านเพิ่มเติมนาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่าทางนาฏศิลป์

หนังสืออ่านเพิ่มเติมนาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่าทางนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Keywords: หนังสืออ่านเพิ่มเติมนาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่าทางนาฏศิลป์

คำนำ

หนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จัดทำขึ้นเพื่อให้นักเรียนได้ใช้สำหรับ
คน้ คว้าเพ่มิ เติม และเป็นสอื่ ประกอบการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ เพ่ือมุ่งเน้นผู้เรียน
เป็นสำคญั การนำเสนอเนื้อหาของหนังสอื เลม่ นี้ มีจดุ เนน้ ท่สี ำคัญ คอื เพอ่ื ให้นกั เรยี นรู้จกั นาฏยศัพท์พื้นฐาน
และภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ ไดด้ ยี ่งิ ขึน้

ผู้จัดทำหวังเป็นอยา่ งยิ่งว่า หนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพท์พื้นฐาน
และภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มนี้ จะเป็น
ประโยชนส์ ำหรบั นกั เรยี นและผูท้ สี่ นใจทจี่ ะศึกษาเกี่ยวกับนาฏยศัพทพ์ น้ื ฐานและภาษาท่านาฏศิลป์ เพ่ิมเติมได้
อีกทางหน่ึง

ดลดา อมิ่ จิต

สารบัญ

คำนำ หนา้
สารบัญ

สารบัญภาพ ข
คำช้แี จง............................................................................................................................................ 1
1
คำแนะนำ......................................................................................................................................... 1
เร่อื ง นาฏยศัพทพ์ น้ื ฐานและภาษาทา่ นาฏศลิ ป์........................................................................ 1
2
มาตรฐานการเรียนร.ู้ ......................................................................................................... 2
3
ตวั ชี้วัด.............................................................................................................................. 3
สาระสำคญั ....................................................................................................................... 3
4
สาระการเรยี นร้.ู ................................................................................................................ 5
จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้....................................................................................................... 5
11
นาฏยศัพท์.......................................................................................................... 17
20
1.1 ความหมายของ “นาฏยศัพท์” ................................................................... 22
1.2 ท่มี าของ “นาฏยศัพท์” .............................................................................. 22
22
1.3 ประเภทของ “นาฏยศัพท์” ........................................................................ 23
1.4 ตัวอย่าง “นาฏยศัพท์” .............................................................................. 23
25
1) นาฏยศพั ทท์ ่ีเกีย่ วกบั มือ........................................................................ 27
29
2) นาฏยศพั ทท์ ี่เกย่ี วกับเท้า.......................................................................
3) นาฏยศพั ทท์ ี่เกยี่ วกบั ศีรษะ...................................................................

4) นาฏศพั ท์ท่ีใช้เรียกชอื่ ทา่ รำ...................................................................
ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์.............................................................................................
1.5 ความหมายของคำว่า “ภาษาทา่ นาฏศิลป์” ...............................................

1.6 ประเภทของ “ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์” ............................................................
1.7 ตัวอย่างภาษาท่านาฏศลิ ป.์ .........................................................................

1) ภาษาท่านาฏศิลป์ที่ใชแ้ ทนคำพดู ..........................................................
2) ภาษาท่านาฏศิลปท์ แ่ี สดงกิริยาอาการ(อิริยาบถ)..................................
3) ภาษาท่านาฏศิลป์ที่แสดงอารมณภ์ ายใน...............................................

1.8 สรุป.............................................................................................................

สารบญั ภาพ

ภาพท่ี 1 วงบน................................................................................................................................ หนา้
ภาพท่ี 2 วงกลาง............................................................................................................................. 5
6
ภาพท่ี 3 วงล่าง................................................................................................................................
ภาพที่ 4 จีบคว่ำ.............................................................................................................................. 7
8
ภาพท่ี 5 จีบหงาย............................................................................................................................
ภาพที่ 6 จบี ลอ่ แกว้ ......................................................................................................................... 9
ภาพที่ 7 ประเท้า............................................................................................................................. 10
11
ภาพที่ 8 ยกเทา้ ...............................................................................................................................
ภาพท่ี 9 กระดกเทา้ ........................................................................................................................ 12
13
ภาพท่ี 10 กา้ วหน้า............................................................................................................................
ภาพท่ี 11 กา้ วขา้ ง............................................................................................................................. 14
ภาพที่ 12 จรดเทา้ ............................................................................................................................. 15
16
ภาพที่ 13 เอียงศีรษะ........................................................................................................................
ภาพท่ี 14 ลักคอ................................................................................................................................ 17
18
ภาพที่ 15 ตไี หล่.................................................................................................................................
ภาพที่ 16 สอดสรอ้ ยมาลา................................................................................................................. 19
ภาพที่ 17 เฉิดฉนิ ........................................................................................................................... 20
21
ภาพที่ 18 ทา่ ฉนั .............................................................................................................................
ภาพที่ 19 ท่าทา่ น........................................................................................................................... 23
24
ภาพท่ี 20 ท่ายืน.............................................................................................................................
ภาพที่ 21 ทา่ โลมบน....................................................................................................................... 25
ภาพที่ 22 ท่าอาย............................................................................................................................ 26
27
ภาพท่ี 23 ท่าโกรธ..........................................................................................................................
28

คำช้ีแจง

หนังสืออา่ นเพม่ิ เติม อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพทพ์ น้ื ฐานและภาษาท่านาฏศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 มีความรู้เกี่ยวกับพื้นฐานนาฏศิลป์ไทย เรื่อง
นาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่านาฏศิลป์ การจัดทำรูปเล่มประกอบด้วยคำชี้แจง คำแนะนำ มาตรฐานการ
เรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสำคัญ สาระการเรียนรู้ จุดประสงค์การเรียนรู้ ความหมายของนาฏยศัพท์พื้นฐานและ
ภาษาท่านาฏศิลป์ไทยศัพท์ที่ควรรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านของผู้เรียนและมีการเสริมเนื้อหาเพิ่มเติมใน
เกรด็ ความรู้

จะเห็นได้ว่า หนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) นี้จัดทำสำหรับผู้สอน ผู้เรียน และผู้ท่ี
สนใจใช้เป็นคู่มือการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนาความสามารถทางด้านนาฏศิลป์ ตามแผนการจัดการ
เรียนรู้ สามารถใช้ศึกษาเป็นรายบคุ คลหรือรายกลุ่ม ตามรูปแบบของกจิ กรรม นอกจากน้ีสามารถนำไปศกึ ษา
เรียนรู้และฝึกปฏิบตั ิเพ่ิมเติมได้ด้วยตนเองหลังจากได้รับการเรียนรูจ้ ากผู้สอน เพื่อเพิม่ ทักษะในการปฏิบัติให้
มากข้ึน

คำแนะนำ

หนงั สืออา่ นเพิ่มเติม อเิ ลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพท์พ้นื ฐานและภาษาทา่ นาฏศิลป์ กลุ่ม
สาระการเรยี นรูศ้ ิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 ใชค้ วบค่กู ับแผนการจัดการเรยี นรู้ กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ศิลปะ สาระที่ 3 นาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 เพื่อให้นักเรียนเกิดการพัฒนาศักยภาพทางด้าน
นาฏศลิ ป์ จงึ ควรปฏบิ ัติตามขน้ั ตอนดงั นี้

1. ผู้สอนอธิบายวิธีการใช้หนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพท์พื้นฐาน
และภาษาท่านาฏศิลป์ กลุม่ สาระการเรียนร้ศู ลิ ปะ สาระนาฏศิลป์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี 4

2. ผสู้ อนให้ความรเู้ บ้อื งตน้ เก่ยี วกบั ทผี่ เู้ รียนตอ้ งเรยี นรู้
3. ผูเ้ รียนศกึ ษาหนังสอื อ่านเพมิ่ เติม อิเลก็ ทรอนิกส์ (E-Book) เร่อื ง นาฏยศพั ท์พืน้ ฐานและภาษาท่า
นาฏศิลป์ กล่มุ สาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศลิ ป์ ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 โดยสามารถนำกลับไปบา้ นได้
4. หนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) เรื่อง นาฏยศัพท์พื้นฐานและภาษาท่านาฏศิลป์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ สาระนาฏศิลป์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 นักเรียนที่ไม่มีโทรศัพท์มือถือแบบสมารท์
โฟนสามารถขอนำหนังสืออ่านเพิ่มเติม อิเล็กทรอนิกส์ (E-Book) แบบเป็นรูปเล่ม กลับไปศึกษาต่อที่บ้านได้
หรือ แสกนควิ อารโ์ ค้ดจากในหนังสือเพ่ือน้ำเข้าสู่หนังสืออิเลก็ ทรอนกิ ส์(E-Book) เร่อื ง นาฏยศัพท์พ้ืนฐานและ
ภาษาท่านาฏศิลป์ กล่มุ สาระการเรยี นรู้ศลิ ปะ สาระนาฏศลิ ป์ ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4

หนังสืออ่านเพ่ิมเติม

นาฏยศพั ทพ์ ืน้ ฐานและภาษาท่านาฏศลิ ป์

มาตรฐานการเรยี นรู้

มาตรฐาน ศ 3.1 เข้าใจและแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์
คุณคา่ นาฏศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดอยา่ งอสิ ระ ชน่ื ชมและประยกุ ต์ใช้ในชวี ิตประจำวนั

ตัวชวี้ ดั

ศ 3.1 ป.4/2 ใช้ภาษาท่าและนาฏยศพั ทห์ รือศพั ท์ทางการละครงา่ ยๆในการถ่ายทอดเรอ่ื งราว

สาระสำคัญ

นาฏยศพั ท์ หมายถึง ศัพท์ที่ใช้ในวงการนาฏศลิ ปไ์ ทย เปน็ ศพั ท์เฉพาะทีใ่ ช้เรยี กลกั ษณะทา่ รำไทย
ในการฝึกหดั ทางด้านนาฏศิลป์ไทย ซงึ่ เป็นสิ่งสำคัญที่ผูเ้ รยี นควรไดเ้ รยี นรู้ และควรฝกึ หดั ท่านาฏยศัพท์
เบื้องตน้ เพราะจะทำใหผ้ ู้เรียนสามารถรำไดอ้ อ่ นช้อยงดงามตามแบบนาฏศิลปไ์ ทย

ภาษาท่า หมายถึง การเคลือ่ นไหวส่วนตา่ ง ๆ ของรา่ งกาย เช่น มือ แขน ขา หรอื อารมณ์ เป็นการ
แสดงกิริยาท่าทางโดยใช้ลลี าท่ารำหรือการรำตีบทแสดงออกเป็นท่าทางแทนคำพดู เพื่อสื่อความหมายให้
ผู้ชมเขา้ ใจ

หนังสืออา่ นเพ่ิมเติม วชิ านาฏศลิ ป์

2

สาระการเรยี นรู้

1. ความหมายและประเภทตา่ ง ๆ ของนาฏยศพั ทแ์ ละภาษาทา่ นาฏศลิ ป์
2. ปฏิบัติท่านาฏยศัพท์ เช่น นาฏยศัพท์ที่เกี่ยวกับมือ นาฏยศัพท์ที่เกี่ยวกับเท้า นาฏยศัพท์ที่
เกี่ยวกบั ศีรษะ นาฏยศพั ทท์ ีใ่ ชเ้ รยี กชื่อท่ารำ
3. ปฏิบตั ภิ าษาทา่ นาฏศิลป์ เชน่ ภาษาทา่ นาฏศลิ ปท์ ี่ใช้แทนคำพูด ภาษาท่านาฏศลิ ป์ท่ีแสดงกิริยา
อาการ(อิริยาบถ) ภาษาท่านาฏศิลป์ทแี่ สดงอารมณภ์ ายใน

จุดประสงค์การเรียนรู้

1. อธบิ ายความหมายของนาฏยศพั ท์และภาษาท่านาฏศิลป์ได้
2. ปฏิบัตทิ า่ นาฏยศัพทแ์ ละภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ทกี่ ำหนดได้
3. เหน็ ความสำคญั และคุณค่าของนาฏยศัพท์และภาษาท่านาฏศิลป์

หนงั สอื อ่านเพิ่มเตมิ วชิ านาฏศลิ ป์

3

นาฏยศพั ท์

“นาฏยศพั ท”์ เป็นรากฐานของการเรียนนาฏศิลป์ไทย นาฏยศพั ทม์ ีความสำคญั และมีความจำเป็น
อย่างยิ่งสำหรับผู้เรียนนาฏศิลป์ เพราะเป็นพื้นฐานในการฝกึ หัดที่ดที ี่จะช่วยให้ผู้เรียนฝึกพฒั นาไปได้อยา่ ง
รวดเร็วและงดงามตามแบบแผน จากท่กี ล่าวมา ได้มีนกั ปราชญ์ นักวชิ าการทางด้านนาฏศิลป์ และเอกสาร
ทางวชิ าการ กลา่ วถึง ความหมายของนาฏยศพั ท์ไว้มากมาย ในท่ีนีจ้ ะขอยกมาเพยี งบางส่วน ดงั น้ี

1.1 ความหมายของ “นาฏยศัพท์”

เรณู โกศินานนท์ (2546: 1) ได้อธิบายความหมายของ “นาฏยศัพท์” ไว้ว่า นาฏยศัพท์ หมายถึง
ศพั ท์เฉพาะในทางนาฏศลิ ป์ เปน็ ช่อื ลกั ษณะทา่ รำของไทย

รานี ชัยสงคราม (2544: 69) ได้อธิบายความหมายของ “นาฏยศัพท์” ว่า นาฏยศัพท์ หมายถึง
ศพั ทท์ ี่บญั ญัติข้ึนไวใ้ นการฟอ้ นรำ แสดงลักษณะและการเคลือ่ นไหวรา่ งกายท่ีสมั พันธ์กนั อย่างตอ่ เน่ือง

อรวรรณ ขมวัฒนา (2546: 35) ได้อธิบายความหมายของ “นาฏยศัพท์” เพิ่มอีกว่า นาฏยศัพท์ หมายถึง
ศพั ทท์ เ่ี กย่ี วขอ้ งกับลกั ษณะท่ารำ ท่ใี ช้ในการฝึกหดั ทา่ รำ เพ่อื ใช้แสดงนาฏศิลป์

จากที่กล่าวมา สรุปได้ว่า “นาฏยศัพท์” หมายถึง ศัพท์ที่บัญญัติขึ้นไว้ในการรำเป็นศัพท์เฉพาะ
ในทางนาฏศิลป์ที่ใช้เรียกลักษณะท่ารำในการฝึกหัดทางด้านนาฏศิลป์ไทย เช่น โขน ละคร ระบำ รำ
ฟ้อน เพื่อใช้สื่อความหมายให้เกิดความเข้าใจและสามารถปฏิบัติได้ตรงกัน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้เรียน
ควรเรยี นรู้ และควรฝกึ หดั ท่านาฏศลิ ปเ์ บื้องต้น เพราะจะทำใหผ้ ู้เรียนสามารถรำไดอ้ ่อนชอ้ ยงดงามตามแบบ
นาฏศิลป์ไทย

1.2 ท่มี าของ “นาฏยศพั ท”์

การศกึ ษา “นาฏยศพั ท”์ เป็นการศกึ ษาเพอื่ สบื ทอดมรดกทางวฒั นธรรมอนั ล้ำคา่ ของชาติ ให้คงอยู่
เพราะเปน็ คำทใี่ ชส้ อื่ ความหมายเรียกช่อื การปฏบิ ัตทิ ่ารำทีใ่ ช้ในการสอื่ สารที่เข้าใจระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
ที่มีมาช้านาน เริ่มตั้งแต่กำเนิดนาฏศิลป์ไทยเป็นต้นมา เช่น จีบ วง ประเท้า กระดกเท้า ตีไหล่ เป็นต้น
จำแนกแตกต่างกันไปตามประเภทของโอกาสที่นำไปใช้ ซึ่งอาจเรียกแตกต่างกันในความหมายและความ
เข้าใจของครูผู้สอนแต่ละสำนัก คำเรียกนาฏยศัพท์บางคำในวิชานาฏศิลป์ไทย(โขน-ละคร) มีชื่อเรียกท่ี
ตรงกนั แต่ในทางปฏบิ ตั ิอาจแตกต่างกันได้ หรือปฏิบตั ิเหมือนกัน แตม่ ีช่อื เรียกต่างกัน ต่อมาเม่ือการศึกษา
วชิ านาฏศลิ ป์มีรูปแบบที่เปน็ ระบบ จงึ มีการบญั ญัตคิ ำเฉพาะ เพือ่ รวมเรียกกลมุ่ คำทีส่ ่ือความหมาย ซึ่งเติม
คำต่าง ๆ มากขึ้นตามการแสดงว่า “นาฏยศัพท์” โดยจำแนกประเภทตามโอกาสที่นำไปใช้ของการแสดง
โขนและละคร

คำว่า “นาฏยศัพท์” ได้เริ่มนำมาใชใ้ นวงการศึกษาวิชานาฏศลิ ป์ตั้งแต่สมัยรัตนโกสินทร์ ภายหลัง
สงครามโลกครั้งที่สอง โดยกรมศิลปากรได้ฟื้นฟูการศึกษาและปรับปรุงการแสดงนาฏศิลป์โขน -ละคร
ตามแบบแผนการแสดงในสมัยรตั นโกสนิ ทร์ โดยได้ปรับปรงุ สร้างหลักสูตรการเรียนการสอนวชิ านาฏศิลป์
โขน-ละคร ให้ผ้เู รยี นได้เรียนรู้ทางภาคปฏบิ ัตแิ ละภาคทฤษฎคี วบคกู่ นั ไป

หนงั สืออ่านเพม่ิ เตมิ วิชานาฏศิลป์

4
รวมงานนิพนธข์ อง นายอาคม สายาคม (2545: 98-100) ได้อธิบายทม่ี าของนาฏยศัพท์ไวว้ า่ เร่ือง

นาฏยศัพท์ทางวิชานาฏศิลป์นี้ นายอาคม สายาคม ได้รับคำสั่งจากนายธนิต อยู่โพธิ์ (อดีตอธิบดีกรม
ศลิ ปากร) ใหเ้ ขยี นข้ึนเม่ือ พ.ศ.2497 ตอ่ มา ครูอัมพร ชชั กุล ไดข้ ออนญุ าตจาก นายอาคม สายาคม นำไปใช้
สอนนักเรียนทีโ่ รงเรียนนาฏศิลป (วิทยาลยั นาฏศิลปปัจจบุ ัน)

1.3 ประเภทของ “นาฏยศัพท”์

“นาฏยศัพท์” สำหรับในการฝึกปฏิบัติท่ารำเพื่อใช้แสดงนาฏศิลป์ไทย โดยใช้การเคลื่อนไหว
สว่ นตา่ ง ๆ ของร่างกาย แบ่งเปน็ 4 ประเภท ได้แก่ นาฏยศพั ทเ์ ก่ยี วกบั มือ นาฏยศพั ท์เก่ียวกบั เท้า นาฏยศัพท์
เกี่ยวกบั ศรี ษะ นาฏยศพั ทท์ ี่ใช้เรียกช่ือท่ารำ ซึ่งในหลักสตู รสถานศกึ ษา กล่มุ สาระการเรียนรศู้ ิลปะ สาระที่
3 นาฏศลิ ป์ ในระดบั ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 กำหนดใหเ้ รียนนาฏศิลป์ ดังน้ี

1) นาฏยศัพทท์ เี่ กีย่ วกับมือ เช่น วงบน วงกลาง วงล่าง จีบควำ่ จีบหงาย จบี ล่อแก้ว เป็นต้น
2) นาฏยศัพท์ที่เกี่ยวกับเท้า เช่น ประเท้า ยกเท้า กระดกเท้า ก้าวหน้า ก้าวข้าง จรดเท้า
เป็นตน้
3) นาฏยศพั ท์ทีเ่ ก่ียวกบั ศรี ษะ เช่น เอยี งศีรษะ ลักคอ ตีไหล่ เปน็ ต้น
4) นาฏยศพั ทท์ ่ีใช้เรียกช่ือท่ารำ เช่น สอดสร้อยมาลา เฉิดฉิน เปน็ ต้น
สำหรบั นาฏยศัพท์เบื้องต้นที่นักเรียนควรรู้จักและใช้ฝึกปฏิบัติ ช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4 ในหลักสูตร
สถานศกึ ษาโรงเรียนวดั ทงุ่ ครุ (พงึ่ สายอนสุ รณ)์ มีดงั นี้

หนงั สืออา่ นเพิ่มเติม วชิ านาฏศิลป์

5

1.4 ตัวอย่างนาฏยศพั ท์

1) นาฏยศัพทท์ ีเ่ กี่ยวกับมอื มดี งั น้ี
ตั้งวง หมายถึง การยกแขนข้างใดข้างหนึ่ง หรือจะตั้งวงพร้อมกันทั้งสองแขน โดยให้งอแขน
เล็กน้อย พยายามงอแขนให้โค้งพองาม แล้วตั้งมือขึ้น โดยให้นิ้วทั้งสี่เรียงชิดติดกัน ส่วนนิ้วหัวแม่มือ
หักเข้าหาฝ่ามือเพียงเล็กน้อย หักข้อมือเข้าหาลำแขนเสมอ การตั้งวงมีหลายลักษณะ เช่น วงบน วงกลาง
วงลา่ ง เป็นตน้

ภาพที่ 1 วงบน
ที่มา : ดลดา อมิ่ จิต, 2563.
วงบน ปฏิบัติโดยยกแขนข้างใดข้างหนึ่งหรือสองข้าง ยกแขนไปข้างลำตัว ให้ลำแขนโค้งพองาม
นิว้ ทัง้ ส่เี รียงชดิ ติดกนั สว่ นนว้ิ หวั แมม่ ือหักเขา้ หาฝา่ มือเพยี งเลก็ น้อย หกั ขอ้ มอื เขา้ ลำแขน ตั้งปลายน้ิวขนึ้
หมายเหตุ : ส่ิงสำคญั ระดบั วงของ พระและนาง จะมลี กั ษณะแตกต่างกนั ดังน้ี
พระ : ใหป้ ลายนว้ิ มอื สงู ระดับแง่ศีรษะ ส่วนโค้งของลำแขนจะกวา้ งกวา่ นาง
นาง : ใหป้ ลายนว้ิ มือสูงระดับหางคิ้ว ส่วนโค้งของลำแขนจะแคบกวา่ พระ

หนังสืออา่ นเพมิ่ เตมิ วิชานาฏศิลป์

6

ภาพท่ี 2 วงกลาง
ทมี่ า : ดลดา อิ่มจติ , 2563.
วงกลาง ปฏิบัติโดยยกแขนให้ลำแขนข้างใดข้างหนึ่งหรือทั้งสองข้างโค้งพองาม นิ้วทั้งสี่เรียงชิด
ติดกนั ส่วนน้ิวหวั แมม่ ือหักเขา้ หาฝ่ามือเพียงเล็กนอ้ ยหักข้อมือเข้าหาลำแขน ตั้งปลายนว้ิ ขนึ้ ปลายนิ้วมือสูง
ระดบั ไหล่
หมายเหตุ : ลกั ษณะวงกลางของพระและนางมีความแตกตา่ งกัน ดังน้ี
พระ : ส่วนโคง้ ของลำแขนจะกวา้ งกวา่ นาง
นาง : สว่ นโคง้ ของลำแขนจะแคบกว่าพระ

เกรด็ ความรู้
ในการปฏบิ ัติการแสดงต่าง ๆ ควรมกี ารอบอ่นุ รา่ งกายก่อนการแสดง เพ่ือใหร้ ่างกายสามารถ
ยดื หยุ่นไดข้ ณะทำการแสดง และไมท่ ำให้เกิดการบาดเจ็บ

หนงั สอื อ่านเพ่ิมเติม วิชานาฏศิลป์

7

ภาพท่ี 3 วงลา่ ง
ทีม่ า : ดลดา อิ่มจิต, 2563.
วงล่าง ปฏบิ ัตโิ ดยยกแขนข้างใดขา้ งหน่ึงหรือท้งั สองข้างให้ลำแขนโคง้ พองามนิ้วท้ังส่ีเรียงชิดติดกัน
ส่วนนิ้วหัวแม่มือหักเข้าหาฝ่ามือเพียงเล็กน้อย หักข้อมือเข้าหาลำแขน ตั้งปลายนิ้วขึ้น ให้มือตรงกับ
หวั เข็มขดั (ชายพก) หักขอ้ มอื เขา้ หาลำแขน
หมายเหตุ : ลกั ษณะวงล่างของพระและนางมีความแตกต่างกัน ดงั นี้
พระ : การตง้ั วงลา่ งจะกันวง
นาง : การต้ังวงลา่ งไม่กนั วงแตจ่ ะแนบขอ้ ศอกไว้ดา้ นข้างลำตวั
กันวง คือ การกนั ศอกออกดา้ นข้างลำตัว

หนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ วชิ านาฏศิลป์

8
จีบ หมายถึง การใช้ปลายนิ้วหัวแม่มือจรดอยู่ที่ข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วทั้งสองต้องเหยียดตึง

ส่วนนิ้วที่เหลือทั้งสามนิ้ว คือ นิ้วกลาง นิ้วนาง นิ้วก้อย กรีดให้ตึงออกคล้ายรูปพัด ข้อสำคัญในการจีบ
ทุกครั้งต้องหักข้อมือเข้าหาท้องแขนตัวเองอยู่ตลอดเวลาและหักให้มากที่สุด การจีบมีหลายลักษณะ
อาทิ จบี ควำ่ จบี หงาย จีบลอ่ แก้ว เป็นตน้

ภาพที่ 4 จบี ควำ่
ทม่ี า : ดลดา อ่มิ จิต, 2563.
จีบคว่ำ ปฏิบัติโดย ใช้นิ้วหัวแม่มือจรดกับข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามนิ้วกรีดตึง
ออกไปคลา้ ยรปู พัด หกั ขอ้ มือเข้าหาทอ้ งแขนทกุ ครง้ั โดยให้ปลายนวิ้ ท่จี ีบชล้ี งล่าง
หมายเหตุ : ปฏิบตั ิเช่นเดยี วกนั ท้งั พระและนาง

หนงั สืออา่ นเพ่มิ เติม วิชานาฏศิลป์

9

ภาพที่ 5 จบี หงาย
ท่ีมา : ดลดา อิม่ จิต, 2563.
จีบหงาย ปฏิบัติโดย ใช้นิ้วหัวแม่มือจรดกับข้อแรกของปลายนิ้วชี้ นิ้วที่เหลือทั้งสามนิ้วกรีดตึง
ออกไปคลา้ ยรปู พัด หกั ข้อมอื เข้าหาลำแขนทกุ ครง้ั โดยใหป้ ลายน้ิวท่ีจบี ชขี้ ้ึนบน
หมายเหตุ : ปฏิบัตเิ ชน่ เดียวกันท้ังพระและนาง

หนังสอื อา่ นเพิ่มเติม วชิ านาฏศลิ ป์

10

ภาพท่ี 6 จีบลอ่ แก้ว
ที่มา : ดลดา อม่ิ จิต, 2563.
จีบล่อแกว้ ปฏบิ ตั โิ ดยนำปลายนิ้วกลางมาจรดทนี่ วิ้ หัวแม่มือเปน็ วงกลม โดยให้ปลายนิ้วหัวแม่มือ
ปิดทับตรงบริเวณเล็บของนิ้วกลาง นิ้วที่เหลืออีกสามนิ้ว คือ นิ้วชี้ นิ้วกลาง และนิ้วก้อยเหยียดให้ตึง
กรีดออกจากกนั
หมายเหตุ : ปฏบิ ตั ิเชน่ เดยี วกนั ท้งั ตัวพระและนาง

หนงั สอื อ่านเพ่ิมเตมิ วชิ านาฏศิลป์

11

2) นาฏยศพั ทท์ ่ีเกยี่ วกบั เทา้ มีดังน้ี

ภาพท่ี 7 ประเทา้
ทีม่ า : ดลดา อิ่มจิต, 2563.
ประเท้า ปฏิบัติได้ทั้งเท้าขวาและเท้าซ้าย แต่จะประเท้าครั้งเดียวพร้อมๆ กันไม่ได้ ถ้าจะ
ประเทา้ ขวา ต้องย่อตวั ลงแล้วถ่ายน้ำหนักให้มาอยู่ทเ่ี ทา้ ซา้ ย ยนื เหลื่อมเทา้ ขวา(กนั เขา่ ) เชดิ ปลายนิ้วเท้าขึ้น
จากนใี้ หย้ ดื ตวั ขึ้น พอยบุ ก็ตึงปลายนว้ิ เทา้ ท้ังหา้ นวิ้ ขึ้นมาให้มากที่สุด แล้วยกปลายเท้าขวาขึน้ โดย ใช้ส้นเท้า
ยันพื้นไว้ แล้วใชจ้ มูกเทา้ ตบพนื้ เบา ๆ และยกขนึ้ การประเท้าซ้าย ใหป้ ฏบิ ัติเช่นเดยี วกับการปฏิบัติข้างขวา
หมายเหตุ : การประเท้าซ้ายใหป้ ฏิบตั ิเชน่ เดียวกนั กับข้างขวา ปฏบิ ตั สิ ลับเท้าในลักษณะเช่นเดียวกัน
ลกั ษณะการประเทา้ ของพระและนางจะแตกต่างกนั ดังนี้
พระ : การประเทา้ จะตอ้ งกนั เข่าออกปลายเทา้ เฉยี งออกข้างลำตวั
นาง : การประเท้าไมต่ ้องกันเขา่ ปลายเท้าตรงไปด้านหนา้

หนังสืออ่านเพ่มิ เตมิ วิชานาฏศิลป์

12
จมกู เทา้ คือ เน้ือส่วนนูนของเท้าท่อี ยู่ถดั จากหวั แม่เท้าลงมา การใช้จมูกเทา้ ตอ้ งหกั ปลายนว้ิ เท้า

ขน้ึ หรือเกรง็ ปลายนว้ิ เทา้ ให้งอนขนึ้

ภาพท่ี 8 ยกเทา้
ที่มา : ดลดา อ่ิมจติ , 2563.
ยกเท้า ปฏิบัติได้ทั้งเท้าขวาและเท้าซ้าย จะปฏิบัติต่อเนื่องจากท่าประเท้า การยกเท้าขวาให้
ประเท้าขวาแล้วยกเทา้ ขวาขึ้น โดยต้องเปิดปลายเข่าออก ใหห้ น้าขาไดร้ ะดับเปน็ เส้นตรง พยายามหนบี นอ่ ง
เข้ามาเลก็ นอ้ ย ส้นเทา้ ไม่ย่ืนไปข้างหน้าและตอ้ งหกั ข้อเท้าขึ้นเสมอ
หมายเหตุ : การยกเท้าซ้ายให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการปฏิบัติข้างขวา ปฏิบัติสลับเท้าในลักษณะ
เชน่ เดียวกนั
ลกั ษณะการยกเทา้ ของพระและนางมีลกั ษณะแตกตา่ งกัน ดังนี้
พระ : ยกเทา้ ตอ้ งกนั เข่าออกไปด้านขา้ ง
นาง : ยกเท้าไมต่ ้องกนั เข่าออกด้านข้าง สง่ ลำขาสว่ นกลางไปข้างหนา้ เลก็ นอ้ ย

หนงั สอื อา่ นเพมิ่ เตมิ วิชานาฏศิลป์

13

ภาพที่ 9 กระดกเท้า
ท่ีมา : ดลดา อ่ิมจติ , 2563.
กระดกเท้า ปฏิบัติต่อเนื่องจากกระทุ้งเท้า การกระดกเท้าซ้ายให้เริ่มจากการก้าวเท้าขวา
ไปขา้ งหนา้ พร้อมท้งั ให้น้ำหนกั ไปอยู่เท้าขวา แล้วกระดกเท้าซ้ายขน้ึ ไปให้มากท่ีสุด พยายามส่งเข่าที่ยกไป
ข้างหลังให้มาก ๆ อย่าปล่อยให้เข่าที่ยกห้อยอยู่ แต่ต้องระวังให้ตัวตรงพร้อมทั้ง หนีบน่องเข้าหาโคนขา
ใหม้ าก สว่ นฝ่าเทา้ ต้องหักหลงั หลังเท้าเข้าหาหน้าแขง้ สังเกตให้หวั แม่เท้าตรงกบั สนั หน้าแข้ง ฝ่าเท้าจะอยู่
ตรง ๆ ไม่บดิ ไปทางใดทางหนง่ึ พร้อมท้งั ตึงน้วิ เทา้ ทั้งห้าให้เสมอกนั
หมายเหตุ : กระดกเท้าขวา ใหป้ ฏิบตั ิเชน่ เดียวกับการปฏบิ ัติข้างซ้าย ปฏบิ ตั สิ ลับเท้าในลักษณะ
เชน่ เดียวกัน
ลกั ษณะการกระดกเท้าของพระและนางมีความแตกต่างกัน ดงั น้ี
พระ : กระดกเท้าจะตอ้ งกนั เข่า
นาง : กระดกเทา้ ไมต่ ้องกันเข่า

หนงั สอื อ่านเพิม่ เตมิ วิชานาฏศลิ ป์

14

ภาพที่ 10 ก้าวหน้า
ท่มี า : ดลดา อิม่ จติ , 2563.
กา้ วหนา้ ปฏบิ ัตโิ ดยกา้ วเท้าข้างใดขา้ งหน่งึ ไปขา้ งหน้า ถา้ ก้าวเท้าขวาไปขา้ งหนา้ ให้ยกเท้าขวาข้ึน
แล้วก้าวเท้าขวาไปข้างหน้า เวลาที่ก้าวเท้าลงไปนั้น ต้องใช้ส้นเท้าจรดลงไปก่อน แล้วจึงเหยียบลงไป
ใหเ้ ต็มเทา้ แต่เบนปลายเทา้ ใหเ้ ฉยี งออกไปทางขวามือพอสมควร และส้นเท้าขวาท่กี า้ วไปข้างหน้านัน้ ต้องให้
ตรงกับหัวแม่เท้าข้างซ้ายทีอ่ ยู่ข้างหลัง ให้ห่างกันประมาณ 10 นิ้ว แล้วให้น้ำหนักตัวไปรวมอยู่ทีป่ ลายเข่า
ขวา ในขณะที่ก้าวเทา้ ขวาไปข้างหน้าต้องเปดิ ปลายเข่าและส้นเท้าซ้ายเล็กนอ้ ยและเอียงสน้ เท้ามาทางขวา
นดิ หนอ่ ย ใชจ้ มูกเทา้ ยันพนื้ เอาไว้
หมายเหตุ : การกา้ วเท้าซา้ ย ใหป้ ฏิบัติเช่นเดียวกับการปฏิบัติข้างขวา ปฏบิ ัติสลับเทา้ ในลักษณะ
เชน่ เดียวกัน
การก้าวหนา้ พระและนางจะมลี ักษณะแตกตา่ งกัน ดังน้ี
พระ : กา้ วเฉียงไปข้างลำตัว เฉยี งปลายเทา้ ไปเลก็ น้อยแลว้ กันเข่า
นาง : วางเทา้ ลงข้างหนา้ ปลายเท้าเฉียงออกไปเลก็ น้อยไม่ต้องกันเขา่

หนงั สืออ่านเพ่มิ เติม วชิ านาฏศลิ ป์

15

ภาพที่ 11 ก้าวขา้ ง
ทีม่ า : ดลดา อิม่ จติ , 2563.
ก้าวข้าง ปฏิบัติโดยก้าวเท้าขา้ งใดข้างหนึ่งไปด้านข้างตวั ถ้าจะก้าวข้างเท้าขวา ให้ยกเท้าขวาขึ้น
และก้าวเท้าขวาไปข้าง ๆ ตัว โดยการใช้ส้นเท้าจรดลงไปก่อนแล้วจึงเหยียบลงไปให้เต็มเท้า และให้
ปลายเท้าขวาชี้ไปข้าง ๆ ตัว ประมาณ 1 ฟุต น้ำหนักไปรวมกันอยู่ที่ปลายเข่าขวา ในขณะที่ก้าวเท้าขวา
ไปข้าง ๆ ตวั ตอ้ งเปดิ ปลายเข่าและส้นเท้าซ้ายเล็กน้อย แลว้ เบนเท้าซ้ายมาทางขวานดิ หนอ่ ย
หมายเหตุ : การกา้ วขา้ งเทา้ ซา้ ย ใหป้ ฏิบตั ิเชน่ เดยี วกับการปฏบิ ัตขิ ้างขวา ปฏบิ ตั ิสลับเท้าใน
ลกั ษณะเช่นเดยี วกัน
ก้าวข้าง พระและนางจะมลี ักษณะแตกตา่ งกัน ดงั นี้
พระ : กา้ วขา้ งเมือ่ กา้ วเท้าจะกนั เขา่ ออกและไม่เปดิ ส้นเท้าหลงั
นาง : ก้าวข้างเมื่อก้าวเท้าจะหลบเขา่ หลังและเปิดส้นเทา้

หนงั สอื อ่านเพมิ่ เตมิ วชิ านาฏศิลป์

16

ภาพท่ี 12 จรดเท้า
ทีม่ า : ดลดา อ่มิ จติ , 2563.
จรดเท้า ปฏิบัติได้ทั้งเทา้ ซ้ายและเท้าขวา ถ้าจะจรดเท้าขวาใหก้ ้าวเท้าซ้าย ยกเท้าขวาสูงขึ้นจาก
พ้นื เลก็ น้อย แลว้ ใชจ้ มกู เทา้ วางลงบนพ้นื ยกส้นเท้าสน้ ขึน้ สงู ขนึ้ จากพ้ืนพอประมาณ นำ้ หนกั จะอยู่ที่ขาซ้าย
สว่ นเท้าท่ีไม่ไดจ้ รดวางเต็มเท้า ยอ่ เข่าทั้งสองขา้ ง
หมายเหตุ : การจรดเท้าซา้ ยใหป้ ฏบิ ตั เิ ช่นเดยี วกับการปฏิบัติข้างขวา ลกั ษณะการจรดเทา้ ของตัว
พระและตัวนางมคี วามแตกตา่ งกัน ปฏบิ ตั ิสลับเท้าในลักษณะเช่นเดียวกนั
ลักษณะการจรดเทา้ ของพระและนางมีความแตกตา่ งกัน ดังน้ี
พระ : จรดเท้าตอ้ งกันเข่าออก
นาง : จรดเทา้ เขา่ ชิดกัน ไมต่ อ้ งกนั เขา่ ออก
จมูกเท้า คือ เนอ้ื ส่วนนนู ของเท้าทอ่ี ยู่ถดั จากหวั แม่เท้าลงมา การใชจ้ มกู เท้าต้องหกั ปลายน้ิวเท้าขึ้น
หรอื เกร็งปลายนว้ิ เท้าใหง้ อนขึ้น

หนังสืออา่ นเพม่ิ เตมิ วชิ านาฏศิลป์

17

3) นาฏยศพั ท์ท่ีเกี่ยวกับศรี ษะ มดี ังนี้

ภาพท่ี 13 เอียงศีรษะ
ท่ีมา : ดลดา อมิ่ จติ , 2563.
เอียงศีรษะ ถ้าต้องการเอียงศีรษะข้างขวา ให้ตั้งใบหน้ากับลำคอให้ตรง มองตรงไปข้างหน้า
แล้วเอียงศีรษะด้านขวาลงมาเล็กน้อย โดยให้ใบหูนั้นตั้งตรงกับไหล่ขวา ถ้าต้องการเอียงศีรษะข้างซ้าย
ให้ปฏิบัติเช่นเดียวกับการปฏบิ ตั ิข้างขวา
หมายเหตุ : ถ้าต้องการเอียงศีรษะขา้ งซ้ายใหป้ ฏบิ ัติเช่นเดยี วกับการปฏบิ ัติข้างขวา ปฏิบัติสลับ
ศีรษะในลกั ษณะเช่นเดียวกัน ปฏิบตั เิ ช่นเดยี วกนั ทงั้ พระและนาง

หนังสอื อ่านเพิม่ เตมิ วชิ านาฏศลิ ป์

18

ภาพที่ 14 ลักคอ
ที่มา : ดลดา อิ่มจติ , 2563.
ลักคอ ถ้าต้องการลักคอข้างขวากดไหล่ข้างซ้ายศีรษะเอียงขวา และถ้าต้องการลักคอข้างซ้าย
กดไหลข่ ้างขวาศรี ษะเอยี งซา้ ย หนา้ จะตอ้ งเยอ้ื งไปพอประมาณ ต้งั ลำคอให้แข็งไว้
หมายเหตุ : ปฏบิ ัติเชน่ เดียวกันทงั้ พระและนาง พระและนางหนา้ จะเยื้องไปพอประมาณ ตัง้ ลำคอ
ให้แขง็ ไว้

หนงั สอื อ่านเพิม่ เตมิ วชิ านาฏศิลป์

19

ภาพที่ 15 ตีไหล่
ท่ีมา : ดลดา อ่มิ จติ , 2563.
ตีไหล่ ปฏิบัติโดย การตีไหล่ออกจะตีไหล่ออกข้างใดก็ได้ จะตีไหล่ขวาหรือไหล่ซ้ายติดต่อกันก็ได้
ถ้าตีไ่ หลซ่ า้ ยให้เอยี งศรี ษะข้างซ้าย แล้วคอ่ ยๆหนั ไหล่ซา้ ยไปดา้ นหลงั พอประมาณ พร้อมทง้ั เอียงศีรษะซ้าย
แลว้ หนั ไหลก่ ลับมาเอียงขวา ถ้าตีไหลข่ วาให้ปฏิบัตติ รงกันข้าม
หมายเหตุ : ปฏิบตั ิเช่นเดยี วกนั ทั้งพระและนาง

หนงั สืออา่ นเพม่ิ เติม วิชานาฏศลิ ป์

20
4) นาฏยศพั ท์ท่ีใชเ้ รยี กช่อื ท่ารำ มดี ังน้ี

ภาพท่ี 16 สอดสร้อยมาลา
ที่มา : ดลดา อมิ่ จติ , 2563.
สอดสร้อยมาลา ปฏบิ ัตโิ ดย สอดสร้อยมาลาด้านขวา คือ มือขวาต้งั วงบน มอื ซ้ายจบี หงายชายพก
ศรี ษะเอยี งซา้ ย
หมายเหตุ : ถ้าจะปฏิบตั ิท่าสอดสรอ้ ยมาลาดา้ นซ้าย ปฏิบัตสิ ลบั มอื ในลักษณะเช่นเดยี วกนั
สอดสร้อยมาลา พระและนาง มีลักษณะระดบั วงแตกตา่ งกัน ดงั น้ี
พระ : ตัง้ วงบนระดับแง่ศรี ษะ
นาง : ต้ังวงบนระดับหางคิ้ว

หนงั สืออา่ นเพมิ่ เตมิ วชิ านาฏศลิ ป์

21

ภาพที่ 17 เฉิดฉิน
ทมี่ า : ดลดา อ่มิ จติ , 2563.
เฉดิ ฉนิ ปฏิบัตไิ ด้ ทงั้ ขวาและซ้าย ถา้ จะปฏิบตั ขิ ้างขวา ใหใ้ ชม้ ือขวาตง้ั วงบน มือซ้ายจบี หงายระดบั
วงหน้า เอียงศีรษะข้างซ้าย จากนั้นม้วนมือซ้ายที่จีบออกกลับเป็นตั้งวงหน้า ส่วนมือขวาที่ตั้งวงบนอยู่
ค่อย ๆ ตะแคงมอื ไปทางน้ิวก้อย กลบั มาหงายมือเสมอศีรษะ งอแขนเสมอไหลไ่ ว้ข้างตัวแล้วกลับเอียงศีรษะ
มาขา้ งขวา
หมายเหตุ : หากต้องการปฏิบัติขา้ งซ้ายให้ปฏิบัติเช่นเดยี วกับปฏิบัติข้างขวา ปฏิบัติสลับมือใน
ลกั ษณะเชน่ เดยี วกันท้ังพระและนาง

หนงั สืออา่ นเพมิ่ เตมิ วิชานาฏศิลป์

22

ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์

“ภาษาท่านาฏศิลป์” เป็นสิ่งสำคัญสำหรับผู้เรียน ประกอบกับการเรียนนาฏยศัพท์ที่ได้เรียนมาแล้ว
นั้น เป็นพื้นฐานที่สำคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทย เพื่อสื่อความหมายให้ผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทย และ
มงุ่ หวงั ใหผ้ เู้ รยี นให้มีความรู้ ความเขา้ ใจ และมที กั ษะในการใช้ภาษาท่านาฏศิลป์ในการนำ จากการศึกษาค้นคว้า
ตำรา ที่ผู้เชี่ยวชาญนาฏศิลป์ไทยได้รับการถ่ายทอดและสืบสานการแสดงนาฏศิลป์ไทย อธิบายความหมายของ
ภาษาท่านาฏศิลป์ ดังน้ี

1.5 ความหมายของคำว่า “ภาษาทา่ นาฏศิลป”์

อมรา กลำ่ เจรญิ (2542: 112) ได้ใหค้ วามหมายของ “ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์” กลา่ ววา่ ลลี าของการใช้ ทา่
รำ หมายถึง ภาษาท่าทางนาฏศิลป์ เสมือนเป็นคำพูดโดยไม่ต้องเปล่งเสียงออกมาแต่ต้องอาศัยอวัยวะ
ส่วนประกอบของรา่ งกาย แสดงออกมาเปน็ ทา่ ทางสอื่ ให้ผชู้ มไดเ้ ข้าใจ

สุมนมาลย์ นม่ิ เนตพิ ันธ์ (2543: 211) ไดใ้ ห้ความหมายของ “ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์” หมายถึง การแสดง ทา่
รำแทนคำพูดมีความหมายต่าง ๆ รวมทั้งการแสดงอารมณ์ด้วย การรำทำบทนี้เป็นการใช้ภาษาบทหนึ่ง
วิวัฒนาการมาจากธรรมชาติ เพราะการแสดงความหมายจากความคิด ความรู้สึก ให้ผู้อื่นเข้าใจนั้นมิได้
แสดงด้วยคำพูดอย่างเดียว มนุษย์ย่อมใช้ท่าทางการออกไม้ออกมือตลอดจนสีหน้าประกอบด้วย ในการ
แสดงละครรำกไ็ ดเ้ กบ็ ท่าทางจากธรรมชาตมิ าปรุงแตง่ ใหง้ ดงาม เปน็ ภาษาทางนาฏศลิ ป์

เรณู โกศินานนท์ (2545: 98) ได้อธิบาย “ภาษาท่านาฏศิลป์” และกล่าวถึงการรำบทอีกว่า “รำบท”
หมายถงึ การแสดงทา่ ทางแทนคำพดู

จากที่กล่าวมา สรุปได้ว่า “ภาษาท่านาฏศลิ ป์” หมายถึง การเคลื่อนไหวส่วนต่าง ๆ ของร่างกาย
เช่น มือ แขน ขา หรืออารมณ์ เป็นการแสดงกิริยาโดยใช้ลีลาท่ารำหรือการรำบทแสดงออกเป็นท่าทาง
คำพดู เพอื่ สือ่ ความหมายใหผ้ ูช้ มเข้าใจ

1.6 ประเภทของ “ภาษาท่านาฏศิลป”์

“ภาษาทา่ นาฏศิลป”์ ใชส้ ือ่ ความหมายแทนคำพดู กริ ิยา อิริยาบถ อารมณ์ แบง่ ออกได้ดังน้ี
1) ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ทใี่ ช้แทนคำพดู เชน่ ท่าฉนั ทา่ ท่าน เปน็ ตน้
2) ภาษาทา่ นาฏศลิ ปท์ แี่ สดงกริ ิยาอาการ(อิริยาบถ) เช่น ท่ายืน ทา่ โลมบน เปน็ ตน้
3) ภาษาท่านาฏศลิ ปท์ ่แี สดงอารมณ์ภายใน เช่น ทา่ อาย ทา่ โกรธ เปน็ ต้น

เกรด็ ความรู้

ในการแสดงนาฏศลิ ป์ไทยใหส้ วยงามไดม้ าตรฐาน ผูแ้ สดงต้องเคลื่อนไหวร่างกายให้สอดคลอ้ ง
กลมกลนื กนั ไปทกุ ส่วนของร่างกาย มีใจรกั มคี วามสขุ และสนกุ กับกายแสดง

หนงั สืออา่ นเพมิ่ เติม วิชานาฏศิลป์

23

1.7 ตัวอย่างภาษาท่านาฏศลิ ป์

1) ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ทใี่ ชแ้ ทนคำพูด มดี งั นี้

ภาพที่ 18 ท่าฉัน
ที่มา : ดลดา อ่มิ จิต, 2563.
ท่าฉนั
พระ : มอื ซา้ ยจบี หงายทอ่ี ก มอื ขวาท้าวสะเอว เท้าซ้ายก้าวขา้ ง ย่อเขา่ และกันเข่าออก
ศีรษะเอียงซา้ ย
นาง : มือซ้ายจีบหงายทีอ่ ก มือขวาจีบหลงั ส่งลำแขนให้ตึง เทา้ ขวากา้ วหน้า เท้าซา้ ยเปิด
ส้นเท้าหลงั ศีรษะเอยี งซา้ ย
หมายเหตุ : ทา่ ฉนั ตามแบบนาฏศลิ ปไ์ ทย (เปน็ ท่ารำที่บังคับ คอื จะใช้มอื ซ้ายเทา่ นัน้ )

หนังสืออ่านเพ่มิ เติม วชิ านาฏศิลป์

24

ภาพท่ี 19 ทา่ ท่าน
ท่ีมา : ดลดา อ่มิ จิต, 2563.
ทา่ ท่าน
พระ : ยกมือขวาตง้ั สันมอื ขนึ้ เฉยี งออกเลก็ น้อย มอื ซา้ ยท้าวสะเอว เทา้ ขวาก้าวขา้ ง ย่อเข่าและ
กนั เข่าออก ศรี ษะเอียงซา้ ย
นาง : ยกมอื ขวาตงั้ สนั มือขน้ึ เฉียงออกเล็กน้อย มอื ซา้ ยจบี หลังสง่ ลำแขนใหต้ งึ เท้าซา้ ยก้าวหนา้
เปดิ สน้ เท้าหลงั ศีรษะเอยี งซ้าย

หนงั สอื อ่านเพิ่มเตมิ วชิ านาฏศิลป์

25

2) ภาษาท่านาฏศลิ ปท์ แ่ี สดงกิริยาอาการ(อิรยิ าบถ) มีดงั น้ี

ภาพท่ี 20 ท่ายืน
ท่มี า : ดลดา อิม่ จติ , 2563.
ท่ายืน
พระ : มือขวาท้าวสะเอว มือซ้ายแบมือวางฝ่ามอื ที่หนา้ ขาข้างซ้าย เท้าขวายนื เตม็ เทา้
เทา้ ซา้ ยวางด้วยจมูกเท้าเปิดส้นเท้า ศีรษะเอียงขวา
นาง : มือขวาจีบหงายชายพก มือซ้ายแบมือวางฝ่ามอื แปะที่หนา้ ขาข้างซ้าย เท้าขวายืนเต็มเทา้
วางเทา้ ซา้ ยเหลื่อมไปขา้ งหนา้ ปลายเทา้ เชิดข้ึน ศรี ษะเอยี งซ้าย

หนังสอื อ่านเพม่ิ เติม วิชานาฏศิลป์

26

ภาพท่ี 21 ท่าโลมบน
ทม่ี า : ดลดา อ่ิมจิต, 2563.
ทา่ โลมบน
พระ : มือทั้งสองข้างจีบคว่ำซ้อนบนข้อมือทั้งสองข้างของตัวนาง ระดับไหล่ สะบัดจีบออกเป็น
ตงั้ วง เท้าซ้ายกา้ วข้าง นำ้ หนักอยทู่ เ่ี ทา้ ซา้ ย เอยี งศรี ษะข้างซ้าย กดไหล่ซา้ ย
นาง : มือทั้งสองข้างจีบคว่ำตรงหัวไหล่ สะบัดจีบออกเป็นตั้งวง เท้าซ้ายก้าวข้าง น้ำหนักอยู่ท่ี
เท้าซ้าย เอียงศีรษะขา้ งซ้าย กดไหล่ซา้ ย

หนงั สอื อา่ นเพมิ่ เติม วชิ านาฏศิลป์

27

3) ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ทแ่ี สดงอารมณ์ภายใน มดี ังนี้

ภาพที่ 22 ทา่ อาย
ทม่ี า : ดลดา อมิ่ จติ , 2563.
ทา่ อาย
พระ : มือขวาท้าวสะเอว ฝ่ามือซ้ายแตะข้างแก้มซ้าย เท้าขวาก้าวข้าง ย่อเข่าและกันเข่าออก
ศรี ษะเอยี งซา้ ย
นาง : มือขวาจีบหลังส่งลำแขนให้ตึง ฝ่ามือซ้ายแตะข้างแก้มซ้าย เท้าซ้ายก้าวหน้า เท้าขวา
เปดิ ส้นเทา้ หลัง ศรี ษะเอียงซา้ ย

หนังสืออ่านเพ่มิ เติม วิชานาฏศลิ ป์

28

ภาพท่ี 23 ท่าโกรธ
ทมี่ า : ดลดา อิม่ จติ , 2563.
ทา่ โกรธ
พระ : ปลายนิ้วมอื ซ้ายถูบริเวณหลังใบหูซ้าย ถูขึ้น-ลงไปมาแล้วกระชากมือลงถา้ กระชากเบา ๆ
ก็เพียงเคอื งใจ ถ้ากระชากแรง ๆ แสดงว่าโกรธจัด มือขวาท้าวสะเอว เท้าซ้ายยืนเตม็ เทา้
เท้าขวาวางด้วยจมกู เทา้ ปลายเทา้ เชิดขึน้ ศรี ษะเอียงซ้าย
นาง : ปลายนิ้วมือซ้ายถูบริเวณหลังใบหูซ้าย ถูขึ้น-ลงไปมาแล้วกระชากมือลงถ้ากระชากเบา ๆ
ก็เพียงเคืองใจ ถ้ากระชากแรง ๆ แสดงว่าโกรธจัด มือขวาจีบหงายชายพก เท้าขวายืน
เต็มเทา้ วางเทา้ ซ้ายเหลอื่ มไปขา้ งหนา้ ปลายเทา้ เชดิ ขนึ้ ศีรษะเอียงซา้ ย

หนังสืออ่านเพม่ิ เตมิ วชิ านาฏศลิ ป์

29

1.8 สรุป

นาฏยศพั ท์ หมายถงึ ศัพทท์ ใ่ี ช้ในวงการนาฏศิลปไ์ ทย เป็นศพั ทเ์ ฉพาะที่ใช้เรียกลักษณะท่ารำไทย
ในการฝกึ หดั ทางด้านนาฏศิลป์ไทย เช่น โขน ละคร ระบำ รำ ฟ้อน เพ่อื ใช้ส่ือความหมายให้เกิดความเข้าใจ
และสามารถปฏิบัติได้ตรงกัน ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญที่ผู้เรียนควรเรียนรู้ และควรฝึกหัดท่านาฏศิลป์เบื้องต้น
เพราะจะทำให้ผูเ้ รยี นสามารถรำได้ออ่ นช้อยงดงามตามแบบนาฏศลิ ป์ไทย ซ่ึงแบง่ ออกเปน็ 4 ประเภท ดงั น้ี

1) นาฏยศพั ทท์ ่ีเก่ียวกับมอื เช่น วงบน วงกลาง วงล่าง จบี ควำ่ จบี หงาย จบี ลอ่ แก้ว เปน็ ต้น
2) นาฏยศัพทท์ ่ีเกย่ี วกบั เทา้ เชน่ ประเทา้ ยกเทา้ กระดกเทา้ กา้ วหน้า ก้าวข้าง จรดเทา้
เปน็ ต้น
3) นาฏยศัพท์ทเี่ กย่ี วกบั ศรี ษะ เช่น เอยี งศรี ษะ ลกั คอ ตีไหล่ เปน็ ต้น
4) นาฏยศพั ทท์ ี่ใชเ้ รยี กช่อื ท่ารำ เชน่ สอดสร้อยมาลา เฉดิ ฉนิ เปน็ ต้น

ภาษาท่านาฏศิลป์ หมายถึง การเคลื่อนไหวกิริยาท่าทางต่าง ๆ รวมถึงอารมณ์ที่แสดงออกมา
แตกตา่ งกันของมนษุ ย์ มาประดิษฐ์เปน็ ท่าทางให้สวยงาม มีรูปแบบมาตรฐาน ทำให้สามารถสื่อความหมาย
ให้ผู้ชมเข้าใจได้ ซ่ึงภาษาท่านาฏศิลป์ แบง่ ออกได้ ดงั น้ี

1) ภาษาท่านาฏศิลปท์ ี่ใช้แทนคำพดู เชน่ ทา่ ฉนั ท่าทา่ น เป็นต้น
2) ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ท่แี สดงกริ ิยาอาการ(อิรยิ าบถ) เชน่ ทา่ ยืน ท่าโลมบน เปน็ ตน้
3) ภาษาทา่ นาฏศิลปท์ ี่แสดงอารมณ์ภายใน เช่น ท่าอาย ทา่ โกรธ เป็นตน้

คำถามท้าทาย
นักเรยี นคดิ วา่ ภาษาทา่ มปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร

ศพั ทท์ ค่ี วรรู้ กิจกรรมพฒั นาความสามารถในการอ่าน

ใหน้ กั เรียนอ่านคำและความหมายของคำตอ่ ไปน้ี

คำศพั ท์ คำอา่ น ความหมาย
นักปราชญ์ นกั -ปราด ผูร้ ู้ ผ้มู ีปญั ญา
อิรยิ าบถ อ-ิ ร-ิ ยา-บด อาการทร่ี ่างกายอยู่ในท่าใดท่าหน่งึ คอื ยนื เดิน นงั่ นอน กนิ
ออ่ นช้อย อ่อน-ชอ้ ย มกี ริ ิยาท่าทางงดงามละมุนละไม มีลักษณะงอนงาม

หนงั สืออ่านเพ่ิมเติม วิชานาฏศลิ ป์

30

บรรณานุกรม

ราณี ชัยสงคราม. (2544). นาฏศิลป์ไทยเบอื้ งต้น. กรุงเทพฯ: คุรุสภา.
เรณู โกศนิ านนท์. (2545). นาฏศิลปไ์ ทย. กรงุ เทพฯ: ไทยวัฒนาพานชิ .
______. (2546). นาฏยศัพท์ ภาษาทา่ นาฏศลิ ป์ไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ .
วทิ ยาลัยนาฏศิลป. (2552). เอกสารประกอบการสอนนาฏศลิ ปไ์ ทย(ละคร) เรื่อง นาฏยศพั ท์พนื้ ฐาน

การฝกึ หดั เบ้ืองตน้ หมวดวิชานาฏศิลปไ์ ทย(ละคร) ภาควิชานาฏศิลป์ วิทยาลยั นาฏศิลป์
สถาบันบัณฑิตพฒั นศลิ ป์ กระทรวงวัฒนธรรม. (ม.ป.ท.).
สุมนมาลย์ น่ิมเนตพิ นั ธ.์ (2543). การละครไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ .
อมรา กล่ำเจรญิ . (2542). สนุ ทรยี นาฏศลิ ป์ไทย. พมิ พ์คร้ังท่ี 3. กรงุ เทพฯ: โอ.เอส.พรนิ้ ต้ิง เฮา้ ส์.
อรวรรณ ขมวฒั นา. (2546). หนงั สือประกอบการเรยี นรพู้ นื้ ฐานกลุ่มสาระการเรยี นรศู้ ิลปะ สาระ
นาฏศลิ ป์ 12 ชน้ั ปี. กรุงเทพฯ: ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
อาคม สายาคม. (2545). รวมงานนิพนธ.์ พมิ พ์คร้ังท่ี 2. กรุงเทพฯ: รุ่งศิลป์การพมิ พ์(1977) จำกัด.
อดุ ม กลุ เมธพนธ์. (2556). นาฏยศัพทฉ์ บบั ครูลมลุ . กรุงเทพฯ: สุเทพการพิมพ์.

หนังสืออ่านเพ่ิมเติม วิชานาฏศลิ ป์

31

ประวัติผู้จดั ทำ

ช่ือ นางสาวดลดา อ่มิ จิต
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการพเิ ศษ
การศึกษา
พ.ศ. 2535 ประถมศกึ ษาปีที่ 6 โรงเรยี นวดั ทุง่ ครุ(พ่งึ สายอนุสรณ)์
Email พ.ศ. 2538 หลักสูตรนาฏศิลป์ชนั้ ตน้ วิทยาลยั นาฏศลิ ป กรมศิลปากร
ที่อยู่
สถานทท่ี ำงาน พ.ศ. 2541 หลักสูตรนาฏศิลป์ชั้นกลาง วทิ ยาลัยนาฏศิลป กรมศิลปากร
พ.ศ. 2543 หลกั สูตรนาฏศิลป์ชน้ั สงู วทิ ยาลัยนาฏศลิ ป กรมศิลปากร
พ.ศ. 2545 ศึกษาศาสตรบัณฑติ (ศษ.บ) นาฏศลิ ป์ไทยศึกษา

สถาบันบัณฑติ พัฒนศลิ ป์
donlada2523 @hotmail.co.th

278 ซอยประชาอุทิศ 84 แขวงทุ่งครุ เขตท่งครุ กรงุ เทพมหานคร 10140
โทรศัพทบ์ า้ น 02 - 8158536 โทรศพั ท์เคล่ือนท่ี 08 – 04469556
โรงเรียนวดั ทุ่งครุ(พึ่งสายอนุสรณ์) สำนักงานเขตทุ่งครุ กรงุ เทพมหานคร

หนังสอื อ่านเพิม่ เติม วชิ านาฏศลิ ป์


Click to View FlipBook Version