The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หนังสือเศศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 1256070002, 2022-05-25 00:18:12

หนังสือเศศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น

หนังสือเศศรษฐกิจพอเพียง ม.ต้น

หนงั สือเรยี นสาระทักษะการดําเนินชวี ิต

รายวชิ า เศรษฐกิจพอเพียง

(ทช21001)

ระดบั มัธยมศกึ ษาตอนตน

(ฉบบั ปรับปรงุ 2554)

หลกั สตู รการศกึ ษานอกระบบระดับการศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551

สาํ นกั งานสง เสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศยั
สํานกั งานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร

หามจาํ หนาย

หนังสือเรียนเลม นจี้ ดั พมิ พดว ยเงินงบประมาณแผนดนิ เพือ่ การศกึ ษาตลอดชีวิตสาํ หรับประชาชน ลขิ สิทธ์ิ
เปนของ สาํ นกั งาน กศน. สาํ นักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ
เอกสารทางวิชาการลําดบั ที่ 19/2555

หนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนนิ ชวี ิต

รายวิชา เศรษฐกจิ พอเพียง (ทช21001)

ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

ฉบับปรบั ปรุง 2554

ลขิ สทิ ธเิ์ ปน ของ สาํ นักงาน กศน. สาํ นกั งานปลัดกระทรวงศกึ ษาธกิ าร
เอกสารทางวิชาการลําดบั ที่ 19/2555

คาํ นํา

กระทรวงศึกษาธิการไดประกาศใชหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พทุ ธศกั ราช 2551 เมอื่ วนั ท่ี 18 กันยายน พ.ศ. 2551 แทนหลักเกณฑแ ละวิธีการจัดการศกึ ษานอกโรงเรียน
ตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2544 ซ่ึงเปนหลักสูตรท่ีพัฒนาข้ึนตามหลักปรัชญาและ
ความเชื่อพืน้ ฐานในการจัดการศึกษานอกโรงเรียนทม่ี ีกลมุ เปา หมายเปน ผใู หญมกี ารเรียนรแู ละสง่ั สมความรู
และประสบการณอยางตอเนอื่ ง

ในปงบประมาณ 2554 กระทรวงศกึ ษาธิการไดกําหนดแผนยุทธศาสตรในการขับเคล่ือนนโยบาย
ทางการศกึ ษาเพ่ือเพ่ิมศักยภาพและขดี ความสามารถในการแขงขันใหประชาชนไดมีอาชีพท่ีสามารถสราง
รายไดท่ีมั่งค่ังและม่ันคง เปนบุคลากรท่ีมีวินัย เปยมไปดวยคุณธรรมและจริยธรรม และมีจิตสํานึก
รบั ผดิ ชอบตอ ตนเองและผอู นื่ สํานักงาน กศน. จึงไดพจิ ารณาทบทวนหลกั การ จดุ หมาย มาตรฐาน ผลการ
เรียนรูท่ีคาดหวัง และเน้ือหาสาระ ท้ัง 5 กลุมสาระการเรียนรู ของหลักสูตรการศึกษานอกระบบระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ใหมีความสอดคลองตอบสนองนโยบายกระทรวงศึกษาธิการซึ่ง
สงผลใหตองปรับปรุงหนังสือเรียน โดยการเพ่ิมและสอดแทรกเนื้อหาสาระเก่ียวกับอาชีพ คุณธรรม
จริยธรรมและการเตรียมพรอมเพ่ือเขาสูประชาคมอาเซียน ในรายวิชาท่ีมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน แต
ยังคงหลักการและวิธีการเดิมในการพัฒนาหนังสือที่ใหผูเรียนศึกษาคนควาความรูดวยตนเอง ปฏิบัติ
กจิ กรรม ทาํ แบบฝก หัด เพ่อื ทดสอบความรคู วามเขา ใจ มกี ารอภปิ รายแลกเปลีย่ นเรียนรูกบั กลมุ หรอื ศกึ ษา
เพม่ิ เตมิ จากภูมปิ ญญาทอ งถิน่ แหลง การเรยี นรูและส่ืออ่นื

การปรับปรุงหนังสอื เรียนในคร้ังน้ี ไดร ับความรว มมอื อยางดยี ่งิ จากผทู รงคุณวุฒิในแตละสาขาวิชา
และผูเก่ียวของในการจัดการเรียนการสอนท่ีศึกษาคนควา รวบรวมขอมูลองคความรูจากสื่อ
ตา ง ๆ มาเรียบเรียงเนอ้ื หาใหค รบถวนสอดคลองกับมาตรฐาน ผลการเรียนรูที่คาดหวัง ตัวชี้วัดและกรอบ
เน้อื หาสาระของรายวิชา สํานักงาน กศน.ขอขอบคุณผูมีสวนเกี่ยวของทุกทานไว ณ โอกาสน้ี และหวังวา
หนังสือเรียนชุดนี้จะเปนประโยชนแกผูเรียน ครู ผูสอน และผูเกี่ยวของในทุกระดับ หากมีขอเสนอแนะ
ประการใด สาํ นกั งาน กศน.ขอนอ มรับดว ยความขอบคณุ ย่ิง

สารบญั

หนา

คํานาํ

คําแนะนําการใชห นังสอื เรียน

โครงสรางรายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน

บทที่ 1 ความพอเพียง……………………………………………………………………….. 1

บทที่ 2 การประกอบอาชีพอยา งพอเพยี ง................................................................................. 13

บทท่ี 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพียง…………………………………………… 19

บทที่ 4 เครือขา ยดําเนนิ ชวี ิตแบบพอเพยี ง............................................................................... 37

บรรณานกุ รม

คณะผจู ัดทํา

คาํ แนะนาํ การใชหนังสอื เรยี น

หนังสอื เรยี นสาระทกั ษะการดาํ เนนิ ชวี ิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ทช21001 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนตน เปนแบบเรยี นท่จี ัดทําขึน้ สาํ หรบั ผเู รยี นที่เปน นกั ศกึ ษานอกระบบ

ในการศึกษาหนงั สอื เรยี นสาระทกั ษะการดําเนินชวี ติ รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพียง ผเู รยี นควรปฏบิ ัติดงั นี้
1. ศึกษาโครงสรางรายวิชาใหเขาใจในหัวขอและสาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรู ระดับผล
การเรียนรทู ่คี าดหวัง และขอบขา ยเนอ้ื หาของรายวิชาน้นั ๆ โดยละเอยี ด
2. ศึกษารายละเอียดเน้ือหาของแตละบทอยางละเอียด และทํากิจกรรมตามท่ีกําหนด
แลว ตรวจสอบกบั แนวตอบกจิ กรรมตามทก่ี ําหนด ถา ผูเรยี นตอบผดิ ควรกลบั ไปศึกษาและทําความเขาใจใน
เนอ้ื หานนั้ ใหมใหเขา ใจ กอนทจี่ ะศกึ ษาเร่อื งตอ ๆ ไป
3. ปฏิบัติกจิ กรรมทายเรือ่ งของแตล ะเรื่อง เพื่อเปนการสรุปความรู ความเขาใจของเน้ือหาในเร่ือง
น้ันๆ อกี ครงั้ และปฏิบัติกจิ กรรมของแตละเน้ือหา แตละเร่ือง ผเู รยี นสามารถนําไปตรวจสอบกบั ครแู ละเพื่อนๆ
ที่รวมเรียนในรายวชิ าและระดับเดียวกันได
4. หนังสือเรยี นเลม นีม้ ี 4 บท คือ

บทท่ี 1 ความพอเพยี ง
บทท่ี 2 การประกอบอาชีพอยา งพอเพียง
บทที่ 3 การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพียง
บทที่ 4 เครอื ขา ยดําเนนิ ชวี ิตแบบพอเพียง

โครงสรา ง รายวิชาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ระดบั มธั ยมศกึ ษาตอนตน (ทช21001)

สาระสําคญั

เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ทรงพระราชดํารัสช้ีแนะแนวทาง
การดํารงอยูและการปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับใหดําเนินชีวิตไปในทางสายกลางโดยเฉพาะ
การพัฒนาเศรษฐกิจเพ่ือใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิวัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตองมีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีพอสมควรตอผลกระทบใด ๆ
อนั เกิดจากการเปลีย่ นแปลงทงั้ ภายนอกและภายใน ทั้งน้จี ะตอ งอาศัยความรอบรู ความรอบคอบและความ
ระมัดระวังอยางยิ่งในการนําวิชาการตาง ๆ มาใชในการวางแผนและดําเนินการทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกันจะตอ งเสริมสรา งพน้ื ฐานจติ ใจของคนในชาติใหม ีสาํ นกึ ในคณุ ธรรม ความซ่อื สัตยสุจริตและให
มีความรอบรูที่เหมาะสมดําเนินชีวิตดวยความอดทน ความเพียร มีสติปญญาและความรอบคอบ เพื่อให
สมดุลและพรอ มตอ การรองรบั การเปล่ยี นแปลงอยา งรวดเรว็ และกวางขวาง ทัง้ ดา นวตั ถุ สงั คม ส่งิ แวดลอม
และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปน อยางดี

ผลการเรยี นรูท ี่คาดหวัง

1. อธิบายแนวคดิ หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งได
2. บอกแนวทางในการนําปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงไปประยกุ ตใ ชใ นการประกอบอาชพี
3. เห็นคุณคา และปฏบิ ัตติ ามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
4. แนะนํา สง เสรมิ ใหสมาชกิ ในครอบครัวและชุมชนใหเ ห็นคุณคาและนําไปปฏิบัติในการดําเนิน

ชวี ิต

ขอบขา ยเนื้อหา ความพอเพียง
เรื่องท่ี 1 ความเปนมา ความหมาย หลกั การแนวคิดของหลักปรัชญาของ
บทที่ 1
เศรษฐกิจพอเพยี ง
บทที่ 2 เรอื่ งที่ 2 การแสวงหาความรู
การประกอบอาชพี อยา งพอเพียง
บทท่ี 3 เรอ่ื งท่ี 1 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งกบั การจดั การทรพั ยากรท่มี อี ยู

ของตนเอง ครอบครัว ชุมชน
เรื่องที่ 2 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกับการประกอบอาชพี
การวางแผนประกอบอาชีพแบบพอเพยี ง
เรือ่ งท่ี 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรัชญา

ของเศรษฐกจิ พอเพียง

เรื่องท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียง

บทท่ี 4 เครอื ขา ยดาํ เนนิ ชีวิตแบบพอเพียง
เร่อื งท่ี 1 การสง เสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัตติ ามหลกั ปรชั ญา
ของเศรษฐกจิ พอเพียงของบคุ คล ชมุ ชน ทป่ี ระสบผลสาํ เรจ็
เรือ่ งที่ 2 การสรางเครอื ขา ยการประกอบอาชพี และการดําเนินชวี ิต
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรื่องที่ 3 กระบวนการขบั เคลอ่ื นเศรษฐกิจพอเพยี ง

1

บทที่ 1
ความพอเพียง

สาระสาํ คัญ

เศรษฐกจิ พอเพยี งเปนหลกั คดิ หลักปฏบิ ัตใิ นการดาํ เนินชวี ิตตามแนวทางสายกลางของกลุมบุคคล
ทุกระดับ ตั้งแตระดับครอบครัว ชุมชน และระดับประเทศ โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจให
กาวทันตอความเปล่ียนแปลงในยุคโลกาภิวัตนดวยความพอเพียง คือมีความพอประมาณ ความมีเหตุผล
มีระบบภูมิคุมกันในตัวที่ดีตอการมีผลกระทบตางๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงท้ังภายนอกและ
ภายในประเทศ โดยจะตองมีความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวัง ควบคูไปกับการมีความรู
ที่เหมาะสม มีความสํานึกในคุณธรรม เพ่ือใหสมดุลและพรอมรองรับการเปล่ียนแปลงอยางรวดเร็วและ
กวางขวางท้งั ทางดานวัตถุ สังคม สิง่ แวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเ ปนอยา งดี

ผลการเรยี นท่คี าดหวงั

อธิบายแนวคิด หลักการ ความหมาย ความสาํ คัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งได

ขอบขายเนือ้ หา

เร่ืองท่ี 1 ความเปนมา ความหมาย ของหลักการแนวคดิ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
เรื่องท่ี 2 การแสวงหาความรู

2

เรอ่ื งที่ 1 ความเปนมา ความหมาย หลกั การแนวคดิ ของหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง

ความเปนมาปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เศรษฐกิจพอเพียงเปนปรัชญาที่ช้ีแนวทางการดํารงอยูและปฏิบัติตน ท่ีพระบาทสมเด็จ
พระปรมินทรมหาภูมพิ ลอดุลยเดชมีพระราชดํารัสแกพ สกนกิ รชาวไทยมาตั้งแตป  พ.ศ. 2517 มีใจความวา
“...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับข้ัน ตองสรางพื้นฐาน คือ ความพอมี พอกิน พอใช
ของประชาชนสวนใหญเปนเบื้องตนกอนโดยใชวิธีการและใชอุปกรณที่ประหยัด แตถูกตองตามหลักวิชา
เมื่อไดพ ืน้ ฐานม่ันคงพรอ มพอควร และปฏบิ ัตไิ ดแ ลว จึงคอยสรา งคอ ยเสริมความเจริญและฐานะเศรษฐกิจ
ข้นั ท่ีสูงขึน้ โดยลําดับตอไป...” และนบั จากนั้นเปนตนมาพระองคไดทรงเนนยํ้าถึงแนวทางการพัฒนาหลัก
แนวคิดพึ่งตนเองเพ่ือใหเกิดความพอมี พอกิน พอใชของคนสวนใหญ โดยใชหลักความพอประมาณ การ
คํานึงถึงความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดี ตลอดจนทรงเตือนสติปวงชนชาวไทยไมใหประมาท มี
ความตระหนักถึงการพฒั นาอยา งเปนข้ันเปนตอนที่ถูกตองตามหลักวิชา และการมีคุณธรรมเปนกรอบใน
การปฏิบัติและการดํารงชีวติ

ในป พ.ศ. 2540 ประเทศไทยประสบกับภาวะวิกฤติเศรษฐกิจ นับวาเปนบทเรียนของการพัฒนาที่
ไมส มดลุ และไมม ีเสถียรภาพ ซงึ่ สงผลกระทบตอความเปนอยูของประชาชนสวนใหญ สวนหนึ่งเปนผลมา
จากการพัฒนาเศรษฐกจิ และสงั คมท่ไี มไ ดคาํ นึงถงึ ระดบั ความเหมาะสมกบั ศกั ยภาพของประเทศ หรือความ
พรอมของคนและระบบและอกี สวนหนงึ่ นน้ั การหวงั พง่ึ พงิ จากตา งประเทศมากเกนิ ไปทั้งในดานความรู เงิน
ลงทุน หรือตลาด โดยไมไดเตรียมสรางพ้ืนฐานภายในประเทศใหมีความม่ันคงและเขมแข็ง หรือสราง
ภูมคิ ุมกันทด่ี เี พอื่ ใหสามารถพรอ มรับความเส่ยี งจากความผกผันเปลีย่ นแปลงของปจจัยภายในและภายนอก
บทเรียนจากการพัฒนาท่ีผานมาน้ันทําใหประชาชนคนไทยทุกระดับในทุกภาคสวนของสังคม ทั้งภาครัฐ
เอกชน ประชาสงั คม นักวชิ าการ หนั กลับมาทบทวนแนวทางการพัฒนาและการดําเนินชีวิตของคนในชาติ
แลว มงุ ใหความสําคญั กับพระราชดําริของพระบามสมเด็จพระเจาอยูหัวในเร่ืองการพัฒนาและการดําเนิน
ชีวิตแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และศึกษาคนควาพัฒนาความรู ความเขาใจเก่ียวกับแนวคิดเศรษฐกิจ
พอเพยี งท้ังในเชงิ กรอบแนวคดิ ทางทฤษฎีและใชเ ปน แนวในการนาํ ไปประยุกตใ ชใ นชีวติ ประจาํ วันมากข้นึ

สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดเชิญผูทรงคุณวุฒิจากหนวยงาน
ตางๆ มารวมกันพิจารณา กลั่นกรอง พระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวที่ได
พระราชทานแกปวงชนชาวไทยในโอกาสตางๆ ท่ีเกี่ยวของกับเร่ืองเศรษฐกิจพอเพียงแลวสรุปเปนนิยาม
ความหมายปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และไดอัญเชิญเปนปรัชญานําทางในการจัดทําแผนพัฒนา
เศรษฐกิจ และสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545 - 2549) และฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550 - 2554)

3

เพื่อสงเสริมใหประชาชนทุกระดับและทุกภาคสวนของสังคมมีความเขาใจในหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงและนําไปเปนพ้ืนฐานและแนวทางในการดําเนินชีวิตอันจะนําไปสูการพัฒนาที่สมดุลและย่ังยืน
ประชาชนมคี วามเปน อยรู มเยน็ เปน สขุ สังคมมีความเขม แขง็ และประเทศชาตมิ คี วามมนั่ คง

ความหมายปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปน ปรัชญาท่ีเปนแนวคิด หลักการ และแนวทางปฏิบัติตนของแตละ
บุคคลและองคกรทุกระดับตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน และระดับประเทศทั้งในการพัฒนาและ
บรหิ ารประเทศใหด าํ เนินไปในทางสายกลาง โดยคํานึงถึงความพอประมาณกับศักยภาพตนเองและสภาวะ
แวดลอม ความมีเหตุผลและการมีภูมิคุมกันที่ดีในตัวเองโดยใชความรูอยางถูกหลักวิชาการดวยความ
รอบคอบและระมัดระวังควบคูไปกับการมีคุณธรรม ไมเบียดเบียนกัน แบงปน ชวยเหลือซ่ึงกันและกันและ
รวมมือปรองดองกันในสังคม ซึ่งนําไปสูความสามัคคี การพัฒนาที่สมดุลและย่ังยืนพรอมรับตอ
การเปล่ียนแปลงภายใตก ระแสโลกาภิวัตนไ ด

หลกั แนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวภูมิพลอดุลยเดช ไดพัฒนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เพ่ือท่ีจะใหพสกนิกรชาวไทยไดเขาถึงทางสายกลางของชีวิตและเพ่ือคงไวซ่ึงทฤษฎีของการพัฒนา
ที่ย่ังยืน ทฤษฎีน้ีเปนพื้นฐานของการดํารงชีวิตซ่ึงอยูระหวางสังคมระดับทองถิ่นและตลาดระดับสากล
จุดเดน ของแนวปรชั ญานี้คอื แนวทางทส่ี มดลุ โดยใชหลักธรรมชาติทเี่ ปน เหตเุ ปนผลอยา งเช่ือมโยง พฒั นาให
ทนั สมัย และกา วสคู วามเปนสากลได โดยปราศจากการตอตา นกระแสโลกาภวิ ตั น

หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมคี วามสําคัญในชวงป พ.ศ. 2540 เม่ือปที่ประเทศไทยตองการ
รักษาความมั่นคงและเสถียรภาพทางเศรษฐกิจเพื่อที่จะยืนหยัดในการพึ่งตนเองและพัฒนานโยบาย
ที่สําคัญเพ่ือการฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศ โดยการสรางแนวคิดเศรษฐกิจที่พ่ึงตนเองได ซึ่งคนไทยจะ
สามารถเล้ียงชีพโดยอยบู นพน้ื ฐานของความพอเพยี งและการนาํ แนวคิดดังกลาวมาใชก็ไดผานการทดลองใน
พระตาํ หนกั สวนจิตรลดารโหฐานและโครงการในภูมภิ าคตาง ๆ หลายโครงการ

พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูห วั มพี ระราชดําริวา มันไมไดมีความจําเปนท่ีเราจะกลายเปนประเทศ
อตุ สาหกรรมใหม (NIC) พระองคไดทรงอธบิ ายวา ความพอเพียงและการพึ่งตนเอง คือ ทางสายกลางที่จะ
ปอ งกันการเปลี่ยนแปลงความไมมน่ั คงของประเทศได และการดาํ เนินชวี ติ ตามหลกั เศรษฐกิจพอเพียงเช่ือวาจะ
สามารถปรบั เปล่ียนโครงสรา งทางสงั คมของชมุ ชนใหด ขี ึน้ โดยมปี จ จยั 2 อยาง คอื

1. การผลิตจะตองมคี วามสัมพนั ธกันระหวา งปริมาณผลผลติ และการบรโิ ภค
2. ชุมชนจะตอ งมีความสามารถในการจัดการทรัพยากรของตนเองอยางครบวงจร
ผลท่เี กิดข้ึน คือ
1. เศรษฐกิจพอเพียงสามารถทจี่ ะคงไวซึง่ ขนาดของประชากรที่ไดสดั สว น

4

2. ใชเทคโนโลยไี ดอยางเหมาะสม
3. รักษาสมดุลของระบบนิเวศ และปราศจากการแทรกแซงจากปจจยั ภายนอก
ปจจุบันแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดมีการนําไปใชเปนนโยบายของรัฐบาล และปรากฏใน
รัฐธรรมนญู แหงราชอาณาจกั รไทย พทุ ธศกั ราช 2550 มาตรา 78 (1) วา “การบริหารราชการแผนดินใหเปนไป
เพื่อการพัฒนาสังคม เศรษฐกิจและความมั่นคงของประเทศอยางย่ังยืน โดยตองสงเสริมการดําเนินการตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และคํานึงถึงผลประโยชนข องประเทศชาติในภาพรวมเปน สําคญั ”
การพัฒนาตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง คอื การพัฒนาทต่ี ้ังอยูบ นพน้ื ฐานทางสายกลางและความไม
ประมาท โดยคํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสรางภูมิคุมกันในตัวท่ีดีตลอดจนใชความรู
ความรอบคอบ และคณุ ธรรมประกอบการวางแผน การตัดสินใจและการกระทาํ
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีหลกั การพิจารณา 5 สว น ดังนี้
1. กรอบแนวคิด เปนปรัชญาท่ีช้ีแนะแนวทางการดํารงชีวิตและการปฏิบัติตนในทางท่ีควรจะเปน
โดยมีพื้นฐานจากวิถีชีวิตดั้งเดิมของสังคมไทยที่นําประยุกตใชไดตลอดเวลา และเปนการมองโลก
เชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูตลอดเวลา มุงเนนการรอดพนจากภัยและวิกฤติเพื่อความมั่นคงและ
ความย่ังยนื ของการพฒั นา
2. คณุ ลักษณะของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนาํ มาประยุกตใชกับการปฏิบัติตนไดใน
ทุกระดบั โดยเนน การปฏบิ ตั ิบนทางสายกลางและการพัฒนาอยางเปน ข้นั ตอน
3. คํานยิ ามความพอเพยี ง ประกอบดว ย 3 คุณลักษณะ ดงั นี้

3.1 ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีท่ีไมนอยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม
เบียดเบยี นตนเองและผอู ื่น การจะทาํ อะไรตอ งมคี วามพอดี พอเหมาะ พอควร ตอความจําเปน เหมาะสม
กบั ฐานะของตนเอง สภาวะสงั คมแวดลอ ม รวมทง้ั วฒั นธรรมในแตละทองถิ่น และไมนอยเกินไปจนกระทั่ง
ไมเพียงพอที่จะดําเนินการได ซ่ึงการตัดสินวาในระดับพอประมาณน้ันจะตองอาศัยความรอบรู ความ
รอบคอบในการวางแผนและตัดสินใจอยางมีคุณธรรมดวย เชน ไมเบียดเบียนตนเองและผูอ่ืน
ไมท าํ ใหสังคมเดอื ดรอ น ไมทาํ ลายธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอม

3.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกยี่ วกบั ระดับความพอเพียงน้นั จะตอ งเปนไปอยางมี
เหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยท่เี กีย่ วของ ตลอดจนคาํ นึงถึงผลท่ีคาดวาจะเกิดข้ึนจากการกระทําน้ัน
อยางรอบคอบ ครบวงจรบนพื้นฐานของความถูกตอง ความเปนจริง ตามหลักวิชาการ หลักกฎหมาย
หลักศีลธรรม จริยธรรม และวัฒนธรรมท่ีดีงาม ท้ังในระยะยาว ท้ังตอตนเอง ผูอื่น และสวนรวม การคิด
พิจารณาแยกแยะใหเห็นความเชื่อมโยงของเหตุ ปจจัยตา งๆ อยางตอเน่อื ง อยางเปนระบบจะทําใหบรรลุ
เปาหมายไดอ ยา งมปี ระสิทธิภาพ มีขอผิดพลาดนอย การท่ีจะวางแผนดําเนินการสิ่งใดอยางสมเหตุสมผล
ตอ งอาศัยความรอบรู ขยันหม่ันเพียร อดทนที่จะจัดเกบ็ ขอมูลอยางเปนระบบและแสวงหาความรูท่ีถูกตอง

5

อยางสมาํ่ เสมอ มีความรอบคอบในความคิด พิจารณาตดั สินใจ โดยใชส ติ ปญญา อยา งเฉลียวฉลาดในทางที่
ถกู ท่คี วร

3.3 การมภี ูมคิ ุม กันในตัวทดี่ ี หมายถงึ การเตรียมตัวใหพ รอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนดาน
ตา งๆ ท่ีจะเกิดท้งั ในดานเศรษฐกจิ สงั คม ส่ิงแวดลอม และวัฒนธรรม เพ่ือใหสามารถปรับตัวและรับมือได
ทนั ที หรือกลาวไดวาการท่ีจะทําอะไรอยางไมเสี่ยงเกินไป ไมประมาท คิดถึงแนวโนมความเปนไปไดของ
สถานการณต างๆ ท่ีอาจจะเกิดขึ้นได แลวเตรียมตนเอง เตรียมวิธีการทํางานรองรับกับการเปล่ียนแปลง
ตา งๆ เพอื่ ใหการทํางานสามารถดําเนินเปนไปไดอยางราบร่ืนและนํามาซึ่งผลประโยชนในระยะยาวและ
ความสขุ ทยี่ ัง่ ยนื

4. เงอ่ื นไขการตัดสินและการดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับพอเพียง ตองอาศัยท้ังความรู
และคณุ ธรรมเปนพน้ื ฐาน ดงั นี้

4.1 เง่อื นไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกย่ี วกับวิชาการตางๆ ที่เก่ียวของอยางรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกันเพ่ือประกอบการวางแผนและความ
ระมัดระวงั ในขนั้ ปฏิบัติ

4.2 เง่ือนไขคณุ ธรรม คณุ ธรรมท่ีจะตองเสริมสรางใหเ ปนพื้นฐานของคนในชาติ ประกอบดวย
มคี วามตระหนกั ในคณุ ธรรม มีความซ่ือสัตยสุจริต มีความอดทน มีความเพียร รูผิดรูชอบ ใชสติปญญาใน
การดําเนินชีวิตอยางถูกตองและเหมาะสม ไมโลภและไมตระหนี่ รูจักแบงปนและรับผิดชอบในการอยู
รวมกบั ผูอ ื่นในสังคม

5. แนวทางการปฏบิ ัต/ิ ผลทีค่ าดวา จะไดร บั จากการนําปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยุกตใ ช
คอื การพัฒนาที่สมดลุ และยั่งยนื พรอมกับการเปลย่ี นแปลงในทกุ ดานทงั้ ดา นเศรษฐกิจ สังคม ส่ิงแวดลอม
ความรูและเทคโนโลยี

6

สรุปปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

เงอื นไข ความรู้ ํนา ู่ส เงือนไข คณุ ธรรม
(รอบรู้ รอบคอบ ระมัดระวัง) (ซือสัตย์ สุจริต ขยนั อดทน แบ่งปัน)

แผนภาพแสดงแนวคิดเศรษฐกิจพอเพยี ง 3 หว ง 2 เงือ่ นไข

ระบบเศรษฐกิจพอเพียง มุงเนนใหบุคคลสามารถประกอบอาชีพไดอยางยั่งยืน และใชจายเงินที่
ไดม าอยา งพอเพยี งและประหยัด ตามกําลังของเงินของบุคคลนั้น โดยหลีกเล่ียงการกูหน้ียืมสิน และถามี
เงินเหลอื กแ็ บงเก็บออมไวบางสวน ชวยเหลือผอู ื่นบางสว น และอาจจะใชจายมาเพื่อปจจัยเสริมอีกบางสวน
(ปจ จัยเสริมในที่นี้เชน ทองเทีย่ ว ความบันเทงิ เปนตน) สาเหตทุ ีแ่ นวทางการดาํ รงชวี ิตอยางพอเพียง ไดถูก
กลาวถงึ อยางกวา งขวางในขณะนี้ เพราะสภาพการดํารงชีวติ ของสงั คมทุนนิยมในปจ จบุ นั ไดถ กู ปลกู ฝง สรา ง
หรือกระตุน ใหเกดิ การใชจายอยางเกินตัว ในเรื่องทไี่ มเ กย่ี วของหรอื เกนิ กวา ปจจยั ในการดาํ รงชีวิต เชน การ
บรโิ ภคเกินตวั ความบันเทิงหลากหลายรูปแบบ ความสวยความงาม การแตงตัวตามแฟช่ัน การพนันหรือ
เสี่ยงโชค เปนตน จนทาํ ใหไ มมีเงนิ เพยี งพอเพอื่ ตอบสนองความตอ งการเหลา นนั้ สง ผลใหเ กิดการกูหน้ียืมสนิ
เกดิ เปน วัฎจักรท่ีบคุ คลหนงึ่ ไมสามารถหลุดออกมาได ถาไมเ ปลยี่ นแนวทางในการดาํ รงชวี ติ

13 นักคิดระดับโลกเห็นดวยกับแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง และมีการนําเสนอบทความ
บทสัมภาษณเ ปนการย่นื ขอเสนอแนวคิดเศรษฐกจิ พอเพียงใหแกโ ลก เชน

ศ.ดร.วูลฟกัง ซัคส นักวิชาการดานส่ิงแวดลอมคนสําคัญของประเทศเยอรมนี สนใจการ
ประยกุ ตใ ชหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งใหเปนท่รี ูจกั ในเยอรมนี

ศ.ดร.อมาตยา เซน ศาสตราจารยชาวอินเดีย เจาของรางวัลโนเบลสาขาเศรษฐศาสตร ป 1998
มองวา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการใชส่ิงตาง ๆ ที่จําเปนตอการดํารงชีพ และใชโอกาสให
พอเพยี งกบั ชีวิตท่ีดี ซ่ึงไมไ ดห มายถงึ ความไมตอ งการ แตต องรจู กั ใชช ีวิตใหด พี อ อยา ใหค วามสาํ คัญกับเรื่อง
ของรายไดและความรํา่ รวยแตใ หมองทีค่ ุณคาของชีวติ มนษุ ย

นายจิกมี ทินเลย กษัตริยแ หงประเทศภฎู านใหท รรศนะวา หากประเทศไทยกําหนดเรื่องเศรษฐกจิ
พอเพยี งใหเ ปนวาระระดบั ชาติ และดําเนนิ ตามแนวทางนอ้ี ยา งจรงิ จัง “ผมวาประเทศไทย
สามารถสรางโลกใบใหมจากหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสรางชีวิตที่ยั่งยืน และสุดทายจะไมหยุด
เพียงแคใ นประเทศ แตจะเปนหลักการและแนวปฏบิ ตั ขิ องโลก ซึง่ หากทาํ ไดสาํ เรจ็ ไทยกค็ อื ผนู าํ ”

7

ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ไดรับการเชิดชูสูงสุดจากองคการสหประชาชาติ (UN) โดยนาย
โคฟ อันนัน ในฐานะเลขาธิการองคการสหประชาชาติ ไดทูลเกลาฯ ถวายรางวัล The Human
Development Lifetime Achievement Award แกพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เม่ือวันที่ 26
พฤษภาคม 2549 และไดมปี าฐกถาถึงปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งวา เปนปรชั ญาทม่ี ปี ระโยชนตอประเทศ
ไทยและนานาประเทศ และสามารถเร่มิ ไดจ ากการสรางภมู คิ ุมกันในตนเอง สหู มบู า น และสูเศรษฐกิจในวง
กวางขน้ึ ในท่ีสุด นาย Hakan Bjorkman รักษาการผูอาํ นวยการ UNDP ในประเทศไทยกลาวเชิดชูปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง และ UNDP นน้ั ตระหนักถึงวิสยั ทศั นและแนวคิดในการพัฒนาของพระบาทสมเด็จ
พระเจาอยูหัวฯ โดยท่ีองคการสหประชาชาติไดสนับสนุนใหประเทศตาง ๆ ท่ีเปนสมาชิก 166 ประเทศ
ยดึ เปน แนวทางสูการพฒั นา ประเทศแบบย่ังยืน

หลักการปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

พระราชดํารัสที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวทรงพระราชทานแกพสกนิกรชาวไทยในเร่ือง
เศรษฐกิจพอเพยี งนัน้ คอื การมงุ เนน ใหยดึ วิถชี วี ติ ไทย โดยหันกลบั มายึดเสน ทางสายกลาง (มชั ฌมิ าปฏิปทา)
ในการดําเนินชีวิตใหสามารถพึ่งตนเองได โดยใชหลักการพ่ึงตนเอง 5 ประการ คือ (สํานักงาน
คณะกรรมการพิเศษเพอื่ ประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาํ ร,ิ 2547:2-3)

1. ดานจิตใจ ทาํ ตนใหเ ปนที่พึง่ ของตนเอง มีจิตใจที่เขมแข็ง มีจิตสํานึกที่ดี สรางสรรคใหตนเอง
และชาติโดยรวม มีจิตใจเอ้ืออาทร ประนีประนอม ซื่อสัตยสุจริต เปนประโยชนสวนรวมเปนที่ตั้ง
ดังกระแสพระราชดํารัสในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เก่ียวกับการพัฒนาความวา “...บุคคลตองมี
รากฐานทางจิตใจที่ดี คือ ความหนกั แนน ม่ันคงในสจุ ริตธรรมและความมงุ มนั่ ทจี่ ะปฏบิ ตั หิ นา ท่ีใหจนสําเร็จ ทั้ง
ตองมีกุศโลบายหรือวธิ ีการอนั แยบยลในการปฏิบัติงาน ประกอบพรอมดวยจึงจะสัมฤทธิ์ผลท่ีแนนอนและ
บังเกดิ ประโยชนอนั ยง่ั ยืนแกตนเองและแผน ดนิ ...”

2. ดา นสงั คม แตละชมุ ชนตอ งชว ยเหลอื เกอื้ กูลกนั เชื่อมโยงกนั เปน เครอื ขา ยชุมชนท่แี ขง็ แรง เปน
อิสระ ดงั กระแสพระราชดาํ รัสความวา “...เพือ่ ใหง านรุดหนาไปพรอมเพรียงกัน ไมลดหล่ัน จึงขอใหทุกคน
พยายามทจ่ี ะทํางานในหนา ทอ่ี ยางเตม็ ที่ และใหมกี ารประชาสัมพันธกันใหดี เพ่ือใหงานทั้งหมดเปนงานท่ี
เกื้อหนุนสนบั สนนุ กนั ...”

3. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ ม ใหใ ชและจัดการอยางฉลาดพรอมท้ังการเพิ่มมูลคา
โดยใหยดึ หลักการของความยงั่ ยนื และเกิดประโยชนสงู สดุ ดงั กระแสพระราชดาํ รสั ความวา “...ถา รกั ษา
ส่ิงแวดลอมใหเหมาะสม นึกวาอยูไดอีกหลายรอยป ถึงเวลาน้ันลูกหลานของเรามาก็อาจหาวิธีแกปญหา
ตอไปเปน เรือ่ งของเขา ไมใชเรื่องของเรา แตเ รากท็ ําได ไดรักษาส่ิงแวดลอ มไวใ หพ อสมควร...”

8

4. ดา นเทคโนโลยี จากสภาพแวดลอ มท่ีเปลยี่ นแปลงรวดเรว็ เทคโนโลยีท่ีเขามาใหมท้ังดีและไมดี
จึงตองแยกแยะบนพื้นฐานของภูมิปญญาชาวบาน และเลือกใชเฉพาะท่ีสอดคลองกับความตองการของ
สภาพแวดลอม ภูมิประเทศ สังคมไทย และควรพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมิปญญาของเราเอง ดังกระแส
พระราชดํารสั ความวา “...การสงเสรมิ ทช่ี าวบานชาวชนบทขาดแคลน และความตอ งการ คอื ความรใู นดาน
เกษตรกรรมโดยใชเ ทคโนโลยีสมัยใหมเ ปนส่งิ ที่เหมาะสม...” “...การใชเทคโนโลยีอยางใหญโตเต็มรูปหรือ
เตม็ ขนาดในงานอาชีพหลกั ของประเทศยอ มจะมปี ญหา...”

5. ดานเศรษฐกิจ แตเดมิ นักพัฒนามักมงุ ท่ีจะเพมิ่ รายไดแ ละไมมีการมงุ ทีก่ ารลดรายจาย ในเวลา
เชนน้ีจะตองปรบั ทิศทางใหม คือ จะตอ งมงุ ลดรายจา ยกอนเปน สาํ คญั และยดึ หลกั พออยู พอกิน พอใช และ
สามารถอยูไดด ว ยตนเองในระดบั เบื้องตน ดังกระแสพระราชดํารสั ความวา “...การทตี่ องการใหทกุ คนพยายาม
ท่ีจะหาความรูและสรางตนเองใหมั่นคงน้ีเพ่ือตนเอง เพ่ือท่ีจะใหตัวเองมีความเปนอยูท่ีกาวหนา ท่ีมี
ความสุข พอมี พอกิน เปนข้ันหนึ่งและข้ันตอไป ก็คือใหมีเกียรติวายืนไดดวยตนเอง...” “...หากพวกเรา
รว มมอื รวมใจกนั ทําสักเศษหนงึ่ สวนส่ี ประเทศชาติของเราก็สามารถรอดพน จากวกิ ฤตไิ ด. ..”

ความสําคัญของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศและพัฒนาคน ดงั นี้
1. เศรษฐกจิ พอเพียงเปน ปรชั ญาท่มี ีความสําคัญย่งิ สาํ หรบั การขจัดความยากจน และการลดความ
เส่ยี งทางเศรษฐกิจ
2. ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งเปนพ้ืนฐานของการสรางพลังอํานาจของชุมชนและการพัฒนา
ศักยภาพชมุ ชนใหเขม แข็งเพอื่ เปน รากฐานของการพัฒนาประเทศ
3. เศรษฐกิจพอเพียงชวยยกระดับความรับผิดชอบตอสังคมของบริษัทดวยการสรางขอปฏิบัติ
ในการทําธุรกิจทเี่ นนผลกาํ ไรระยะยาวในบรบิ ททีม่ ีการแขง ขัน
4. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงมีความสําคัญเปนอยางยิ่งตอการปรับปรุงมาตรฐานของ
ธรรมาภิบาลในการบรหิ ารงานภาครฐั
5. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใชเปนแนวทางในการกําหนดนโยบายของชาติ
เพื่อสรางภูมิคุมกันตอสถานการณที่เขามากระทบโดยฉับพลัน เพื่อปรับปรุงนโยบายตางๆ ใหเหมาะสม
ย่งิ ขึน้ และเพื่อวางแผนยุทธศาสตรใ นการสงเสริมการเตบิ โตทเ่ี สมอภาคและยง่ั ยืน
6. ในการปลูกฝงจิตสํานึกพอเพียงจําเปนตองมีการปรับเปลี่ยน คานิยม และความคิดของคน
เพ่อื ใหเ ออ้ื ตอการพัฒนาคน
7. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยมีความพออยู พอกิน พอใช พ่ึงตนเองได และมี
ความสขุ ตามอตั ภาพ

9

8. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงชวยใหมนุษยอยูรวมกับผูอ่ืนตลอดจนเสรีภาพในสังคมไดอยาง
สนั ตสิ ขุ ไมเ บียดเบียน ไมเอารดั เอาเปรียบ แบงปน เอ้อื เฟอ เผือ่ แผ มจี ติ เมตตาและจติ สาธารณะ

9. ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งชว ยใหม นษุ ยอ ยูร ว มกับธรรมชาติและส่ิงแวดลอมไดอยางย่ังยืน
โดยไมทําลาย เห็นคุณคา และมีจิตสํานึกในการอนรุ ักษทรัพยากรธรรมชาตแิ ละสิ่งแวดลอ ม

10. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงชวยใหมนุษยอยูอยางมีรากเหงาทางวัฒนธรรม ประเพณี
ประวัตศิ าสตร ภมู ิปญญา คา นยิ ม และเอกลกั ษณข องแตละบคุ คล/สงั คม

เรื่องที่ 2 การแสวงหาความรู

การแสวงหาความรูของมนุษยเ กดิ จากความตอ งการของคนที่ตองการพัฒนาชีวิตความเปนอยูของ
ตนเองใหดีข้ึน จึงเปนแรงกระตุนใหมีความอยากรู อยากเห็น อยากเขาใจในปรากฎการณธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอม เพอ่ื ใหรูและเขาใจถึงความจริงที่ควรเชื่อและยอมรับในความเปนจริงของปรากฎการณตางๆ
เหลา นน้ั

วธิ กี ารแสวงหาความรขู องมนษุ ย มดี งั นี้
1. การแสวงหาความรูจากประสบการณ (Experience) เปนวิธีการแสวงหาความรูของแตละ
บคุ คลจากการคนพบดวยตนเองหรือเกิดขึ้นโดยบังเอิญ (By Chance) เชน การคนพบความรูของชารลส
กดู เยียร (Charls Goodyear) เก่ยี วกบั ยางพาราดิบเม่ือถูกความรอนจะชวยใหยางนั้นแข็งตัว และมีความ
ทนทานเพ่ิมข้ึน ซ่ึงนําไปสูการประดิษฐยางรถยนตท่ีแพรหลายในปจจุบันนี้ หรือเกิดจากการลองผิด
ลองถกู (By Trial and Error) เชน ผูเดนิ ทางไปเทย่ี วในปาถูกแมลงกัดตอยเกิดเปนผ่ืนคัน ไมมียาทาจึงนํา
ใบไมชนดิ ใดชนดิ หน่งึ มาทาแลวหาย จึงเกิดการเรียนรูว าใบไมชนิดนัน้ สามารถนาํ มาใชแ กผ ่นื คนั ได
2. การแสวงหาความรูจากผูรู (Authority) เปนการแสวงหาความรูจากคําบอกเลาของผูรู
ผูเชี่ยวชาญ หรือผูมีอํานาจหนาท่ีเปนท่ียอมรับท่ัวไป เชน นักปราชญ ผูนํา นักบวช หรือการเรียนรูจาก
ประเพณี วัฒนธรรมท่ีมีผูรู หรือผูท่ีมีความเชี่ยวชาญในเรื่องนั้นๆ เปนผูบอกหรือถายทอดความรูโดยการ
เขยี นหนังสอื ตาํ รา หรือบอกโดยผานส่ืออน่ื ๆ
3. การแสวงหาความรูโดยอาศัยเหตุผลจากการอนุมาน (Deductive Reasoning) เปนการ
แสวงหาความรูจากความสมั พนั ธเชงิ เหตุผลระหวางขอ เทจ็ จริงใหญและขอเท็จจริงยอยแลวนํามาสรุปเปน
ความรู

ขอเท็จจรงิ ใหญ : เปน ขอ ตกลงทีก่ าํ หนดขึ้นเปน ขอ เทจ็ จรงิ ในวงกวาง
ขอเทจ็ จริงยอ ย : เปน เหตุเฉพาะกรณีใดๆ เปน ขอเทจ็ จรงิ ในวงแคบทมี่ คี วามสัมพันธกับ

ขอเท็จจรงิ ใหญ
ขอสรุป : เปน ขอสรุปจากความสัมพนั ธข องขอ เท็จจริงใหญแ ละขอเท็จจรงิ ยอ ย

ซ่งึ กลา ววาการอนุมานคือการสรุปสว นใหญไ ปหาสวนยอย

10

ตัวอยา งเหตุผลจากการอนมุ าน
ขอ เท็จจริงใหญ : ลูกชายของลุงกาํ นันทกุ คนเรียนเกง
ขอเทจ็ จริงยอย : พงไพรเปนลูกชายคนทสี่ องของลงุ กาํ นัน
ขอ สรุป : พงไพรเปน คนทเ่ี รียนเกง

4. การแสวงหาความรูโดยอาศยั เหตุผลจากการอุปมาน (Inductive Reasoning) เปนวิธีแสวงหา
ความรทู ี่ยอ นกลับกบั วิธอี นุมาน เปน การคน หาความรจู ากขอเท็จจรงิ ยอ ยๆ โดยพิจารณาจากส่ิงทเี่ หมอื นกนั
ตางกนั สัมพันธก ัน แลว สรุปรวมเปนขอ เทจ็ จรงิ ใหญ

ตัวอยางเหตุผลจากการอุปมาน
ขอ เทจ็ จริงยอย : คนท่ีเปน โรคมะเร็งระยะสดุ ทา ย แตล ะคนไมสามารถรักษาใหหายได และ
จะตองตายในทส่ี ดุ
ดงั นน้ั : กลุมคนทเี่ ปนโรงมะเรง็ ระยะสดุ ทายตอ งตายทุกคน

5. วิธีการทางวิทยาศาสตร (Scientific Approach) เปนวิธีแสวงหาความรูของมนุษยท่ีชารลส ดาร
วิน (Charles Darwin) และจอหน ดวิ อี้ (John Dewey)ไดพัฒนาและนาํ แนวคิดเชิงยอนกลับ (Reflective
Thinking) และแนวคิดการแกปญหา (Problem Solving) มาเปน พื้นฐานในการคดิ เปนกระบวนการศึกษา
ขอเท็จจริงและความรูตางๆ โดยผานการสังเกต การดําเนินการตามแนวคิดทฤษฎีตางๆ การทดสอบ
การคนพบ การทบทวน และการทาํ ซํา้ ผลติ ความรูใหมจากกระบวนการท่ีมีความสัมพนั ธก นั และเก่ียวของ
เปนวัฏจักร โดยวิธีการทางวิทยาศาสตร คือ การพิจารณาใหใกลความจริงมากท่ีสุด โดยอาศัยการศึกษา
ขอเท็จจรงิ ทฤษฎแี ละการทดสอบเครื่องมอื ดังนนั้ วิธกี ารวิทยาศาสตร ถือวา เปนวิธีการที่มีหลักเกณฑและ
เหตุผลที่สามารถอธิบายไดมีลักษณะการศึกษาที่เปนระบบ ตรงไปตรงมาปราศจากความลําเอียงและ
สามารถพิสจู นได ประกอบดว ย 5 ขั้นตอนดว ยกัน ซ่ึงเรยี กวาขั้นตอนวิธีการทางวทิ ยาศาสตร ดังนี้

1. ขัน้ ปญหา (Problem) เปนการระบุและกําหนดขอบเขตของปญหาของสิ่งท่ีตองการศึกษา
ใหชัดเจน

2. ขั้นต้ังสมมติฐาน (Hypotheses) เปนการคาดเดาหรือคาดคะเนคําตอบของปญหาไว
ลว งหนาอยางมเี หตผุ ล

3. ขั้นรวบรวมขอมูล (Collecting data) เปนการรวบรวมขอมูลและขอเท็จจริงตางๆ ท่ี
เกี่ยวกับประเด็นปญ หาท่กี าํ หนด

4. ข้ันวิเคราะหขอมูล (Analysis) เปนการจัดกระทํากับขอมูลท่ีรวบรวม มาได โดยวิธีการ
ตรรกศาสตรห รอื วิธีการทางสถติ ิ เพือ่ ตรวจสอบสมตฐิ านท่ีตง้ั ไว

5. ข้นั สรปุ ผล (Conclusion) เปนการสรปุ จากการวิเคราะหขอมูลวาขอเท็จจริงของปญหาท่ี
แทจริงนั้นคืออะไร

11

ทกั ษะการแสวงหาความรดู วยตนเอง

การแสวงหาความรู เปนทักษะท่ตี อ งอาศัยการเรียนรแู ละวิธีการฝกฝนจนเกิดความชํานาญทําใหเกิด
แนวความคิดความเขาใจที่ถูกตองและกวางขวางย่ิงขึ้น เนื่องจากผูท่ีแสวงหาความรูจะเกิดทักษะใน
การคนควาส่ิงที่ตองการและสนใจอยากรูจากแหลงเรียนรูตางๆ จะทําใหทราบขอเท็จจริง และสามารถ
เปรียบเทียบขอ เทจ็ จริงท่ีไดม าวาควรเช่อื ไดห รอื ไม

ทักษะในการสรางปญญาเพื่อนําไปสูการแสวงหาความรูดวยตนเองมี 10 ขั้นตอน ดังน้ี (พัฒนา
ทักษะการแสวงหาความรูใหก ับตนเอง, 2554 : ออนไลน)

1. ทกั ษะการสงั เกต คือ การสังเกตสิ่งทเี่ ห็น สิง่ แวดลอ ม หรือสิ่งที่ตอ งการจะศกึ ษา โดยสงั เกต
เก่ยี วกับแหลงท่ีมา ความเหมือน ความแตกตา ง สาเหตุของความแตกตา ง ประโยชน และผลกระทบ วธิ ี
ฝก การสงั เกต คอื การฝก สมาธิ เพอ่ื ใหม ีสติ และทําใหเ กิดปญ ญา มโี ลกทรรศน มีวิธคี ิด

2. ทกั ษะการบนั ทกึ คอื การบันทกึ ส่งิ ที่ตองจาํ หรอื ตอ งศึกษา มีหลายวิธี ไดแ ก การทําสรปุ ยอ
การเขยี นเคา โครงเรื่อง การขดี เสนใต การเขียนแผนภมู ิ การทาํ เปนแผนภาพ หรอื ทําเปน ตาราง เปน ตน
วิธฝี ก การบนั ทึก คอื การบนั ทึกทกุ ครงั้ ท่ีมกี ารสังเกต มีการฟง หรือมกี ารอา น เปนการพัฒนาปญ ญา

3.ทกั ษะการนําเสนอ คือ การทาํ ความเขาใจในเร่ืองทจ่ี ะนําเสนอใหผูอ่นื รับรไู ด โดยจดจําในส่งิ ท่ี
จะนําเสนอออกมาอยางเปนระบบ ซงึ่ สามารถทําไดหลายรปู แบบ เชน การทํารายงานเปน รปู เลมการ
รายงานปากเปลา การรายงานดว ยเทคโนโลยี เปน ตน วิธีฝก การนําเสนอ คือ การฝกตามหลักการของ
การนาํ เสนอในรูปแบบตาง ๆ ดงั กลา วอยางสม่ําเสมอ จนสามารถนาํ เสนอไดดี ซ่งึ เปน การพัฒนาปญ ญา

4. ทักษะการฟง คอื การจับประเด็นสําคัญของผพู ูด สามารถตง้ั คาํ ถามเรอ่ื งทฟ่ี ง ได รู
จดุ ประสงคใ นการฟง แสวงหาความรูจ ะตองคนหาเรอื่ งสาํ คญั ในการฟง ใหไ ด วิธฝี ก การฟง คอื การทาํ
เคา โครงเรือ่ งที่ฟง จดบันทกึ ความคดิ หลัก หรอื ถอ ยคําสําคญั ลงในกระดาษบันทกึ ทเ่ี ตรยี มไว อาจตงั้
คําถามในใจเชน ใคร อะไร ท่ไี หน เม่อื ไร เพราะเหตใุ ด อยา งไร เพราะจะทาํ ใหก ารฟง มีความหมาย
และมปี ระสทิ ธิภาพมากข้นึ

5. ทักษะการถาม คอื การถามเรอื่ งสาํ คญั ๆ การตัง้ คาํ ถามส้ัน ๆ เพื่อนาํ คาํ ตอบมา เช่ือมตอให
สมั พันธกบั สิ่งท่ีเรารูแลว มาเปน หลักฐานสาํ หรบั ประเด็นท่กี ลา วถงึ สิ่งทีท่ ําใหเราฟง ไดอ ยา งมี
ประสิทธิภาพ คือ การถามเกี่ยวกับตวั เราเอง การฝก ถาม-ตอบ เปนการฝกการใชเหตผุ ลวเิ คราะห
สังเคราะห ทําใหเ ขา ใจในเรอ่ื งน้นั ๆ อยา งชดั เจน ถา เราฟงโดยไมถาม-ตอบ ก็จะเขา ใจ ในเรอ่ื งนัน้ ๆ
ไมช ัดเจน

6. ทักษะการตั้งสมมตฐิ านและตง้ั คําถาม คือ การตง้ั สมมติฐาน และต้งั คําถาม ส่ิงทเ่ี รียนรูไป
แลว ไดว า คอื อะไร มีประโยชนอ ยางไร ทาํ อยา งไรจงึ จะสาํ เร็จได การฝก ต้ังคําถาม ท่มี คี ณุ คา และมี
ความสาํ คัญ ทาํ ใหอ ยากไดค ําตอบ

7. ทักษะการคนหาคําตอบจากแหลงการเรียนรูตา ง ๆ เชน จากหนังสอื อนิ เทอรเน็ต คุยกับ
ผูสูงอายุ แลว แตธรรมชาตขิ องคําถาม การคน หาคําตอบตอคําถามท่สี าํ คญั จะสนุก และทาํ ใหไ ดค วามรู
มาก บางคาํ ถามหาคําตอบทกุ วิถที างแลว ไมพ บ ตอ งหาคําตอบตอไปดว ยการวิจัย

12

8. ทกั ษะการทาํ วิจยั สรางความรู การวิจยั เพ่ือหาคาํ ตอบเปนสว นหนงึ่ ของ กระบวนการเรยี นรู
ทกุ ระดบั การวจิ ยั จะทาํ ใหค นพบความรใู หม ทาํ ใหเกิดความภมู ิใจ สนุก และมีประโยชนม าก

9. ทักษะการเชอ่ื มโยงบรู ณาการ คอื การเช่ือมโยงเรอื่ งทเ่ี รยี นรมู าใหเหน็ ภาพรวม
ทัง้ หมด มองเหน็ ความงดงาม มองใหเห็นตัวเอง ไมค วรใหความรูนั้นแยกออกเปน สวน ๆ

10. ทักษะการเขยี นเรยี บเรียง คือ การเรยี บเรียงความคดิ ใหป ระณตี ข้นึ โดยการคน ควา
หาหลักฐานอา งองิ ความรใู หถถี่ ว น แมน ยาํ ขึน้ การเรียบเรยี งทางวชิ าการจึงเปน การพัฒนาปญญาอยา ง
สําคญั และเปน ประโยชนใ นการเรยี นรูข องผูอ่นื ในวงกวา งออกไป

กลาวโดยสรปุ การแสวงหาความรูดวยตนเองจะเกิดขน้ึ ได ผแู สวงหาความรจู ะตอ งฝก ฝนทักษะ
ในการสงั เกต การบันทกึ การนําเสนอ การฟง การถาม การตงั้ สมมตฐิ านและตง้ั คําถาม การคนหาคําตอบ
จากแหลง การเรียนรูตา งๆ การทาํ วจิ ยั สรางความรู การเชือ่ มโยงบรู ณาการ และการเขยี นเรยี บเรยี ง

กิจกรรมที

. ใหผ้ เู้ รียนแบ่งกลุ่มๆละ - คน สรุปความเขา้ ใจเรืองความพอเพียงตามหลกั แนวคิดของปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี งแลว้ นาํ เสนอในการพบกลมุ่ และเสนออาจารยท์ ีปรึกษา

. เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ใหผ้ เู้ รียนอธิบายพอสงั เขป
. ใหผ้ เู้ รียนอธิบายหลกั การของปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
. ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมีความสาํ คญั ต่อการพฒั นาประเทศและพฒั นาคนอยา่ งไร จงอธิบาย
. มนุษยส์ ามารถแสวงหาความรู้ไดอ้ ยา่ งไรบา้ ง จงอธิบาย

13

บทที่ 2
การประกอบอาชีพอยา งพอเพยี ง

สาระสาํ คญั

การประกอบอาชีพอยา งพอเพยี งตอ งอาศัยหลักความพอประมาณ ความมเี หตผุ ล ความมภี มู คิ ุม กนั
ในตวั ที่ดี ในหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง มาพิจารณาจัดการทรัพยากรที่มีอยูของตัวเอง ครอบครัว
และชุมชนไดอยางถูกตอง เหมาะสมกับอาชีพที่ตนเองตัดสินใจเลือกทําแลวใชเง่ือนไขความรู เงื่อนไข
คุณธรรมเปนเคร่ืองมือกําหนดแนวทางปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพใชดําเนินงานการประกอบอาชีพอยาง
พอเพียง

ผลการเรียนท่คี าดหวงั

บอกแนวทาง ในการนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปประยกุ ตใชใ นการประกอบอาชพี

ขอบขา ยเนอ้ื หา

เรือ่ งที่ 1 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งกบั การจดั การทรัพยากรทมี่ อี ยูของตนเอง
ครอบครัว ชมุ ชน

เร่ืองท่ี 2 หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การประกอบอาชีพ

14

เรือ่ งท่ี 1 หลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงกบั การจดั การทรัพยากรท่ีมอี ยขู องตนเอง
ครอบครวั ชุมชน

เศรษฐกิจพอเพยี งเปน เศรษฐกจิ ที่พอเพียงกับตนเองทาํ ใหอ ยไู ดไ มตอ งเดอื ดรอน มีส่งิ จําเปนที่ทาํ ได
โดยตัวเองไมต อ งแขงขนั กบั ใคร และมเี หลือเพอื่ ชวยเหลอื ผทู ่ีไมมี อันนําไปสูการแลกเปล่ียนในชุมชน และ
ขยายไปจนสามารถที่จะเปน สินคาสง ออก เศรษฐกิจพอเพียงเปนเศรษฐกิจระบบเปดที่เร่ิมจากตนเองและ
ความรวมมือ วิธีการเชนนี้จะดึงศกั ยภาพของประชากรออกมาสรา งความเขมแข็งของครอบครัว ซึ่งมีความ
ผกู พันกับ “จิตวิญญาณ” คอื “คณุ คา” มากกวา “มูลคา ”

ในระบบเศรษฐกิจพอเพียงจะจัดลําดับความสําคัญของ “คุณคา” มากกวา “มูลคา” มูลคาน้ัน
ขาดจิตวิญญาณ เพราะเปนเศรษฐกิจภาคการเงินท่ีเนนท่ีจะตอบสนองตอความตองการท่ีไมจํากัดซึ่งไร
ขอบเขต ถาไมสามารถควบคุมไดการใชทรัพยากรอยางทําลายลางจะรวดเร็วข้ึนและปญหาจะตามมา
เปนการบรโิ ภคท่กี อ ใหเ กิดความทกุ ขหรือพาไปหาความทุกข และจะไมมีโอกาสบรรลุวัตถุประสงคในการ
บริโภค ที่จะกอใหเกิดความพอใจและความสุข (Maximization of Satisfaction) ผูบริโภคตองใชหลัก
ขาดทุนคือกําไร (Our loss is our gain) อยางน้ีจะควบคุมความตองการที่ไมจํากัดได และสามารถจะลด
ความตอ งการลงมาได กอใหเกิดความพอใจและความสุขเทากับไดตระหนักในเรื่อง “คุณคา” จะชวยลด
คา ใชจ า ยลงได ไมตองไปหาวธิ ที ําลายทรัพยากรเพ่ือใหเกิดรายไดมาจัดสรรสิ่งท่ีเปน “ความอยากที่ไมมีท่ี
สิน้ สุด” และขจัดความสําคัญของ “เงิน” ในรูปรายไดท่ีเปนตัวกําหนดการบริโภคลงไดระดับหนึ่ง แลวยัง
เปน ตัวแปรทไ่ี ปลดภาระของกลไกของตลาดและการพ่งึ พงิ กลไกของตลาด ซง่ึ บุคคลโดยท่ัวไปไมส ามารถจะ
ควบคุมได รวมท้ังไดมีสวนในการปองกันการบริโภคเลียนแบบ (Demonstration Effects)
จะไมทําใหเกิดการสูญเสีย จะทําใหไมเกิดการบริโภคเกิน (Over Consumption) ซ่ึงกอใหเกิดสภาพ
เศรษฐกจิ ดี สงั คมไมม ปี ญ หา การพฒั นายั่งยนื

ประเทศไทยอุดมไปดวยทรัพยากรและยงั มีพอสําหรับประชาชนไทยถามีการจัดสรรที่ดี โดยยึด "
คุณคา " มากกวา " มลู คา " ยึดความสัมพนั ธของ “บุคคล” กับ “ระบบ” และปรับความตองการที่ไมจํากัด
ลงมาใหไ ดต ามหลักขาดทุนเพอื่ กําไร และอาศยั ความรวมมือเพือ่ ใหเ กดิ ครอบครวั ทเ่ี ขมแขง็ อันเปน รากฐานที่
สําคญั ของระบบสงั คม

ในการผลิตนัน้ จะตองทําดวยความรอบคอบไมเห็นแกได จะตอ งคดิ ถึงปจจัยที่มีและประโยชนของ
ผเู กีย่ วขอ ง มฉิ ะน้ันจะเกดิ ปญ หาอยางเชนบางคนมีโอกาสทาํ โครงการแตไ มไดคํานึงวาปจจัยตาง ๆ ไมครบ
ปจจยั หนงึ่ คอื ขนาดของโรงงาน หรอื เครอื่ งจกั รท่ีสามารถทจี่ ะปฏิบัตไิ ด แตขอสําคัญท่ีสุด คือวัตถุดิบ ถาไม
สามารถที่จะใหคา ตอบแทนวตั ถุดบิ แกเกษตรกรทีเ่ หมาะสม เกษตรกรก็จะไมผลติ ยง่ิ ถาใชว ตั ถดุ ิบสาํ หรับใช
ในโรงงานนนั้ เปนวตั ถุดบิ ทจ่ี ะตอ งนํามาจากระยะไกล หรือนําเขา ก็จะยง่ิ ยาก เพราะวา
วตั ถดุ ิบท่นี าํ เขาน้นั ราคาย่ิงแพง บางปว ัตถดุ ิบมีบรบิ รู ณ ราคาอาจจะตํ่าลงมา แตเวลาจะขายสิ่งของที่ผลิต
จากโรงงานก็ขายยากเหมือนกัน เพราะมีมากจึงทําใหราคาตก หรือกรณีใชเทคโนโลยีทางการเกษตร
เกษตรกรรดู ีวาเทคโนโลยที าํ ใหต น ทนุ เพม่ิ ขึ้น และผลผลติ ทเ่ี พมิ่ นั้นจะลนตลาด ขายไดในราคาที่ลดลง ทาํ ให
ขาดทุน ตอ งเปนหนีส้ ิน

15

การนาํ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งไปใชในการจดั สรรทรพั ยากรทมี่ ีอยขู องตนเอง ครอบครัว
และชุมชนจะชว ยใหดํารงชีวิตอยา งไมเดอื ดรอ น และเกดิ ความย่ังยืน โดยคํานงึ ถึง

1. รจู กั ใชแ ละจดั การทรัพยากรที่มีอยูอยางชาญฉลาดและรอบคอบ โดยเร่ิมตนผลิตหรือบริโภค
ภายใตข อจํากัดของรายไดห รือทรัพยากรทมี่ ีอยไู ปกอน คือใชห ลักพง่ึ พาตนเอง โดยมงุ เนน การผลติ พืชผลให
เพยี งพอกับความตอ งการบรโิ ภคในครัวเรือนเปนอันดับแรก เม่ือเหลือจากการบริโภคแลวจึงคํานึงถึงการ
ผลิต เพ่ือการคาเปนอันดับรองลงมา รูจักประมาณตนโดยใชทรัพยากรอยางประหยัด ไมฟุมเฟอย
ในการลงทนุ ประกอบอาชีพใหเปนไปตามกําลังทรัพยและศักยภาพของตนเอง เชน

1.1 ปลกู ผกั สวนครัวลดคา ใชจา ย
1.2 นํานํ้าที่ผา นการใชแ ลวในครวั เรือนมารดพืชผกั สวนครวั
1.3 นําพืชผักสวนครัวที่เพาะปลูกไดมาบริโภค แบงปนเพ่ือนบาน บางสวนนําไปขายที่ตลาด
สวนท่เี หลือนาํ ไปเล้ยี งหมู
1.4 นําเงินจากการขายพืชผักสวนครัวและหมูไปซื้อสินคาและบริการท่ีสมาชิกในครัวเรือน
ตอ งการและมีความจําเปน ในการอุปโภคบรโิ ภค
1.5 เกบ็ ออมเงินสว นที่เหลือจากการบริโภคไวใชจ ายในอนาคต
1.6 นําเงินสว นหนึง่ มาลงทุนซอ้ื เมลด็ พืช เพื่อเพาะปลูกตอไป
2. เลือกใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดความยั่งยืนสูงสุด โดยการนําทรัพยากรหรือวัสดุตางๆ ท่ี
สามารถหาไดงายในชุมชนมาใชประโยชน ใชทรัพยากรท่ีมีอยูในชุมชนอยางคุมคาดวยการหมุนเวียนทุน
ธรรมชาติในพน้ื ท่ี เพ่ือเพ่ิมขดี ความสามารถในการควบคมุ การผลติ ไดดวยตนเอง ชว ยลดภาระการเส่ียงดาน
ราคาจากการไมสามารถควบคมุ ระบบตลาด ไดอยางมีประสิทธิภาพ และใชทรัพยากร โดยคํานึงท่ีไมเปน
ภยั กับส่งิ แวดลอม เชน
2.1 การทําไรน าสวนผสมและการเกษตรผสมผสานเพอ่ื ใหมกี ารหมุนเวียน มีสินคาหลากหลาย
ลดภาวะเสีย่ งดานราคา
2.2 การจางแรงงานภายในชมุ ชน เพอื่ สงเสริมใหต นเอง ครอบครัว และชุมชนมรี ายได
2.3 การทําปุยหมกั ปยุ คอกและใชวัสดุเหลือใชเปนปจจัยการผลิต (ปุย) เพื่อลดคาใชจายและ
บํารุงดิน
2.4 การเพาะเห็ดฟางจากวัสดุเหลอื ใชใ นไรนา
2.5 การปลกู ไมผลสวนหลงั บาน และไมใ ชสอยในครัวเรอื น
2.6 การปลูกพชื สมนุ ไพร ชว ยสงเสริมสขุ ภาพอนามยั
2.7 การเลีย้ งปลาในรองสวน ในนาขา วและแหลง นา้ํ เพื่อเปน อาหารโปรตีนและรายไดเ สรมิ
2.8 การเลีย้ งไกพื้นเมอื ง และไกไ ข ประมาณ 10 – 15 ตวั ตอครัวเรือนเพื่อเปนอาหารในครัวเรือน
โดยใชเ ศษอาหาร ราํ และปลายขา วจากผลผลติ การทํานา การเลยี้ งสตั วจ ากการปลกู พืชไร เปนตน
2.9 การทํากาซชวี ภาพจากมลู สตั ว

16

เร่อื งที่ 2 หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงกบั การประกอบอาชพี

จากพระราชดํารสั : เศรษฐกจิ พอเพียง มไิ ดจาํ กดั เฉพาะของเกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทาน้ัน

แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ท้ังท่ีอยูในเมืองและอยูในชนบท เชน ผูท่ีไดเปนเจาของโรงงาน

อตุ สาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกจิ พอเพียง ถาจะตองขยายกจิ การเพราะความเจรญิ เตบิ โตจากเน้ือของ

งาน โดยอาศัยการขยายตัวอยางคอ ยเปน คอ ยไป หรอื หากจะกยู ืมกก็ ระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุน

จนเกินตวั จนไมเ หลอื ทีม่ ั่นใหย นื อยูได เม่ือภาวะของเงินผันผวน ประชาชนก็จะตองไมใชจายฟุมเฟอยเกินตัว

และ (จากการศึกษารายงานการวิจัยศึกษาการประกอบอาชีพตามหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงของชุมชน

บานโงกนํ้า) นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในกระบวนการประกอบอาชีพของชุมชนบาน

โงกนํา้ ตําบลนาขยาด อาํ เภอควนขนุน จงั หวัดพัทลุง ไดรับการคัดเลือกใหเปนหมูบานเศรษฐกิจชุมชน

พ่ึงตนเอง ของจังหวัดพัทลุง ในป 2544 และเปนหมูบานตนแบบในการสงเสริมเศรษฐกิจพอเพียงทั้งใน

ระดับครัวเรือน กลุมองคกร และระดับหมูบาน ไดยึดหลักทางสายกลาง อันไดแก 3 หวงยึด

เหนยี่ ว และ2 หว งเงอื่ นไขการปฏบิ ัติ โดยเสนอผลการวคิ ราะหใ นแตล ะดานดงั น้ี

3 หวงยดึ เหน่ียว

1. ดา นความพอประมาณ
ชุมชนรูจักใชทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยูอยางพอเพียง เหมาะสมแบบคอยเปนคอยไป

ใชเทคโนโลยเี ทา ทจ่ี ําเปน มรี ายไดเสริมจากการปลกู ผัก เลีย้ งสุกร เลี้ยงโค เลย้ี งปลาดุก ไวจ ุนเจือครอบครัว
อีกทางหนงึ่ สภาพเศรษฐกิจของครอบครวั เหมาะสมตามอตั ภาพของตน

2. ดานความมีเหตผุ ล
ใชท รพั ยากรทกุ ชนดิ อยา งประหยัดและมีประสิทธิภาพสูงสุด เนน การใชว ัตถุดิบภายในทองถิ่น

และตอบสนองตลาดในทอ งถ่ิน เนน การจางงานเปน หลัก โดยไมน าํ เทคโนโลยมี าทดแทนแรงงาน มขี นาดการ
ผลติ ทส่ี อดคลองกับความสามารถในการบรหิ ารจัดการ เชน ใชพืน้ ทีท่ างการเกษตรทีว่ า งอยอู ยา งคมุ คา โดย
การปลูกพชื ผักสวนครวั ขางบา น พื้นทส่ี วนขางบา น ตามสายรัว้ บาน บางครอบครัว ก็ปลูกพืชผักและผลไม
ครบวงจรเพ่ือลดคา ใชจาย บางครอบครัวก็เล้ียงโค เลี้ยงสุกร เล้ียงปลาดุก กลุมอาชีพทําขนมเพื่อเพิ่ม
รายไดใหแกครัวเรือนจากอาชีพเสริม “ชาวบานโงกนํ้าสวนใหญประกอบอาชีพอยูในชุมชน
ไมคอ ยไปทํางานนอกหมูบ า นและไมค อยมีคนนอกมาคา ขายหรือประกอบอาชพี ในหมูบา น

3. ดา นความมภี มู ิคุม กันในตวั ท่ีดี
เนนการกระจายความเสี่ยงจากการมีผลผลิตหลากหลาย ไมกอหน้ีจนเกินความสามารถใน

ความบริหารจัดการ มีการเปดศูนยปราชญชาวบานขึ้นที่กลุมออมทรัพยบานโงกน้ํา ถายทอดความรูและ
ประสบการณใ หกบั คนในชมุ ชน และกลมุ อาชีพตางๆ ท้ังที่เปนทางการและไมเ ปนทางการอยางตอเน่อื ง มี
การทํากลุมปุยชีวภาพอัดเม็ด ซ่ึงทําใหลดคาใชจายในการซ้ือปุยเคมีไดคอนขางมาก การรวมกลุมทํา
ปลาดกุ ราทาํ ใหเพม่ิ มลู คาของปลาดุก และถนอมอาหารเก็บไวร บั ประทานไดนานขึ้น นอกจากชวยในดาน การ

17

ประกอบอาชพี หลักแลว ยงั มีกลมุ ทาํ สบเู หลว ยาสระผม ซง่ึ ก็ใหก ารสนับสนุน และมีสว นรวมอยูเสมอ ในสวน
ของขอ เสนอแนะนัน้ ยังบอกวา อยากใหห นวยงานทางราชการเขามาสงเสริม และใหความรูกับกลุมตางๆ
อย างสมํ่าเสมอ และต อเนื่อง และอยากใหมีกลุมอาชีพเสริมนี้ใหความรูด านอาชีพบางอย าง
เชน การซอมรถ มอเตอรไซค การเย็บผา การเชื่อมโลหะ ชางตัดผม เปนตน เพราะหลายคนอยากให
หนวยงานทางราชการเขามาอบรมใหบาง เพ่ือใหสามารถซอมแซมของตนเองไดและประกอบอาชีพเปน
ธรุ กิจ หรือกลมุ ของตนเอง เพ่อื ใหม รี ายไดเ สริมของครอบครัวดวย

2 หว งเงอื่ นไขการปฏิบตั ิ

1. เงื่อนไขความรู
ในการประกอบอาชีพของคนในชุมชนบานโงกน้ํา มีความรอบคอบ มีความรู และมีความ

ระมัดระวัง มีการทําแผนแมบท การแบงงานความรับผิดชอบในแตละกลุม รูจักการอนุรักษทั้ง
ส่ิงแวดลอมและประเพณี รูจักการฟนฟูสิ่งที่มีคุณคาท่ีหายไปแลว ใหกลับมาเปนประโยชนอีกคร้ังหน่ึง
ตลอดจนมีการประยุกตภูมิปญญาของการประกอบอาชีพ แบบดั้งเดิม นํามาบูรณาการกับเทคนิคและ
วธิ ีการของการประกอบอาชพี ในสมัยปจจุบัน แตท้ังน้ีการสงเสริมการใหความรูก็ตองทําอยางเปนระบบ
และตอเน่อื ง ตลอดจนใหเกิดความท่ัวถงึ เพือ่ ใหบรรลุเปาหมายสวนบุคคลและของแตละกลุมอาชีพตางๆ
ตลอดจนใหส อดคลองกบั กระแสโลกท่ีมกี ารเปลยี่ นแปลง และความตองการของผรู ับสนิ คาและผูรับบริการ
ใหมากข้ึน ทายทสี่ ุดคือ การสง เสริมใหเยาวชนคนรุนใหมไดรับการศึกษาสูงสุดเทาที่จะทําได เพ่ือใหเขา
เหลานั้นกลับมาพัฒนาบ านเกิดภายใต ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หัวหน าครอบครัว
สวนใหญไดอธิบายใหทราบวา การประกอบอาชีพซึ่งสวนใหญเปนอาชีพเกษตรกรรมน้ัน มีการถายทอด
ความรจู ากคนรุน ปูร ุน พอ รุนแม มายังรุนลูก และหลานไปตลอด สวนใหญแ ลวเปน การใหค วามรจู ากการได
ลงมอื ปฏบิ ัติรวมกัน เชน เมือ่ ไปปลกู ยางก็จะพาลกู หลานไปดว ย ในขณะทีไ่ ปชวยเปน การใหเขาไดม ีสว นรวม
โดยการสอน แนะนํา ใหลูกหลานไดเห็น การเลี้ยงสุกรก็เชนกัน และอื่นๆ ก็เปนลักษณะน้ี ถามมาใหทาง
ราชการนําความรูมาใหก็นานๆ มาครั้ง แตก็ตองเปนหมูบาน แตก็ถือวาเปนหมูบานท่ีโชคดีที่มีประชากร
ชาวบาน ท่ีเปนแหลงใหความรูไดคอนขางมาก ถึงแมวาคนรุนใหมจะไมเรียนนอกบานมากข้ึน แตทานก็
รวบรวมความรู และวสั ดอุ ปุ กรณในการทาํ มาหากนิ หรือประกอบอาชีพใหเหน็

2. เงอื่ นไขคุณธรรม
มคี วามซอื่ สัตยในการประกอบการ ไมเ อารดั เอาเปรยี บผบู รโิ ภคและไมเอารัดเอาเปรียบลูกคา

มคี วามขยันอดทน การประกอบอาชีพของชุมชนบานโงกนํ้าสวนใหญแลว เปนคนที่มีความซื่อสัตยในการ
ประกอบอาชีพของตนเอง มีความขยัน อดทน มีการแบงปนระหวางครัวเรือน หัวหนาครอบครัวที่มีอาชีพ
การทาํ สวนยางพารา มีความซื่อสตั ยต อตนเองในการขายผลผลิตจากยางพาราท่ีเปนน้ํายางมีคุณภาพ ไมมี
การใสนาํ้ และส่งิ แปลกปลอม มีความตระหนักในการเพาะปลูก โดยพยายามหลีกเลี่ยงในการใชสารเคมีใน
การกาํ จดั ศัตรพู ืช หนั มาใชส ารกําจดั แมลงในธรรมชาติแทน ปุยท่ีใชสวนใหญก็ใชปุยนํ้าชีวภาพ ท่ีผลิตขึ้นมา

18

เอง ใชม ูลปยุ คอก หรือปุยชีวภาพอัดเม็ด เพอ่ื ความปลอดภยั ของสมาชกิ ในครัวเรือนเอง และยังผลไปถึงผูท่ี
ซือ้ ไปบรโิ ภค

สวนการเล้ียงสัตวก็ใชอาหารสัตวจากธรรมชาติท่ีมีหรือเพาะปลูกเอง เชน หญาท่ีใชเล้ียง
โคเพาะ อาหารสุกรท่เี หลือจากเศษอาหาร และอาหารจากพชื ผัก พืชธรรมชาตทิ ี่หาไดเ อง หลีกเลี่ยงการใช
สารเรงเน้ือแดง เวลาสวนใหญใชไปในการทํามาหาเลี้ยงครอบครัว ใหสมาชิกไดมีสวนรวม หางไกล
ยาเสพตดิ ถงึ แมว า หมบู า นโงกนํ้าจะเปน ชุมชนปลอดยาเสพติดก็ตาม ซึ่งในขณะน้ีไดทํางานรวมกัน และมี
การสอนคณุ ธรรมกับครอบครวั ดวย

กิจกรรมที

แบ่งกลมุ่ ผเู้ รียนตามความสนใจ กลุ่มละ คน แลว้ ดาํ เนินการดงั ต่อไปนี
. ในแต่ละกลมุ่ ระดมความคิด ในประเดน็ “การนาํ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชก้ บั การใช้
ทรัพยากรทีมีอยขู่ องตนเอง ครอบควั ชุมชน” แลว้ เลอื กนาํ เสนอเพียงหวั ขอ้ เดียววา่ กลุม่ ของตนสามารถนาํ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชใ้ นจดั สรรทรัพยากรอยา่ งไร เช่น การประหยดั ค่าใชจ้ ่าย การพึงตนเอง
ความมีเหตุผล มีภมู คิ ุม้ กนั ความรู้ และคุณธรรม เป็นตน้
. ให้ผูเ้ รี ยนแต่ละกลุ่มเสนอแนวทางการเผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใช้ใน
ชีวิตประจาํ วนั หน้าชันเรียน กลุ่มละ – นาที โดยให้ผเู้ รียนและผสู้ อนร่วมประเมิน แนวทางการ
เผยแพร่ฯ ว่า เหมาะสมหรือควรแกไ้ ขอย่างไร เช่น การเผยแพร่โดยใชป้ ้ ายโปสเตอร์ แผ่นพบั และการ
ประชาสมั พนั ธท์ าง Internet เป็นตน้
. ผเู้ รียนแต่ละกลุม่ นาํ แนวทางการเผยแพร่ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปใชใ้ นการดาํ เนินชีวิต
ไปเผยแพร่ในสถานศึกษาและชุมชนใกลส้ ถานศึกษา

19

บทที่ 3
การวางแผนประกอบอาชพี แบบพอเพียง

สาระสําคญั

การวางแผนการประกอบอาชพี ตามแนวทางหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เปนการกําหนด
ทศิ ทาง ขอบเขต วัตถปุ ระสงค เปาหมายและวิธีการประกอบอาชีพ โดยมีกระบวนการที่ชัดเจนอยางเปน
ระบบ เพ่อื ใหบรรลเุ ปา หมาย และความตองการดานอาชีพของตนเอง โดยยึดหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง นอกจากน้ีผูเรียนจําเปนตองมีความรูในเรื่องการจัดทําโครงการและแผนงานประกอบอาชีพ
เพ่ือพัฒนาการประกอบอาชีพใหประสบความสําเร็จ และมีความรู ความเขาใจ การประกอบอาชีพ
บนฐานความรู และมีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ

ผลการเรียนที่คาดหวัง

1. ผูเรียนสามารถนําความรจู ากการเรยี นไปใชใ นการวางแผนการประกอบอาชพี ตามปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง

2. ผูเรียนสามารถจัดทําโครงงานการประกอบอาชีพ ตามแผนงานท่ีวางไวไดอยางถูกตอง
เหมาะสม

3. ผูเรียนมีความรู ความเขา ใจ การประกอบอาชพี บนฐานความรู คคู ณุ ธรรม

ขอบขายเน้ือหา

เรือ่ งท่ี 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เร่อื งที่ 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

20

เรอื่ งท่ี 1 การวางแผนการประกอบอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

การประกอบอาชีพ คือการทํามาหากินของมนุษย เปนการแบงหนาท่ี การทํางานของคน
ในสงั คม และทําใหด าํ รงชีวติ ในสงั คมได บคุ คลทปี่ ระกอบอาชพี จะไดคาตอบแทน หรือรายไดทจ่ี ะนําไปใช
จายในก ารดํารง ชีวิต และสรา งมาตร ฐานท่ีดีใ หแกคร อบครัว ชุมชน และประ เทศชา ติ
ความจาํ เปน ของการประกอบอาชพี มี ดังนี้

1. เพอื่ ตนเอง การประกอบอาชพี ทาํ ใหมรี ายไดมาจับจายใชส อยในชวี ิต
2. เพ่อื ครอบครวั ทาํ ใหสมาชิกของครอบครัวไดรับการเลีย้ งดูทาํ ใหมคี ณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี นึ้
3. เพอื่ ชุมชน ถา สมาชกิ ในชมุ ชนมีอาชีพและมรี ายไดด จี ะสง ผลใหส มาชิกมคี วามเปนอยูดขี นึ้ อยดู ี
กนิ ดี สง ผลใหชมุ ชนเขม แขง็ ทางเศรษฐกิจและพัฒนาตนเองได
4. เพื่อประเทศชาติ เพ่ือประชากรของประเทศมีการประกอบอาชีพท่ีดี มีรายไดดี ทําใหมี
รายไดท ่ีเสียภาษีใหก ับรฐั บาลมรี ายไดไปใชบ รหิ ารประเทศตอไป
มนุษยไมสามารถผลิตสิ่งตางๆมาสนองความตองการของตนเองไดทุกอยางจําตองมีการแบงกันทํา
และเกิดความชํานาญ จึงทําใหเกิดการแบงงานและแบงอาชีพตาง ๆ ขึ้น สาเหตุที่ตองมีการแบงอาชีพ
คือ การท่ีมนษุ ยมีความรูความสามารถของแตล ะคนแตกตา งกัน มีตําแหนงทางภูมิศาสตรและภูมปิ ระเทศท่ี
แตกตา งกนั และไดร ับมอบหมายใหท ําหนาทที่ ี่แตกตางกนั การประกอบอาชพี เปนเร่อื งสําคญั ในชีวิตเรื่อง
หนง่ึ เนอ่ื งจากทกุ คนตอ งมีอาชีพถงึ จะธํารงชวี ติ อยูได แตจะเปนอาชพี แบบใด ทําอะไร ทาํ อยางไรใหมีชวี ิต
อยไู ด หรอื ทําอยางไรถงึ จะประสบความสําเรจ็ ในอาชพี ทีท่ าํ อยู กข็ น้ึ อยกู ับการวางแผนการประกอบอาชีพ
น้ัน ๆ กา รป ระ กอ บอ าชีพใ หป ระ สบ ความ สํา เร็ จต าม ความ ตอ งก าร จํ าเ ปน ตอ งมี กา ร
วางแผนการประกอบอาชีพที่ชดั เจน เปน ระบบ
การวางแผน เปน เร่ืองของการกําหนดความตองการ วิธีการดําเนินการ และคาดหมาย ผลการ
ดําเนินการในอนาคต โดยใชหลักวิชาการ เหตุผล มีขอมูลตัวเลขประกอบ มีการเสนอปญหาเพ่ือขจัด
อุปสรรคทีจ่ ะมาถึงเปาหมายขางหนาได ทําใหผูปฏิบัติรูไดวาจะทําอะไร ที่ไหนเมื่อใด กับใครทําอยางไร
และทําเพือ่ อะไรไดอยา งชัดเจน ซ่งึ นาํ ไปสูแนวทางการปฏบิ ตั งิ านท่ถี ูกตองและไดผ ล
ดังนัน้ การวางแผนการประกอบอาชีพ จึงเปนการกําหนดทิศทาง ขอบเขต วัตถุประสงค
เปา หมายและวิธีการประกอบอาชีพ โดยมีกระบวนการท่ีชัดเจนอยางเปนระบบ เพื่อใหบรรลุเปาหมาย
และความตองการดานอาชีพของตนเอง การประกอบอาชีพมีหลายรูปแบบ หลายวิธีการ หลากหลาย
แนวทางท่ีจะทําใหป ระสบความสําเร็จในอาชีพน้นั ๆ
การวางแผนการประกอบอาชพี กเ็ หมอื นกับ เสาไฟที่ใหแสงสวา งตามทองถนนทผี่ านไปมา เพื่อให
เกดิ ความปลอดภัยในการเดินทางตลอดเสนทางนน้ั การวางแผนการประกอบอาชีพจึงเปนเร่ืองที่สําคัญยิ่ง

21

การจะประสบความสําเร็จในการประกอบอาชีพได ก็ข้ึนอยูกับการวางแผนการประกอบอาชีพท่ีถูกตอง
และการท่จี ะวางแผนการประกอบอาชีพ ควรจะตอ งศึกษา ดังน้ี

1. การรูจักตนเอง การเลือกอาชีพดูเหมือนจะเปนการตัดสินใจคร้ังย่ิงใหญในชีวิตของคนเรา
เพราะนัน่ คอื ตวั กําหนดรายไดท ่ีจะเกิดข้นึ จากความสามารถของเราเอง และไมนาเชื่อวาหลายคนยอมทนอยู
กบั อาชีพท่ตี นเองเกลียดได หรือไมไ ดใ ชค วามสามารถที่แทจรงิ ในการทํางานเลย เพราะพวกเขาไมเคยเกิด
ความสงสยั วา จริงๆแลว ตนเองตอ งการอะไร “การขาดความเชอ่ื มัน่ ในตนเอง คือสาเหตหุ น่ึงที่ทําใหคนบาง
คนเลือกทาํ งานท่หี า งไกลจากความสามารถทแี่ ทจริงของตนเอง และเปน สาเหตใุ หคนยายตําแหนงงานของ
ตนเอง หรือเปน สาเหตทุ ่ีทาํ ใหค นเราเลอื กเปล่ียนอาชพี ทง้ั ทก่ี าวไปไดเ พยี งครง่ึ ทางเทาน้นั ”

การสรา งความเชือ่ ม่ันใหต นเอง ควรเริ่มตนจากการคนหาตนเองวา “เราเปนใคร” “เราอยากทํา
อะไร” “เราทําอะไรไดด ี” “เราทาํ อะไรบอยท่ีสุด” และคําตอบที่ไดกลับมาจะชวยใหเราทราบวาตนเองมี
ทักษะความสามารถ ความสนใจ คานิยม ความชอบสวนตัว และรูปแบบการทํางานในดานใด
และในชวงท่กี าํ ลงั สํารวจตวั ตนของตนเองนั้น อยาลืมบอกเร่ืองน้ีใหคนในครอบครัว เพื่อนสนิทของเราทราบ
เพราะพวกเขาอาจชวยใหคุณคนพบตัวตนของตนเองไดเร็วขึ้น ซ่ึงคนเหลาน้ันตองเปนคนท่ีรูจักคุณ
มาเปนเวลาหลายป จงึ จะสามารถบอกไดวา คุณมีจุดออ น-จุดแข็งในดานใดบาง หรอื ทาํ แบบทดสอบบุคลิกภาพ
หรือความถนัด แลว ใชป ระโยชนจ ากคําแนะนาํ ท่ไี ดจ ากการทําแบบสํารวจ “การตอบคําถามที่เกี่ยวกับการ
ประกอบอาชีพอาจทําใหทราบขอ มลู ของตนเอง ซึ่งเราไมเคยทราบมากอ น แตผ เู ชย่ี วชาญดานการประกอบ
อาชีพสามารถชว ยใหม องเห็นความสามารถในสว นนนั้ ๆได”

2. การศกึ ษาการประกอบอาชพี ปจ จบุ ันน้มี ีอาชพี ตางๆเกิดข้ึนหลายพันอาชีพ หากขาดแผนการ
ทาํ งาน อาจกอ ใหเ กดิ การเลือกอาชีพท่ีไมเ หมาะสมกับตนเองได หากรูจกั ประเมนิ ความสามารถของ
ตนเองอยางซ่ือสตั ย โอกาสท่ีจะเลือกอาชพี ไดอยางเหมาะสมยอมสูงตามไปดวย ควรเลือกประกอบอาชีพ
โดยยึดจากความรูสึกภายในเปนหลัก เลือกงานท่ีเหมาะสมกับตนเองเทานั้น วิธีที่จะชวยใหเก็บขอมูล
เก่ยี วกบั อาชีพทเ่ี หมาะสมกับตนเองไดม ี 2-3 วธิ ี นน่ั ก็คอื อา นรายละเอียดอาชีพตางๆในประกาศรับสมัคร
งาน หาขอมูลในอินเตอรเน็ต เพราะอินเตอรเน็ตเปนแหลงขอมูลที่สามารถใหขอมูลทุกเร่ืองไดอยางนา
อัศจรรย นอกจากนี้ยังสามารถหาขอมูลจากประสบการณของผูอื่นไดดวย เชน บทสัมภาษณของผูอื่นที่
ประกอบอาชีพทีค่ ุณสนใจ หรอื สอบถามขอมูลการทํางานจากผูอื่น ซ่ึงขอมูลการสัมภาษณ เหลานี้อาจจะ
ชว ยใหค ุณทราบสภาพความเปนจริงเก่ยี วกับการทาํ งานน้นั ๆ อีกดว ย

3. การตัดสินใจ เปนข้ันตอนสําคัญหลังจากไดจับมือกับตนเอง เพื่อมองหางานที่เหมาะสมกับ
ตนเองแลว กม็ าถึงข้นั ตอนสาํ คัญ กลยุทธหนง่ึ ทีจ่ ะทําใหสามารถตัดสินใจได นัน่ ก็คือ การรางความตองการ
ของตนเองภายใน ระยะเวลาหน่ึงปลงในกระดาษ จากนั้นก็เพ่ิมเปน 5 ป หรือ 10 ป ตอไป อีกวิธี คือ

22

เปรียบเทียบ ขอ ดีและขอเสียของการทาํ งาน สาํ หรับสองหรือสามอาชีพท่ีตนเองสนใจมากที่สุด และเลือก
อาชพี ท่ีตนเองคิดวา เหมาะสมทสี่ ุด

เมื่อตดั สนิ ใจเลอื กแลว ก็ถงึ เวลาทดสอบสงิ่ ท่เี ลอื กเอาไว ตอ งคนหาโอกาสใหต นเองอกี ครัง้ ยอมรับ
การฝกงาน เพ่อื โอกาสทีจ่ ะไดงานในอนาคต หรอื เลือกเรยี นเกย่ี วกบั การทาํ งานนนั้ ๆ เพมิ่ เตมิ รวมทั้งหาทาง
อบรมหรอื ฝก ปฏบิ ัตงิ านเกี่ยวกบั อาชีพทีต่ นเองสนใจนัน้ ดว ย

การเตรียมตัวอยา งดี ยอมดีกวาการสละสทิ ธ์โิ ดยไมไ ดลองทําอะไรเลย การทํางานช่วั คราว หรอื งาน
อาสาสมัครเปนการสัง่ สมประสบการณในงานทํางานอยางชา ๆ เปน ส่ิงจาํ เปน สําหรับการทํางานทมี่ คี ณุ ภาพ
ซ่งึ จะกลายเปนท่ีพอใจของนายจางตอ ไป นอกจากนีค้ วรเปน สมาชกิ ชมุ ชมุ ทม่ี ีกิจกรรมเก่ียวกับการทํางาน
เพราะจะชวยใหสามารถหาคําแนะนําไดจาก สมาชิกทานอื่นๆ ในการคนหางาน คําแนะนํา รวมทั้งเปน
บุคคลอางอิงใหเราไดอีกดวย ก็เหมือนกับคุณใชน้ิวจุมลงไปในนํ้าเพื่อทดสอบ คุณจะพบวาตนเองได
ประสบการณต า งๆ มากมายโดยไมม ีขอ ผูกมดั ท้งั ดานเวลา และความมุงม่ัน หากคุณคนพบวา อาชีพท่ีคุณ
เลือก ไมไ ดเ ปน ไปตามท่ีตนเองคาดหวงั ไว กส็ ามารถหาตวั เลอื กใหมไ ด จนกวา จะพบสิ่งทตี่ นเองตอ งการ

แตก ารวางแผนการประกอบอาชพี กย็ ังไมใชจุดสิ้นสุดสําหรับเรื่องน้ี กิจกรรมตาง ๆ จะเปลี่ยนไป
เรื่อย ๆ ตามความเปล่ียนแปลงในตัวคุณ “คุณตองรูจักการยืดหยุน และพรอมที่จะพัฒนาแผนการของ
ตนเอง เพื่อคนหาสิ่งใหมๆ ใหกับตนเอง รวมท้ังมองหาโอกาสสรางความกาวหนาใหตนเองอยูเสมอ”
ในเร่ืองของการทํางาน การวางแผนยอ มทาํ ใหการทาํ งานมีประสทิ ธิภาพมากกวาการ การนิง่ เฉย

การประกอบอาชพี สามารถแบงออกเปน 2 ประเภท คอื
1. การประกอบอาชพี อิสระ มีลกั ษณะเปน เจาของกจิ การ ดาํ เนนิ การบรหิ ารจัดการดวยตนเอง
ในรปู ของกลุม อาชีพ หา งหนุ สว น บริษทั ฯลฯ การประกอบการหรือเจา ของตอ งมคี วามต้ังใจ อดทน ทุมเท
ไมยอทอตออุปสรรค เพื่อใหกิจการดําเนินไปจนเกิดความมั่นคงประสบความสําเร็จ การประกอบอาชีพ
อิสระยงั สามารถแบง เปน

1.1 อาชีพอสิ ระดานการผลิต ผูประกอบอาชีพตองมีกระบวนการ หรือขั้นตอนการผลิตหรือ
การแปรรปู สินคาออกไปจาํ หนา ยในทอ งตลาด ในลกั ษณะขายสงหรือขายปลีก เชน การทําอาหาร การทํา
สวนผลไม การเลีย้ งปลา ฯลฯ

1.2 อาชีพอิสระดา นการใหบ รกิ าร เปน อาชีพทนี่ ยิ มกนั อยางแพรหลายตามสภาพแวดลอ มและ
วถิ ีชีวติ ทําใหคนที่มีเวลาวางนอยหันมาพ่ึงเทคโนโลยีประกอบกับการประกอบอาชีพงานการใหบริการมี
ความเส่ียงนอ ย การลงทนุ ต่าํ การประกอบอาชีพดานนี้ปจจุบันจึงแพรหลาย เชน บริการทําความสะอาด
บรกิ ารซกั รดี เส้อื ผา บรกิ ารลา งรถยนต ซอมอปุ กรณไ ฟฟา การทํานายโชคชะตา เปน ตน

2. การประกอบอาชีพรับจาง เปนการประกอบอาชีพโดยไมไดเปนผูประกอบการ แตตอง
ทํางานตามท่ีเจา นายมอบหมาย ไดร บั คาตอบแทนเปนเงิน อาหาร ท่ีพกั อาศยั และสิง่ จาํ เปนอื่น ๆ ปจจุบัน
สังคมไทยสวนใหญนิยมเปนลูกจาง เนื่องจากความรับผิดชอบมีจํากัดไมเสี่ยงกับผลกําไรขาดทุน ซ่ึงอาจ

23

ทํางานในสถานประกอบการขนาดใหญ หรือขนาดเลก็ หรอื เปน ธุรกิจการผลติ หรือการบริการ เชน โรงงาน
พนกั งานขาย พนักงานบริษทั พนกั งานธนาคาร พนักงานบัญชี เปนตน

การประกอบอาชพี ของบุคคลทุกคน ยอมมงุ หวงั ใหตนเองประสบความสําเร็จในอาชีพ หนาท่ีการ
งานท้ังนนั้ และแนวทาง วิธกี ารทจี่ ะนําไปสูความสําเรจ็ สามารถยดึ เปน หลักการ แนวทางในการประกอบ
อาชพี ไดทุกอาชีพ คอื หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การประกอบอาชพี ตามแนวทางหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ควรยดึ หลักในการปฏบิ ตั ิตน
ดงั นี้

1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟอยในการดํารงชีวิตอยาง
จรงิ จัง ดงั พระราชดาํ รัสวา “ความเปนอยูท ตี่ อ งไมฟุงเฟอ ตอ งประหยัดไปในทางท่ีถูกตอง” ปฏิบัติไดดวย
วิธจี ดบนั ทกึ หรือทาํ บัญชีครัวเรอื น

2. ยดึ ถอื การประกอบอาชพี ดว ยความถกู ตอ ง สจุ ริต แมจ ะตกอยใู นภาวะขาดแคลนในการดํารงชีพ
ก็ตาม ดังพระราชดํารัสท่ีวา “ความเจริญของคนท้ังหลายยอมเกิดมาจากการประพฤติชอบและการหา
เลย้ี งชพี ของตนเปน หลักสําคัญ”

3. ละเลิกการแกงแยงประโยชน และแขงขันกันในทางการคาขายประกอบอาชีพแบบตอสูกัน
อยางรุนแรงดังอดีต ซ่ึงมีพระราชดํารัสเรื่องน้ีวา “ความสุขความเจริญอันแทจริงน้ัน หมายถึง ความสุข
ความเจริญท่ีบุคคลแสวงหามาไดดวยความเปนธรรมทั้งในเจตนา และการกระทํา ไมใชไดมาดวยความ
บังเอญิ หรอื ดวยการแกง แยง เบยี ดบังมาจากผอู นื่ ”

4. ใฝห าความรู ไมห ยุดน่ิงท่ีจะหาทางในชีวิตหลุดพนจากความทุกขยากครั้งน้ี โดยตองขวนขวาย
ใฝหาความรูใหเกิดมีรายไดเพิ่มพูนข้ึนจนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ พระราชดํารัส
ตอนหน่ึงทใี่ หค วามชัดเจนวา “การทตี่ อ งการใหท กุ คนพยายามที่ จะหาความรู และสรางตนเองใหมั่นคงน้ี
เพอื่ ตนเอง เพอ่ื ทีจ่ ะใหตัวเองมคี วามเปนอยทู ีก่ า วหนาท่มี คี วามสขุ พอมีพอกนิ เปนขั้นหน่ึง และขั้นตอไป ก็
คือ ใหมเี กียรตวิ า ยืนไดดว ยตวั เอง”

5. ปฏบิ ัตติ นในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งยว่ั กิเลสใหห มดสนิ้ ไป ทง้ั น้ดี ว ยสงั คมไทยท่ีลมสลายลงในคร้ังนี้
เพราะยังมีบุคคลจํานวนมิใชนอยที่ดําเนินการโดยปราศจากละอายตอแผนดิน พระบาทสมเด็จ
พระเจาอยหู วั ไดพระราชทานพระบรมราโชวาทวา “พยายามไมกอความช่ัวใหเปนเครื่องทําลายตัวทําลาย
ผูอ่ืน พยายามลด พยายามละความชั่วที่ตัวเองมีอยู พยายามกอความดีใหแกตัวอยูเสมอ พยายามรักษา
และเพิ่มพูนความดีท่ีมีอยูน้ันใหงอกงามสมบูรณข้ึน” ทรงย้ําเนนวาคําสําคัญที่สุด คือ คําวา “พอ” ตอง
สรางความพอทสี่ มเหตุสมผลใหกับตวั เองใหไดแ ละเรากจ็ ะพบกบั ความสขุ

หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง สามารถนํามาเปนแนวทางในการประกอบอาชีพไดทุกอาชีพ

เชน อาชีพเกษตรกรรม อาชีพธุรกจิ ฯลฯ

เศรษฐกจิ พอเพยี งกับอาชีพเกษตรกรรม
อาชีพเกษตรกรรม ถือวาเปนอาชีพหลักและเปนอาชีพสําคัญของประเทศ ประชากรของไทย
ไมน อยกวา รอ ยละ 60 ยังประกอบอาชีพน้อี ยู อาชพี เกษตรกรรมเกี่ยวของกบั การผลิต และการจัดจําหนาย

24

สินคา และบรกิ ารทางดานการเกษตร ผลผลิตทางการเกษตรนอกจากใชในการบริโภคแลวยังใชเปนวัตถุดิบ

ในการผลติ ทางอตุ สาหกรรมอีกดว ย ไดแก การทํานา การทําไร ทําสวน เลีย้ งสตั ว ฯลฯ พระบาทสมเด็จพระ

เจาอยูหวั ฯ ไดพ ระราชทานพระราชดาํ รฯิ ใหเ กษตรกรซ่งึ เปน คนสว นใหญข องประเทศมคี วามแข็งแรงพอกอนท่ีจะ

ไปผลติ เพอื่ การคาหรือเชิงพาณิชย โดยยึดหลกั การ “ทฤษฎใี หม” 3 ขน้ั คอื

ขนั้ ที่ 1 มคี วามพอเพียง เล้ียงตวั เองไดบนพืน้ ฐานของความประหยดั และขจัดการใชจ า ย

ขั้นที่ 2 รวมพลังกันในรูปกลุม เพ่ือการผลิต การตลาด การจัดการ รวมทั้งดานสวัสดิการ

การศึกษา การพัฒนาสงั คม

ข้ันท่ี 3 สรางเครือขาย กลุมอาชีพและขยายกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่หลากหลาย โดยประสาน

ความรว มมือกับภาคธุรกิจ ภาคองคกรพัฒนาเอกชน และภาคราชการในดานเงินทุน การตลาด การผลิต

การจัดการและขา วสารขอมลู

ทฤษฎีใหมเปนแนวพระราชดําริของพระบาทสมเด็จพระเจาอยหู วั ภมู พิ ลอดุลยเดช เกี่ยวกบั การจัด

พน้ื ท่ีดนิ เพอื่ การอยอู าศยั และมีชีวิตอยา งยั่งยืน โดยมแี บง พ้นื ที่เปน สวน ๆ ไดแ ก พ้ืนท่ีน้ํา พนื้ ทด่ี ินเพอ่ื เปนที่

นาปลูกขาว พ้ืนท่ีดินสําหรบั ปลูกพืชไรน านาพนั ธุ และทส่ี าํ หรับอยูอาศยั /เล้ียงสัตว ในอตั ราสวน 3

: 3 : 3 : 1 เปนหลักการในการบริหารการจัดการที่ดินและน้ํา เพ่ือการเกษตรในที่ดินขนาดเล็กใหเกิด

ประสิทธภิ าพสงู สุด ดังน้ี

1. มีการบริหารและจัดแบงท่ีดินแปลงเล็ก ออกเปนสัดสวนที่ชัดเจน เพื่อประโยชนสูงสุดของ
เกษตรกร ซงึ่ ไมเ คยมีใครคดิ มากอ น

2. มีการคาํ นวณโดยหลักวิชาการ เกยี่ วกับปริมาณนา้ํ ท่ีจะกักเก็บใหพอเพียง ตอการเพาะปลูกได
ตลอดป

3. มีการวางแผนท่ีสมบูรณแ บบ สําหรบั เกษตรกรรายยอย 3 ข้นั ตอน เพื่อใหพอเพียงสําหรับเล้ียง
ตนเองและเพือ่ เปน รายได

ข้นั ที่ 1 ทฤษฎีใหมขั้นตน สถานะพื้นฐานของเกษตรกร คือ มีพื้นท่ีนอย คอนขางยากจน อยูในเขต
เกษตรน้ําฝนเปนหลัก โดยในขั้นที่ 1 น้ีมีวัตถุประสงคเพ่ือสรางเสถียรภาพของการผลิต เสถียรภาพดาน
อาหารประจําวัน ความมั่นคงของรายได ความม่ันคงของชีวิต และความมั่นคงของชุมชนชนบท
เปนเศรษฐกิจพึ่งตนเองมากข้ึน มีการจัดสรรพื้นท่ีทํากินและที่อยูอาศัย ใหแบงพ้ืนที่ ออกเปน 4 สวน
ตามอตั ราสว น 30 : 30 : 30 : 10 ซ่งึ หมายถึง พน้ื ที่สวนท่หี น่ึงประมาณ 30% ใหขุดสระเก็บกักน้ํา เพื่อใชเก็บ
กกั น้ําฝนในฤดูฝนและใชเ สริมการปลกู พชื ในฤดูแลง ตลอดจนการเล้ียงสัตวน้ําและพืชน้ําตาง ๆ (สามารถ
เลีย้ งปลา ปลกู พชื นํา้ เชน ผกั บุง ผกั กะเฉดฯ ไดด ว ย) พื้นที่สวนท่ีสองประมาณ 30% ใหปลูกขาวในฤดูฝน
เพ่ือใชเ ปนอาหารประจาํ วนั ในครัวเรอื นใหเ พียงพอตลอดป เพื่อตดั คา ใชจา ยและสามารถพึ่งตนเองได พื้นที่
สวนที่สามประมาณ 30% ใหปลูกไมผล ไมยืนตน พืชผัก พืชไร พืชสมุนไพร ฯลฯ เพ่ือใชเปนอาหาร
ประจาํ วนั หากเหลอื บรโิ ภคก็นําไปจําหนาย และพ้ืนท่ีสวนท่ีสี่ประมาณ 10% ใชเปนท่ีอยูอาศัย เลี้ยงสัตว
และโรงเรือนอื่น ๆ (ถนน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุยหมัก โรงเรือน โรงเพาะเห็ด คอกสัตว
ไมด อกไมประดบั พชื ผกั สวนครวั หลงั บา น เปน ตน )

25

ทฤษฎีใหมข้ันกาวหนา เมอ่ื เกษตรกรเขาใจในหลักการและไดลงมือปฏิบัติตามขั้นที่หนึ่งในท่ีดิน
ของตนเปนระยะเวลาพอสมควรจนไดผ ลแลว เกษตรกรก็จะพัฒนาตนเองจากข้ัน “พออยูพอกิน” ไปสูข้ัน
“พอมีอันจะกิน” เพื่อใหมีผลสมบูรณยิ่งขึ้น จึงควรที่จะตองดําเนินการตามข้ันที่สองและข้ันท่ีสามตอไป
ตามลาํ ดับ (มลู นธิ ชิ ัยพัฒนา, 2542)

ขั้นที่ 2 ทฤษฎีใหมข นั้ กลาง เมื่อเกษตรกรเขาใจในหลกั การและไดปฏบิ ัติในท่ีดินของตนจนไดผล
แลว ก็ตอ งเริม่ ข้ันทีส่ อง คือ ใหเกษตรกรรวมพลงั กันในรปู กลุม หรือ สหกรณ รวมแรง รวมใจกนั ดําเนินการ
ในดา น

(1) การผลิต เกษตรกรจะตอ งรว มมือในการผลติ โดยเริม่ ต้งั แต ข้ันเตรียมดิน การหาพันธุพชื ปยุ
การหาน้าํ และอน่ื ๆ เพอ่ื การเพาะปลกู

(2) การตลาด เมอ่ื มีผลผลติ แลว จะตอ งเตรยี มการตาง ๆ เพ่อื การขายผลผลิตใหไดป ระโยชน
สูงสุด เชน การเตรยี มลานตากขาวรวมกัน การจัดหายุงรวบรวมขาว เตรียมหาเคร่ืองสีขาว ตลอดจนการ
รวมกันขายผลผลติ ใหไดร าคาดี และลดคา ใชจายลงดว ย

(3) ความเปนอยู ในขณะเดยี วกันเกษตรกรตอ งมีความเปนอยูท่ดี พี อสมควร โดยมปี จจัยพ้ืนฐาน
ในการดํารงชวี ิต เชน อาหารการกนิ ตา ง ๆ กะป น้าํ ปลา เสือ้ ผา ท่ีพอเพียง

(4) สวสั ดกิ าร แตล ะชุมชนควรมีสวัสดกิ ารและบรกิ ารทีจ่ าํ เปน เชน มสี ถานีอนามยั เม่อื ยามปว ย
ไข หรือมกี องทนุ ไวใ หกูยมื เพือ่ ประโยชนใ นกิจกรรมตาง ๆ

(5) การศกึ ษา มโี รงเรยี นและชมุ ชนมีบทบาทในการสงเสรมิ การศกึ ษา เชน มกี องทนุ เพ่ือ
การศึกษาเลา เรยี นใหแ กเ ยาวชนของชุมชนเอง

(6) สงั คมและศาสนา ชุมชนควรเปน ศูนยกลางในการพฒั นาสงั คมและจติ ใจ โดยมศี าสนาเปน ที่
ยึดเหนีย่ ว

กจิ กรรมทงั้ หมดดังกลาวขา งตน จะตองไดร ับความรว มมือจากทุกฝา ยทีเ่ ก่ยี วขอ ง ไมว า สวนราชการ
องคกรเอกชน ตลอดจนสมาชกิ ในชุมชนนัน้ เปนสาํ คัญ

ข้นั ท่ี 3 ทฤษฎีใหมข นั้ กาวหนา เม่ือดาํ เนนิ การผานพนข้ันท่ีสองแลว เกษตรกรจะมีรายไดดีข้ึน
ฐานะมัน่ คงขึน้ เกษตรกรหรือกลุมเกษตรกรกค็ วรพัฒนากาวหนาไปสขู น้ั ทสี่ ามตอ ไป คือ ติดตอ ประสานงาน
เพือ่ จัดหาทนุ หรือแหลง เงิน เชน ธนาคาร หรอื บรษิ ทั หางรา นเอกชน มาชวยในการทาํ ธุรกจิ การลงทนุ และ
พฒั นาคุณภาพชีวิต ท้งั น้ี ท้งั ฝายเกษตรกรและฝา ยธนาคารกับบรษิ ัท จะไดร บั ประโยชนรวมกนั กลาวคอื

(1) เกษตรกรขายขา วไดในราคาสงู (ไมถกู กดราคา)
(2) ธนาคารกบั บริษัทสามารถซอื้ ขา วบรโิ ภคในราคาต่าํ (ซือ้ ขา วเปลือกจากเกษตรกรมาสเี อง)
(3) เกษตรกรซื้อเคร่ืองอุปโภคบริโภคไดในราคาต่ํา เพราะรวมกันซ้ือเปนจํานวนมาก

(เปนรานสหกรณซ ื้อในราคาขายสง )
(4) ธนาคารกับบริษทั จะสามารถกระจายบคุ ลากร (เพ่อื ไปดําเนนิ การในกิจกรรมตาง ๆ ใหเกดิ ผลดี

ยงิ่ ข้ึน)

26

ในปจ จุบนั นไ้ี ดมีการนําเอาเกษตรทฤษฎีใหมไปทําการทดลองขยายผล ณ ศูนยศึกษาการพัฒนา
และโครงการอนั เนื่องมาจากพระราชดาํ ริ รวมทั้งกรมวชิ าการเกษตรไดดําเนินการจดั ทําแปลงสาธติ จาํ นวน
25 แหง กระจายอยูทั่วประเทศ นอกจากน้ี กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย กระทรวงเกษตรและ
สหกรณ กองบัญชาการทหารสูงสุด กองทัพภาค กระทรวงกลาโหม และกระทรวงศึกษาธิการ ไดมีการ
ดาํ เนินงานใหม ีการนาํ เอาทฤษฎใี หมน ไี้ ปใชอยางกวา งขวางขึ้น

แผนภาพ จําลองการจดั สดั สว นพ้ืนทต่ี ามแนวทฤษฎใี หม
ระบบการจดั การพนื้ ท่ี

1. สระนํ้า ขนาดประมาณ 3 ไร ไวเ ก็บกกั นาํ้ และเลย้ี งปลาไวบ ริโภค
2. นาขา ว ประมาณ 3 ไร ปลกู ขาวไวบ ริโภค และปลูกพืชผักหมุนเวียนตามฤดกู าล
3. ไมผ ลที่เหมาะกบั สภาพดนิ ฟา อากาศ ประมาณ 3 ไร ควรเปนแบบผสมผสาน และพ่ึงพาอาศัย

กันเปน ชนั้ ๆ เชน
- ไมผลหรอื ไมใ ชส อยขนาดใหญ ตนสูง เชน สะตอ, มงั คดุ ฯลฯ
- ไมผลพุมขนาดกลาง เชน มะมวง ลาํ ไย ขนุน ชมพู สมโอ ฯลฯ
- ไมผ ลพุมเตย้ี เชน มะนาว สม เขยี วหวาน สมจีด๊ ฯลฯ
- ไมผ ลและพืชผกั ขนาดเล็ก เชน มะเขอื พริก กระเพรา ผักหวาน ฯลฯ
- ผักสวนครัว เชน ตะไคร และพืชผกั ฯลฯ
- ผักประเภทเถา เกาะตนไมใ หญ เชน ตําลึง, ฟก, บวบ, ถว่ั ชนิดตา งๆ, พริกไทย ฯลฯ
- ผกั เล้ือยกินหวั เชน มนั ขงิ ขา
4. ที่อยอู าศัยตามสภาพ คอกปศสุ ัตว และพืชผักสวนครัวที่ตองการแสงแดด และแปลงปุยหมัก
(หากไมใชมุสลิม แนะนําใหเล้ียงหมูหลุม) ใชเนื้อที่ประมาณ 1 ไร จัดระบบภูมิศาสตร และ
สงิ่ แวดลอ มทด่ี ี
5. แนวร้วั ควรเปน พชื สวนครวั รว้ั กินได เชน หากมีเสาร้ัวควรปลูกแกวมังกร ระหวางเสารั้ว ควร
เปนผกั หวาน, ชะอม, ตน แค, มะละกอ ฯลฯ

27

6. รอบ ๆ ขอบสระน้ํา ปลูกพืชผักไดตามสภาพ เชน กลวย, ออย, มะรุม, แค สวนของสระดานใน
ควรปลูกหญา แฝกกนั การพงั ทลายของดนิ ลงสระ

หมายเหตุ การออกแบบวางผงั ควรคาํ นึงถงึ สภาพพนื้ ทข่ี องแตล ะรายตามสภาพจริง

เศรษฐกิจพอเพียงกบั อาชพี ธรุ กจิ
ธุรกิจทุกประเภทไมวาจะเปนธุรกิจประเภทการผลิต การคา หรือบริการ ลวนแตมีความสําคัญ
อยา งย่ิงตอ ระบบเศรษฐกจิ และสังคม เนอื่ งจากผลประกอบการทางธุรกิจมีอิทธิพลตอมูลคาทางเศรษฐกิจ
และความเจรญิ เตบิ โตของประเทศ การดาํ เนินธุรกิจในประเทศไทยที่ผา นมามเี ปาหมายการเจริญเติบโตทาง
เศรษฐกจิ ดวยระบบทุนนยิ มท่กี ระตนุ ใหค นบริโภคตลอดเวลาและมากย่งิ ข้นึ เพื่อผลตอบแทนสูงสุด โดยไม
คํานึงถึงวิธีการอันชอบธรรมการขยายตัวของผลผลิตมุงการพึ่งพาอุปสงค เทคโนโลยี และทุนจาก
ตางประเทศ ทาํ ใหความสามารถในการพึ่งพาตนเองตํ่าลง องคกรธุรกิจถูกครอบงําความคิดจากกระแส
โลกาภิวัตนด า นลบ สง ผลกระทบตอคา นยิ มและทศั นคติทเ่ี นน ความร่าํ รวยและความสะดวกสบายเปน
เปาหมาย เหน็ ประโยชนส วนตนมากกวา สว นรวม และขาดจติ สาํ นึกตอสาธารณะ องคก รธรุ กจิ ตอ งเผชิญกบั
ความเสี่ยงภายใตเง่อื นไขในระบบเศรษฐกจิ โลกที่มคี วามสลับซับซอนและมีการเปลี่ยนแปลงรอบดา น
ดังนั้น การปรับตัวตอกระแสโลกาภิวัตน จึงจําเปนตองอาศัยการเรียนรูและการยืนหยัดอยูบน
พน้ื ฐานของการพึง่ พาตนเองตามแนวปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง เพื่อสรางศักยภาพการดําเนินธุรกิจ
เพิม่ ขีดความสามารถในการแขง ขัน และสรา งภมู คิ ุมกนั ตอผลกระทบจากสภาพแวดลอ มภายนอก ในบริบทของ
ความเช่ือม่ันตอการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในองคกรจากประเด็นตางๆ ไดแก เศรษฐกิจ
พอเพียงใชไดผลดีเฉพาะในภาคเกษตร เศรษฐกิจพอเพียงคือการประหยัดและไมเปนหน้ี
การแสวงหากาํ ไรขดั กับปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไมเ หมาะสมกับธุรกิจ
ในยุคโลกาภิวัตน เม่ือพิจารณาจากแนวคิด หลักการ และองคประกอบตางๆ ของปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สามารถอธบิ ายในประเด็นดงั กลาว ดังนี้
เนื่องจากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไดนําไปประยุกตใชกับภาคเกษตรในระยะแรก เพราะมี
ความขัดสนสูงกวาภาคอ่ืนๆ ทําใหเกิดความเขาใจผิดวา เศรษฐกิจพอเพียงใชไดผลดีเฉพาะภาคเกษตร
เทาน้ัน ซึ่ง ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล (2549: 286) ไดอธิบายวา “เศรษฐกิจพอเพียงมิไดจํากัดเฉพาะของ
เกษตรกรหรือชาวไรชาวนาเพียงเทานั้น แตเปนเศรษฐกิจของทุกคนทุกอาชีพ ท้ังที่อยูในเมืองและอยูใน
ชนบท เชน ผูที่เปนเจาของโรงงานอุตสาหกรรมและบริษัทในระบบเศรษฐกิจพอเพียง ถาจะตองขยาย
กิจการเพราะความเจริญเตบิ โตของเนอื้ งาน โดยอาศยั การขยายตัวอยา งคอ ยเปน คอ ยไป หรือหากจะกูยืมก็
กระทําตามความเหมาะสม ไมใชกูมาลงทุนจนเกินตัวจนไมเหลือท่ีมั่นใหยืนอยูได ตองรูจักใชจาย ไม
ฟุม เฟอ ยเกินตัว” อยา งไรก็ตาม เมือ่ พิจารณาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงทัง้ ในดา นองคประกอบ

28

และเงอ่ื นไข จะเหน็ ไดวา หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําไปใชไดในทุกระดับและประกอบ
อาชีพไดในทุกสาขาไมจํากัดเฉพาะภาคเกษตร การประยุกตใชกับภาคธุรกิจและภาคเศรษฐกิจอ่ืนๆ มี
ความสําคญั มาก เนือ่ งจากแนวโนม สังคมไทยเปนสังคมเมืองมากขึ้น และการผลิตของภาคธุรกิจมีสัดสวนสูง
มาก หา กภาคธุ รกิ จไม ใ ชปรั ชญ าของเศรษฐกิ จ พอเพี ยง เป นแน วทางแล ว ยาก ท่ี จะเกิ ด
ความพอเพยี ง (ณัฏฐพงศ ทองภกั ดี, 2550: 18)

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนําทางการบริหารธุรกิจ โดยไมปฏิเสธระบบการตลาด
แตเ ปนเครื่องชี้นาํ การทํางานของกลไกตลาดใหมีเสถียรภาพดีขึ้น และไมข ดั กับหลักการแสวงหากําไร จึงไม
จําเปนตองลดกําไรหรือลดกาํ ลงั การผลิตลง แตก ารไดม าซึ่งกําไรของธุรกจิ ตองอยบู นพนื้ ฐานของการไมเอา
รัดเอาเปรียบผูอ่นื หรือแสวงหาผลกําไรเกินควรจากการเบยี ดเบยี นประโยชนของสังคม ตลอดจน

ตองคํานงึ ถงึ การใชท รพั ยากรในธรุ กจิ อยาง ประหยดั และมีคุณภาพ ดงั พระราชดาํ รสั เน่ืองในวนั เฉลมิ
พระชนมพรรษาวนั ที่ 4 ธันวาคม 2550 ความวา (พพิ ฒั น ยอดพฤติการ, 2551ก: 2)

“ในเรอ่ื งเศรษฐกิจพอเพยี งคอื อะไร ไมใชเพียงพอ ไมไดหมายความวา ใหทํากําไรเล็กๆ นอยๆ
เทานนั้ เอง ทาํ กําไรก็ทํา ถาเราทํากําไรไดดี มันก็ดี แตวาขอใหมันพอเพียง ถาทานเอากําไรหนาเลือด
มากเกนิ ไป มันไมใ ชพ อเพยี ง นกั เศรษฐกจิ เขาวา พระเจาอยูห วั น่คี ิดอะไรแปลกๆ ก็แปลกสิ ขายไมใ หได
กําไร ซ้ืออะไรไมขาดทุน เปนเศรษฐกิจพอเพียง คอื ไมต องหนา เลอื ด แลวไมใ ชจะมกี าํ ไรมากเกินไป หรือ
นอ ยเกนิ ไป ใหพ อเพยี ง ไมใชเรือ่ งของการคาเทา นัน้ เอง เปน เรอื่ งของการพอเหมาะพอด”ี

นอกจากน้ี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไมปฏิเสธการเปนหนี้หรือการกูยืมเงินเพ่ือการลงทุน
ในภาคธรุ กิจ โดยยงั คงมุงสรางประสทิ ธิภาพและประสทิ ธผิ ลสงู สดุ ในการผลิต เพอื่ ความกาวหนาขององคกร
แตเนนการบริหารความเสี่ยงตํ่า กลาวคือ การกูยืมเงินเพ่ือลงทุนทางธุรกิจ จะตองมีการวิเคราะหและ
ประเมินความเสี่ยงที่จะกระทบตอธุรกิจ โดยคํานึงถึงหลักความคุมคาและกําหนดมาตรการรองรับความ
เสีย่ งที่ จะเกดิ ขนึ้ (พพิ ฒั น ยอดพฤติการ, 2551ข: 1)

หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสงเสริมใหธุรกจิ สามารถแขงขันไดอยางยั่งยืนในระยะยาวและ
สรา งความพรอมสําหรับการเปล่ียนแปลงในอนาคต ธรุ กิจที่ใชหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงจะแขงขัน
อยางพอประมาณตามศักยภาพของตนเอง โดยทําธุรกิจท่ีมีความชํานาญหรือสรางความรู
เพ่ือพัฒนาตนเองใหม คี วามสามารถในการแขงขนั ท่ี ดขี ึ้น

ดงั นั้น หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงจึงไมสนบั สนุนระบบเศรษฐกิจปดทีไ่ มเ กย่ี วของกบั ใครไม
คาขาย ไมสงออก หรือหันหลังใหกับกระแสโลกาภิวัตน แตเปนปรัชญาที่ เนนการพัฒนาอยางเปนขั้น
ตอนบนรากฐานที่เขม แข็ง โดยองคก รธรุ กิจตองรูเทาทันความสามารถของตนเอง ใชหลักตนเปนที่พึ่งของ

29

ตนเองใหไ ดก อ น จากนน้ั จึงพฒั นาตนเอง เพอ่ื ใหธ รุ กจิ มคี ณุ ภาพและเขม แขง็ ขน้ึ สามารถเปนทพ่ี ่งึ แกผ ูอ ่นื ได
และนาํ ไปสสู ังคมทมี่ ีการเกือ้ กลู ซงึ่ กนั และกันไดใ นทสี่ ดุ (สุทนิ ล้ีปยะชาติ, นริสา พิชัยวรุตมะ และอาทิสุดา
ณ นคร, 2550: 9)

จากการรายงานของโครงการพัฒนาแหงสหประชาชาติประจําประเทศไทย เรื่อง “เศรษฐกิจ
พอเพียงกับการพัฒนาคน” ในป 2550 ไดสนับสนุน การนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาใชใน
ภาคธรุ กิจวา เศรษฐกจิ พอเพียงชวยยกระดับความรบั ผิดชอบตอสงั คมของบรษิ ทั ดวยการสรางขอปฏิบัติใน
การทําธุรกิจท่ีเนนผลกําไรระยะยาวในบริบทท่ีมีการแขงขัน การบริหารธุรกิจใหเกิดกําไรในโลก
ทุกวนั นี้ มคี วามซบั ซอ นมากกวา การคดิ ถงึ ตนทุนและผลตอบแทน ธุรกิจตอ งคาํ นึงถึงผูม สี วนไดสวนเสียจาก
ทกุ กลมุ ตงั้ แตน ายจา งไปจนถงึ ลูกคา และสังคมโดยรวม อยางไรกต็ าม ธุรกิจยงั ตองตระหนกั ถงึ ความ
เสี่ยงทีม่ ีโอกาสเกดิ ขน้ึ ไดตลอดเวลาในสภาพแวดลอ มที่มกี ารแขงขันสูงและมีการเปล่ยี นแปลงอยา งผนู าํ
ธรุ กจิ กบั การขบั เคล่อื นเศรษฐกจิ พอเพยี งในองคก รรวดเร็ว (สทุ นิ ลีป้ ย ะชาต,ิ นรสิ า พิชยั วรุตมะ และอาทสิ ุดา
ณ นคร, 2550 : 8) จะเห็นไดวา แทจ ริงแลว ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงเปนหลกั การเก่ยี วกบั การพฒั นา
ตนเอง เพือ่ เพม่ิ ความสามารถในการตอบสนองกจิ การตา งๆ รอบดา น โดยไม จาํ กดั เฉพาะภาคเกษตร
องคกรทต่ี อ งการเติบโตไดอ ยา งย่งั ยืนทามกลางกระแสโลกาภวิ ตั นจ าํ เปนตอ งนาํ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ไปประยกุ ตใช ซงึ่ ไมขดั กับหลักการแสวงหากาํ ไร โดยอยูบ นพ้นื ฐานของการไมเอารดั เอาเปรยี บผอู ่ืน
และคํานึงถงึ ความเสย่ี งท่ีจะกระทบตอธุรกจิ

เรอ่ื งท่ี 2 โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง

การประกอบอาชพี ของคนเรามีมากมายหลากหลายอาชีพ เชน เกษตรกรรม การปศุสัตว การปาไม
การขนสง อุตสาหกรรม การคาขาย การแกะสลักไม การเจียระไนพลอย การทอผา ฯลฯ อยางไรก็ตาม
การทจ่ี ะคดิ ประกอบอาชพี ใด ๆ น้ัน จะตองผานการศึกษาและวิเคราะหความเปนไปได โดยมีขอมูลตาง ๆ
อยูมาก เพียงพอท่ีจะมาใชในการตัดสินใจประกอบอาชีพนั้นได เม่ือคิดแลวก็ควรกําหนด ใหเปน
ลายลักษณอักษร เพ่ือใหเห็นเปนขั้นตอน แสดงถึงความตอเน่ือง มองเห็นขอบกพรองหรือขอมูลที่ขาด
ไปได เพอ่ื ความสมบรู ณของโครงการและแผนงานการดําเนินงาน

การจดั ทาํ โครงการและแผนงานประกอบอาชีพ หรือโครงงานการประกอบอาชีพ มีความสําคัญ
และจําเปน ตอการประกอบอาชีพเพราะถือวาไดมีการคิดไตรตรองไวลวงหนาแลว จึงลงมือปฏิบัติ ความ
ผดิ พลาดทงั้ หลายยอ มนอ ยลงโดยเฉพาะการวางแผนการดําเนินงานนั้นจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับแผนการ
ผลติ แผนการลงทนุ และแผนการตลาด

ประโยชนของโครงงานการประกอบอาชีพ
1. ทําใหก ารประกอบอาชีพบรรลุผลสาํ เรจ็ ตามเปา หมายท่กี ําหนดไว มีระบบการทาํ งานและลดการ

ทํางานทีซ่ าํ้ ซอ นกัน

30

2. ชวยใหก ารใชป ระโยชนจากการใชท รพั ยากรเปน ไปอยา งมีประสทิ ธภิ าพ
3. ชวยใหเจาของกิจการมีความเช่ือม่ันในการบริหารงาน และเม่ือเกิดปญหาข้ึนเพราะมีการ
วางแผน และคดิ อยา งรอบคอบมาแลว
4. ชวยใหเ จาของกจิ การสามารถตรวจสอบข้ันตอนการดําเนินงาน และความสาํ เร็จของเปา หมาย

องคประกอบของโครงการการประกอบอาชพี
เม่อื ตัดสนิ ใจเลอื กอาชีพ และมกี ารวิเคราะหความพรอม และความเปนไปไดข องอาชพี ที่

ตดั สนิ ใจเลอื กแลว ขน้ั ตอนตอ ไปคอื การเขียนโครงงานการประกอบอาชพี ทต่ี ดั สินใจเลือก การเขยี น
โครงงานการประกอบอาชพี มีองคประกอบหรอื หวั ขอ ทีต่ อ งเขียนดังน้ี

1. ช่อื โครงงาน ควรตง้ั ช่อื โครงการท่สี ื่อความหมายไดชดั เจน เชน โครงการเล้ยี งไกก ระทง
โครงงานขายผักปลอดสารพิษ โครงการจาํ หนายอาหารสาํ เร็จรูป เปน ตน

2. เหตุผล/แรงจูงใจในการทาํ โครงงาน ใหเขยี นถึงเหตุผลท่ีเลอื กทําโครงการน้นั เชน เปน อาชีพท่ี
เปน ความตองการของตลาด/ชมุ ชน หรอื ตัวผูป ระกอบอาชีพมคี วามถนัด ความสนใจ ในอาชพี น้ัน ๆ
อยางไร เปนตน

3. วตั ถุประสงค ใหเขยี นวตั ถปุ ระสงคในการทาํ โครงการน้ัน ๆ ใหช ัดเจน เชน เพื่อใหมี
ประสบการณในการทาํ อาชีพนั้น ๆ หรือเพอ่ื ศกึ ษาความเปนไปไดของตนเองในการประกอบอาชีพนน้ั ๆ

4. เปา หมาย ควรกําหนดเปา หมายในเชิงปริมาณและคณุ ภาพใหชัดเจน เชน การเล้ียงไกก ระทง
จะเลย้ี ง 5 รนุ รุนละกี่ตวั

5. ระยะเวลาดําเนนิ โครงการ ตัง้ แตเรมิ่ ตน จนสนิ้ สดุ โครงการ ใชเ วลาดาํ เนนิ การนานแคไ หน
เร่มิ ตน โครงการเมือ่ ใด จะสิน้ สดุ โครงการหรือขยายกิจการชว งใด

6. สถานทปี่ ระกอบการ ตอ งระบุทีต่ ัง้ ของสถานที่ท่ีจะประกอบอาชพี นั้น
7. การดาํ เนินงาน ใหเขียนแสดงขัน้ ตอนการดาํ เนินงานอยางละเอียดต้ังแตข น้ั วางแผนปฏบิ ัติการ
การปฏบิ ตั กิ ารตามแผน และประเมินปรบั ปรงุ การเขยี นแผนการดาํ เนินงานการประกอบอาชพี ควรมี
องคป ระกอบหรอื หวั ขอ ดังน้ี

7.1 แผนการผลิต ใหเ สนอรายละเอยี ดวา ในการผลติ หรอื ขายสินคาหรอื บริการ ตามโครงการที่

กําหนดน้ัน มีข้นั ตอนการผลติ อยางไร และกําหนดเวลาตามขัน้ ตอนน้ัน ไวอ ยา งไร

7.2 แผนการลงทนุ ใหระบวุ าทมี่ าของเงนิ ทุนทใ่ี ชใ นโครงการประกอบอาชีพน้ัน ไดมาอยางไร

เงนิ ทุนออกเอง หรือกยู มื มาจากแหลงเงนิ ทุนตาง ๆ

7.3 แผนการตลาด ใหเ สนอรายละเอยี ดวาสินคา หรือบรกิ ารในโครงการประกอบ อาชีพน้นั ๆ

มีลกู คา ทีค่ าดหวงั จํานวนเทาใด และจะวางแผนเพอื่ ขยายตลาดให กวา งขวางขึ้น อยางไร ในระยะเวลาใด

8. ปญหาและแนวทางแกไ ข ใหระบุปญ หาทคี่ าดวาจะเกดิ ขน้ึ กบั การประกอบอาชพี นั้น ๆ
9. ผลที่คาดวา จะไดรับ แสดงใหเ ห็นถึงผลของการดําเนินงานในการประกอบอาชีพในดานตาง ๆ
เชน ดา นความรูและประสบการณทไี่ ดร บั ดา นกาํ ไร และความพงึ พอใจตาง ๆ

31

10. ผูรบั ผิดชอบดําเนินการ ระบุช่ือผูท่ีเปนเจาของกิจการ หรือรับผิดชอบโครงการในกรณีที่มีผู
รว มโครงการหลาย ๆ คน ก็ใหช ่อื ผูร ว มโครงการทงั้ หมดดวย

การกําหนดโครงงานการประกอบอาชพี ท่ตี ดั สินใจเลือก กอ นการเริม่ ตนเขียนโครงงานการ

ประกอบอาชพี ทต่ี ัดสินใจเลอื ก มีความจาํ เปน ตอ งศกึ ษา รวบรวมขอ มลู ดา นตา ง ๆ ในอาชพี นนั้ ๆ ดังนี้
1. ศกึ ษาสํารวจความตอ งการของตลาด โดยการสาํ รวจสภาพ และความตองการ ของชุมชน ท่จี ะ

เปนแหลง ประกอบอาชพี เก่ียวกับ จํานวนประชากร ลกั ษณะเฉพาะของประชากรซงึ่ ประกอบดว ย เพศ
อายุ รายได อาชพี ระดบั การศกึ ษาความตอ งการสินคา และบริการในอาชพี น้นั ๆ จํานวนและอปุ นสิ ัยใน
การซอื้ ของประชากรในพน้ื ที่ สภาพปญหาและอปุ สรรคตา ง ๆ ท่คี าดวาจะเกดิ ขึ้น เชน มีคูแขง ขนั ขาย
สนิ คาหรอื บรกิ ารประเภทเดยี วกนั ในพืน้ ท่นี น้ั เปน ตน

2. ทําเลทต่ี งั้ กิจการ จะตอ งพจิ ารณาวา ทาํ เลท่ตี งั้ กิจการทจ่ี ะประกอบอาชพี ทตี่ ดั สนิ ใจเลือกน้ัน
มีลักษณะทจ่ี าํ เปนในส่ิงตอ ไปน้ีหรอื ไมเ พียงใด การคมนาคม ขนสง สะดวกหรือไม สภาพแวดลอม
เหมาะสมหรือไม มคี แู ขงขนั ทขี่ ายสินคา บริการ ประเภทเดยี วกันหรือไม ถา มีจะแกป ญหาอยางไร

3. สํารวจความพรอ มของตนเองในทุกดาน เชน ดา นความรู ความสามารถในอาชีพ ดา นปจ จัย
การผลติ ตา ง ๆ วามีความพรอ มหรอื ไม อยางไร ถาไมพรอมจะแกป ญ หาอยา งไร

4. ศึกษาความเปนไปไดข องอาชพี จะตองพจิ ารณาวาอาชีพทีเ่ ลือกน้นั จะทําใหรายไดมากนอย
เพยี งใด คมุ กับทนุ ท่ลี งไปหรอื ไม จะใชเ วลาเทา ใดจึงจะคุมทุน รายไดห รือกาํ ไรเพียงพอจะเล้ียงชีพ
หรอื ไม หากรายไดไ มเ พียงพอจะแกปญ หาอยางไร เมอื่ ไดศ ึกษารวบรวมขอ มูลดงั กลาวแลว และเห็นวามี
แนวทางจะดําเนนิ โครงการได ก็เรมิ่ ลงมือเขียนโครงการการประกอบอาชพี ตามหวั ขอ ท่กี ําหนด

ตวั อยา ง การเขยี นโครงงานการประกอบอาชีพ
1. ช่อื โครงการ โครงการจาํ หนา ยอาหารสําเร็จรปู
2. ชอ่ื ผูดําเนินโครงการ.......................................
3. ชอ่ื อาจารยที่ปรึกษาโครงการ...........................
4. หลกั การและเหตุผล อาหารเปนสิ่งจําเปนสาํ หรับทกุ คน เราตองรับประทานอาหารทุกวนั

คนในหมบู า นของกลุมผูด ําเนินโครงการสว นใหญป ระกอบอาชีพนอกบาน มักไมมเี วลาประกอบอาหารเอง
ใกลห มูบ า นยงั มีสํานกั งานของเอกชนซง่ึ มพี นักงานจาํ นวนมาก แตในบรเิ วณน้ีมรี า นจําหนายอาหาร
สําเร็จรปู นอ ยคุณภาพอาหารและการบริการไมค อยดี ไมม ีรา นจําหนา ยอาหารสําเรจ็ รปู ทม่ี ีคณุ ภาพดี และ
ราคาปานกลาง สมาชิกของกลมุ มคี วามสามารถในการประกอบอาหารไดด ี และบริเวณบา นของสมาชกิ มี
สถานท่ีกวา งเหมาะท่จี ะจดั เปน รา นจําหนา ยอาหาร จงึ ไดจ ดั ทําโครงการจําหนา ยอาหารสาํ เรจ็ รปู

5. วัตถุประสงค
1. เพอ่ื ใหม ีประสบการณใ นการประกอบอาชพี จาํ หนายอาหารสําเร็จรปู
2. เห็นชองทางและมคี วามรูความสามารถในการประกอบอาชพี จาํ หนา ยอาหารสําเรจ็ รปู
3. สามารถนาํ ความรทู ีไ่ ดจ ากการเรียนและประสบการณก ารปฏบิ ตั ิโครงงานอาชพี ไปใช

ประโยชนในการประกอบอาชีพไดอยา งเหมาะสม

32

6. เปา หมาย
ดานปริมาณ ปรงุ และจาํ หนายอาหารสาํ เรจ็ รูปในวันเสารและวนั อาทิตย
ดานคณุ ภาพ นกั เรยี นทุกคนในกลมุ เหน็ ชองทางในการประกอบอาชพี และพัฒนาการ
ประกอบอาชีพไดอ ยา งเหมาะสม

7. ระยะเวลาดําเนินโครงการตลอดโครงการตง้ั แตเ ปด ภาคเรียนจนถึงปดภาคเรยี น
(20 พฤษภาคม - 30 กนั ยายน และ 1 พฤศจิกายน – 15 มีนาคม )

8. สถานทีป่ ระกอบอาชพี บา นเลขท.่ี ....หมทู ่.ี ....ตาํ บล............อําเภอ.............จงั หวัด................
9. งบประมาณ

9.1 แหลงเงนิ ทุน เงินสะสมของสมาชกิ กลมุ คนละ 1,000 บาท
9.2 จํานวนเงินทุนเริม่ โครงการ 15,000 บาท
9.3 ทรพั ยสนิ ถาวร โตะ เกา อี้ ถวย ชาม และเครือ่ งครวั สวนหน่ึงยมื ใชช ่ัวคราว / จัดซอ้ื
9.4 ทรัพยสนิ ส้นิ เปลอื ง อาหารสด ซื้อเปนรายวนั

9.5 เงนิ ทนุ ขยายกิจการ หากกจิ กรรมประสบความสําเร็จก็จะนํากําไรมาขยายกจิ การ
9.6 กาํ ไร (คาดการณ) ในระยะเร่ิมแรกมกี าํ ไรประมาณวนั ละ 300-500 บาท
10. ขน้ั ตอนการดาํ เนินงาน
1. การเตรยี มการ

- ศึกษาสาํ รวจขอ มูล
- เขียนโครงการ
- ขออนุมตั ิโครงการ
- เตรียมหาทุน
- กําหนดรายการอาหารทีจ่ ะปรงุ จาํ หนาย
- ประชาสมั พันธใ หล ูกคาเปา หมายทราบ
2 การเตรยี มสถานที่
- จัดตกแตง สถานท่ี
- เตรยี มวสั ดอุ ุปกรณ
3 ข้นั ตอนการดาํ เนินงานอยางละเอียด
- ศึกษาหาความรเู บื้องตน เกีย่ วกบั การปฏิบตั งิ านอาชีพ
- ศกึ ษาสํารวจขอมลู ตาง ๆ เพอื่ สาํ รวจความสนใจประกอบการเลอื กอาชีพ
- วิเคราะหข อ มูล
- ตัดสินใจเลือกอาชพี
- ศกึ ษาวธิ ีเขยี นโครงงานอาชีพ
- ขออนมุ ัติโครงงานอาชพี

33

- ศึกษาคน ควาหาความรูเพมิ่ เตมิ
- กําหนดรายการอาหารทจี่ ะจาํ หนา ย
- ประชาสัมพนั ธบอกกลุมลกู คา เปาหมาย
- เตรียมอุปกรณก ารปรงุ อาหาร ภาชนะตา ง ๆ
- ตกแตงสถานที่
- ลงมอื ปรุงอาหารจําหนา ย โดยสับเปล่ียนหมุนเวียนการปฏิบัติหนาที่ดังนี้ ซ้ืออาหาร
สด
ตกแตง / ทําความสะอาดรา น / ลา งภาชนะ บรกิ ารลูกคา เก็บเงิน – ทาํ บัญชี
- ประเมินการปฏิบัตงิ านเปน รายวัน / รายสปั ดาห
- ประเมินสรุปเมือ่ ปฏบิ ัติงานเสรจ็ สิน้
- เสนอแนะแนวทางการพฒั นาอาชีพ
11. ปญหาและแนวทางแกไข
11.1 ปญ หา ท่ีคาดวาจะเกดิ ขน้ึ ระหวางปฏิบัตงิ าน

1) ลูกคามไี มเปนไปตามเปา หมาย
2) ประสบการณใ นการจําหนา ยสนิ คา ไมเพียงพอ
11.2 แนวทางแกไข
1) นาํ อาหารสําเรจ็ รูปใสถ งุ ไปจําหนา ยตามบา น / ชุมชน
2) ขอคาํ แนะนาํ จากอาจารยท ปี่ รกึ ษาเปน ระยะ
12. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ
12.1 ดานความรูและประสบการณ นักเรียนทุกคนมีประสบการณในการประกอบอาชีพ
เหน็ ชองทางในการประกอบอาชีพในอนาคต
12.2 ดา นผลผลิต ทรัพยสิน กําไร นักเรียนมีรายไดระหวางเรียน ทําใหเห็นคุณคาของ
การประกอบอาชีพ แบง เบาภาระผูปกครอง

ลงชอ่ื ผูเสนอโครงการ…………………………………..

34

โครงการการประกอบอาชพี ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
การจดั ทําโครงงานการประกอบอาชีพ มคี วามสําคัญ และจาํ เปนตอการประกอบอาชีพเพราะถือวาได

มกี ารวางแผน กอนลงมอื ปฏิบัติ ความผิดพลาดท้ังหลายยอมนอยลงโดยเฉพาะการวางแผนการดําเนินงาน
นั้นจะมีความชัดเจนเกี่ยวกับ แผนการผลิต แผนการลงทุน และแผนการตลาด การจัดทําโครงงานการ
ประกอบอาชีพที่ดี ยอมทําใหการประกอบอาชีพบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายท่ีกําหนดไว
มีระบบการทํางาน และลดการทํางานท่ีซ้ําซอนกัน ทําใหการใชทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
ชวยใหเจาของกิจการมีความเชอ่ื ม่ันในการบรหิ ารงาน และเม่อื เกดิ ปญหาขึ้นก็สามารถแกไ ขปญหาได

อยางดี เพราะมีการวางแผน และคิดอยางรอบคอบมาแลว ชวยใหเจาของกิจการสามารถตรวจสอบ
ข้นั ตอนการดาํ เนนิ งาน และความสาํ เร็จ ของเปา หมายไดอยา งตอ เนื่อง

การจัดทาํ โครงงานการประกอบอาชพี สามารนําหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงมาประยุกตใช
ในการวางแผน การดําเนินงานได โดยจะเหน็ ไดว า “เศรษฐกิจพอเพียงจริงๆ คือหลักการดําเนินชีวิตที่จริง
แทท ส่ี ดุ กรอบแนวคิดของหลักปรัชญามุงเนนความม่ันคงและความยงั่ ยนื ของการพัฒนา อันมีคุณลักษณะ
ที่สําคัญ คือ สามารถประยุกตใชในทุกระดับ ตลอดจนใหความสําคัญกับคําวา ความพอเพียง ท่ี
ประกอบดวย ความพอประมาณ ความมเี หตมุ ีผล มีภูมคิ ุมกนั ท่ีดีในตัว ภายใตเงื่อนไขของการตัดสินใจและ
ก า ร ดํ า เ นิ น กิ จ ก ร ร ม ท่ี ต อ ง อ า ศัย เ งื่ อ น ไขค วา ม รู แ ล ะ เ งื่ อ น ไข คุณธ ร ร ม ” ห รื อ ที่ เ รี ย ก ว า
3 หวง และ 2 เงอ่ื นไข ดงั นี้

ความพอประมาณ ไดแ ก เรยี บงาย ประหยดั การทําอะไรท่ีพอเหมาะพอควร สมดุลกับอัตภาพ
ศักยภาพของตนและสภาวะแวดลอม ตามความสามารถของแตละคน พอประมาณกับภูมิสังคม
ส่ิงแวดลอม สถานการณ การทํางานทุกอยางตองเรียบงาย ประหยัด อยาทํางานใหยุง ทําใหงายตอการ
เขาใจ มีกาํ หนดการทาํ งานตามลาํ ดับขัน้ ตอน และมีการปฏิบัติชัดเจน เชน การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ตองรูวานักศึกษาตองการอะไร ผูใชบัณฑิตตองการอะไร เพราะทุกกิจกรรม ทุกงานท่ีทํามีตนทุน
อยาทาํ งานทงิ้ ๆ ขวา ง ๆ การทํางานตองมปี ระโยชน มผี ลผลติ ทเี่ กิดขน้ึ

ความมเี หตผุ ล คอื การคิด ฟง ปฏิบัติ การทํางานตองใชหลักความรูในการทํางาน วางแผนงาน
ตองระมัดระวัง ตองใชหลักวิชาการชวยสนับสนุน อยาใชความรูสึกและอารมณในการทํางาน ทุกคนมี
ศักยภาพในการทาํ งาน การพฒั นาตวั เองตอ งเกิดขึน้ จากภายในตัวเองของแตละคน จึงตองแสดงศักยภาพ
ออกมาใหไ ด

มรี ะบบภูมิคุมกนั ในตวั ทีด่ ี คือ ตองมีแผนกลยทุ ธ เชน เปน อาจารยตองมีแผนการสอน องคกรตอง
มแี ผนกลยทุ ธ เปนตน การทํางานตองใหเกิดประโยชนสูงสุด ตองมองภาพรวม ทุกคนมีสวนรวม คือการ
ประสานงาน และการบรู ณาการปรบั วิธีการทาํ งาน หนวยงานองคกรตอ งมธี รรมาภบิ าลเพือ่ เปนการสรา งภมู ิ
คุนกนั ภายในตัว

35

มคี วามรู การเรยี นรูเปนอีกปจ จยั หนึ่งทีท่ กุ คนมักจะมองขา มไป เมอื่ คิดวาตนเองมีความรูเพียงพอ

แลว แตใ นความเปนจรงิ แลว ทกุ อาชพี ยอ มตอ งมีการเรียนรูอยางตอเน่ือง เพ่ือเพิ่มพูนทักษะ เพื่อแสวงหา

ความรูใหม ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตาง ๆ ท่ีเกี่ยวของอยางรอบดาน ความรอบคอบที่จะนําความรู

เหลาน้ันมาพิจารณาใหเช่ือมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในข้ันปฏิบัติ หรือ

แมแตใ หต นเองมคี วามตระหนกั ที่จะลบั ความรขู องตนใหแ หลมคมอยูเ สมอ เพ่ือความกาวหนาในหนาท่ีการ

งาน

มีคุณธรรม การประกอบอาชีพตองสัมพันธเกี่ยวของกับบุคคล สังคมและส่ิงแวดลอมอยาง
หลีกเล่ยี งไมไ ด เพอ่ื ใหก ารประกอบอาชพี ประสบผลสาํ เรจ็ ตามเปา หมาย ไดร บั การสนับสนุนจากผเู กีย่ วขอ ง
ผรู วมงาน และลกู คา ผปู ระกอบอาชพี ตองมคี ุณธรรม ดงั นี้

- ความขยัน อดทน คือความตั้งใจเพียรพยายามทําหนาท่ีการงาน การประกอบอาชีพ
อยางตอ เนื่อง สม่าํ เสมอ ความขยนั ตอ งปฏบิ ตั คิ วบคูกับการใชสตปิ ญญา แกปญ หาจนงานเกิดผลสาํ เร็จ
ผูทีม่ ีความขยนั คือผูทต่ี ้ังใจประกอบอาชีพอยางจรงิ จงั ตอเนอื่ ง ในเรอ่ื งท่ีถูกท่ีควร มีความพยายามเปนคน
สงู าน ไมท อ ถอย กลา เผชิญอุปสรรค รักงานทท่ี าํ ตง้ั ใจทาํ หนาที่อยา งจริงจงั

- ซ่ือสัตย คอื การประพฤติตรง ไมเ อนเอียง จรงิ ใจไมมีเลห เ หล่ียมผูท มี่ ีความซื่อสัตย คือ
ผูท่ีประกอบอาชีพตรงไปตรงมา ไมคดโกง ไมเอาเปรียบผูบริโภค ไมใชวัตถุท่ีเปนอันตราย และคํานึงถึง
ผลกระทบกับสภาพแวดลอ ม

- ความอดทน คอื การรักษาสภาวะปกติของตนไวไ มว าจะกระทบกระทงั่ ปญหาอุปสรรค
ใด ผูมีความอดทน ในการประกอบอาชีพ นอกจากจะอาศัยปญญาแลว ลวนตองอาศัย ขันติ หรือความ
อดทนในการตอ สแู กไขปญหาตางใหงานอาชีพบรรลุความสําเรจ็ ดวยกนั ทง้ั สิน้

- การแบงปน / การให คอื การแบงปน สิง่ ที่เรามี หรือส่ิงท่ีเราสามารถใหแกผูอื่นไดและ
เปนประโยชนแ กผ ทู ีร่ บั การใหผูอ่ืนท่ีบริสุทธ์ิใจไมหวังสิ่งตอบแทนจะทําใหผูใหไดรับความสุขท่ีเปนความ
ทรงจําที่ยาวนาน การประกอบอาชีพโดยรูจักการแบงปนหรือใหส่ิงตาง ๆ ท่ีสามารถใหไดแกลูกคาและ
ชุมชนของเรายอ มไดร ับการตอบสนองจากลกู คา ในดา นความเช่ือถอื

โครงงานการประกอบอาชีพ สามารถนําหลักเศรษฐกิจพอเพียงมาใชในการบริหารจัดการไดจริง

ดังจะเห็นไดว า เศรษฐกจิ พอเพียงไมไ ดทาํ ใหเ ราอยูรอดไปวนั ๆ เทานนั้ แตจ ะทาํ ใหเรามคี วามสขุ อยา งยั่งยนื

และยงั พฒั นาตนเองใหรํา่ รวยข้ึนไดด ว ย ซงึ่ เปนการร่ํารวยอยางยั่งยืนแบบพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ

การมีความพอประมาณ มีเหตุมีผล และมีภูมิคุมกัน ในดานการบริหารธุรกิจ เราก็ตองดูกอนวา เปาหมาย

ธุรกิจของเราคืออะไร มีแผนการอยางไร ในการดําเนินตามแผน โดยท่ีไมใชจายมากเกิน

ความจําเปน แตอะไรที่จําเปนเราก็ควรจะจาย อะไรที่ไมจําเปนเราตองลดรายจายสวนน้ันลง นี่ก็เปน

การใชจา ยเงนิ ดว ยความพอประมาณ

36

นอกจากนั้น เราก็ตองมีเหตุผลดวย บริหารธุรกิจอยางมีเหตุผลอะไรที่จําเปนหรือไมจําเปนก็ตอง
พจิ ารณาใหดี ไมใชวาเห็นคนอื่นทําอะไรก็ทําตาม คนอื่นโปรโมชั่นพิเศษอ่ืนๆ ก็ทําตามคนอื่นโฆษณาก็ทํา
ตาม ซ่ึงน่ีเปนการใชความรูสึกนึกคิดตัดสินปญหา ไมไดใชเหตุผลเลยดังนั้นเราตองมีเหตุผลดวย
ในการทําอะไรสักอยางก็ตองพิจารณาใหละเอียดถ่ีถวนดูวาเหมาะสมกับธุรกิจของเราหรือไม สมควรทํา
หรอื ไม และถา ทาํ เชน นั้นแลวจะเปน อยา งไร

เม่ือเรามีความพอประมาณ มีเหตุผล แลวก็ตองมีภูมิคุมกันดวย ธุรกิจของเราจะมีภูมิคุมกันที่
แขง็ แรง จงึ จะอยูรอดไดอยางย่ังยืนเพราะถาเราไมมีภูมิคุมกันในดานตางๆ เวลาเกิดปญหาอะไรข้ึนธุรกิจ
ของเราก็จะออนแอลง กําไรลดลงกระแสเงินสดลดลง ถาถึงขั้นรายแรงอาจจะทําใหธุรกิจจบลงไปเลยก็
เปนได ตัวอยา งเชน เรามแี ผนธรุ กจิ และทกุ อยางเปนไปตามแผน แตเราก็ยังเตรียมแผนสํารองไวดวย เผ่ือ
เกิดความผดิ พลาดหรอื บางทเี ราเหน็ วาธุรกจิ ของเรามกี ระแสเงนิ สดท่ีไหลเวยี นดี แตเ รากย็ งั กันเงินบางสวน
ไว เผ่อื เกดิ ปญ หาดา นการเงนิ ซึง่ เราไมไ ดคาดคดิ ...ดงั ท่ีกลา วมาก็เปน การสรางภมู คิ มุ กนั ใหกบั ธรุ กิจของเรา
ไดเ ชน กัน

เศรษฐกิจพอเพียงจึงไมใชเพียงแคการปลูกพืช เลี้ยงสัตว หรือการใชชีวิตตามชนบทเทาน้ัน
แตเ ราสามารถนาํ หลักเศรษฐกจิ พอเพยี งมาบริหารธรุ กิจ เพอ่ื ใหธ ุรกิจของเราอยูรอดและเติบโตอยางยั่งยืน
ตลอดไป

การทาํ งาน จงึ ตองยึดความพอเพียง ประกอบดวย ความมีเหตุผล ความพอประมาณ และระบบ
ภูมคิ มุ กันในตัวที่ดี มกี ระบวนการพัฒนาทยี่ ึดคุณธรรม ความเพยี ร ความรอบรู ความซอื่ สัตยส จุ รติ ใหเ ขา จติ
ใตส ํานกึ การทํางานกับมนษุ ยต อ งใชหลักการ หลักวิชาการใหสอดคลองกับภูมิสังคม คือภูมิประเทศและ
ส่ิงแวดลอม ตองปรับกระบวนการทํางาน การบริหารจัดการ ตองคํานึงถึงผูมีสวนไดสวนเสีย
การยอมรับจากเพื่อนรวมงานในองคกร เพ่ือขับเคลื่อนการทํางานใหไปสูความสําเร็จ เพื่อใหบรรลุ
วตั ถปุ ระสงคท ก่ี ําหนดไว

กิจกรรมที

. ให้นกั ศึกษารวมกลุ่ม – คน หาขอ้ มูลบุคคลทีประสบความสาํ เร็จในอาชีพทียึดหลกั
ความพอเพียง โดยบุคคลนีอาจอย่ใู นพืนทีหรือบริเวณใกลเ้ คียงก็ได้ จากนันให้นาํ ขอ้ มูลดงั กล่าวมา
รายงานแลกเปลยี นกนั ในชนั เรียน

. ให้ผูเ้ รียนแต่ละคนพิจารณาความพร้อมในการเลือกอาชีพของตนตามหลกั เศรษฐกิจ
พอเพยี งพร้อมเขียนออกมาเป็นรายงานนาํ เสนอหนา้ ชนั เรียน จากนนั ใหเ้ พือนนกั ศึกษาร่วมวจิ ารณ์ และ
เกบ็ บนั ทึกนีไวใ้ นแฟ้ มสะสมผลงานของนกั ศึกษาเอง

37

บทที่ 4
เครือขา ยดาํ เนนิ ชีวิตแบบพอเพยี ง

สาระสาํ คัญ

การสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล
ชมุ ชนท่ีประสบผลสาํ เร็จสามารถดาํ เนินการไดห ลากหลายวิธี เชน การประชาสัมพันธผานส่ือตางๆ จัดต้ัง
เปนศูนยศึกษาเรยี นรู ศนู ยฝ กอบรม สรางเครอื ขาย จดั งานมหกรรมประจาํ ป เปนตน

การสรางเครือขายการประกอบอาชพี และการดําเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เปนการสรางความเปนอันหน่ึงอันเดียวกันและรวมกันทํางานขององคกรทางสังคมทุกฝาย เชน สถาบัน
ครอบครวั สือ่ มวลชน องคก รเอกชน องคก รภาครฐั ฯ ในการขับเคล่ือนปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปสู
การประกอบอาชพี และการดาํ เนินชวี ติ ไดจรงิ อยา งเปน รปู ธรรม

ผลการเรียนรทู ่คี าดหวัง

แนะนํา สง เสรมิ สมาชิกในครอบครัวและชุมชนใหเห็นคณุ คาและนาํ ไปปฏิบตั ิในการดําเนนิ ชีวติ

ขอบขา ยเน้อื หา

เรื่องที่ 1 การสง เสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ของบุคคล ชุมชน ทปี่ ระสบผลสําเรจ็

เรื่องท่ี 2 การสรางเครือขา ยการประกอบอาชพี และการดําเนินชีวิต ตามหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

เรอ่ื งท่ี 3 กระบวนการขบั เคลือ่ นเศรษฐกจิ พอเพียง

38

เรอื่ งที่ 1 การสง เสรมิ เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัตติ ามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี งของบคุ คล ชุมชน ทปี่ ระสบผลสําเรจ็

การสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏบิ ัติ ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบุคคล
ชุมชน ทป่ี ระสบผลสําเรจ็ น้นั มหี ลายองคก ร หลายหนวยงาน ท้ังภาครัฐ และเอกชน ทีด่ าํ เนินการสงเสริม
เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติของบุคคล ชุมชนท่ีนอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของ
พระบาทสมเดจ็ พระเจาอยูหัวฯ ไปเปนแนวทางในการดําเนินชีวิต และการแกไขปญหาของชุมชน อาทิ
เชน

1. สาํ นักงานทรัพยสินสวนพระมหากษตั รยิ 
2. สาํ นักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสงั คมแหงชาติ
3. สํานกั งานคณะกรรมการพเิ ศษ เพ่ือประสานงานโครงการอันเนอื่ งมาจากพระราชดําริ
4. มูลนธิ ชิ ัยพฒั นา
5. มลู นธิ ิประเทศไทยใสสะอาด
6. มูลนิธสิ ยามกมั มาจล (ธนาคารไทยพาณชิ ย)
7. กระทรวงศึกษาธิการ
8. สาํ นกั นายกรฐั มนตรี (ชมุ ชนพอเพียง) ศนู ยเ ครอื ขายศนู ยเ รียนรูเ ศรษฐกิจพอเพยี งชมุ ชนฯลฯ
นอกจากน้ียังมีองคกรอิสระที่ดําเนินการสงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติ ตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของบคุ คล ชุมชน ที่ประสบผลสําเร็จ ไดแก สถาบันเศรษฐกิจพอเพียง ที่ได
ระดมความรวมมือจากทุกฝายในการขับเคลื่อน การแกวิกฤตชาติ โดยการนอมนําศาสตรของ
พระบาทสมเด็จพระเจาอยหู ัวฯ มาสกู ารปฏิบตั ิ จดั ตง้ั ข้นึ จากการประชมุ หารือกัน ณ โครงการสวนพระองค
สวนจติ รลดาของ 4 องคกร ไดแก โครงการสวนพระองคสวนจิตรลดา โครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอัน
เน่อื งมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา สยามบรมราชกุมารี โครงการสงเสริมกสิกรรมไร
สารพษิ และมลู นิธิกสิกรรมธรรมชาติ เมอื่ วนั ท่ี 23 ธนั วาคม 2545
การดาํ เนนิ งานทผ่ี านมา สถาบนั ฯ ไดเปนศนู ยกลางในการสรางเครือขายขยายผลใหม กี ารเรียนรู
การฝก อบรม ไปสูการปฏิบัตแิ ละการดาํ รงชีวิตของประชาชนบนพืน้ ฐานเศรษฐกิจพอเพียง โดยมีผลงานดา น
ตางๆท่ผี า นมาดงั นี้
• งานจัดตง้ั และพฒั นาศูนยฝ ก อบรม โดยสามารถจัดตั้งศูนยฝกอบรมภายใตเครือขายเศรษฐกิจ
พอเพยี งไดกวา 120 ศนู ยฝก อบรมทั่วประเทศ
• งานฝก อบรม ณ ศูนยฝก อบรมเครอื ขา ยเศรษฐกิจพอเพียง และการจัดทีมวทิ ยากรเพ่อื ฝกอบรม
นอกสถานที่ใหกับหนว ยงานตางๆ ทั้งภาครฐั และเอกชน รวมถงึ ประชาชนท่วั ไป
• งานเผยแพร ประชาสัมพันธ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและศาสตรอ่ืนๆของพระราชาใน
การแกว ิกฤตของประเทศ ผา นสื่อตางๆ อาทิเชน สื่อโทรทัศน รายการคนหวงแผนดิน รายการจารึกไวใน
แผนดิน รายการเวทีชาวบา น รายการคนละไมคนละมือ รายการ 108 มหัศจรรยพอเพียง รายการทําดใี ห
พอ ดู รายการคนพอเพียง รายการคลินิกเถาแก ละครเรือ่ งหวั ใจแผนดนิ และอ่นื ๆอกี มากมายสอื่ สงิ่ พิมพ

39

บทความหนงั สือพิมพคมชดั ลึก “พอแลว รวย” ทุกวนั เสาร หนงั สอื /แผนพบั เผยแพรอ งคค วามรูและการ
ดาํ เนนิ งานของเครือขา ยอยางตอ เนอ่ื ง ส่ืออ่นื ๆ เส้ือ สติกเกอร วีซดี ี กระเปา และผลิตภัณฑต างๆ ทผ่ี ลติ ข้นึ
เองภายในเครือขา ย

• กิจกรรมเพื่อเผยแพรหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและดึงแนวรวมการขับเคล่ือน
สรู ูปธรรมการปฏิบัตจิ ริงในรปู แบบเบญจภาคี

- งานมหกรรมคนื ชวี ติ ใหแ ผนดินในเดอื น มนี าคม ของทุกป
- งานมหกรรมเศรษฐกจิ พอเพยี งในการอนรุ ักษท รัพยากรท่ีรวมกับโครงการอนรุ กั ษพนั ธกุ รรมพืชอัน
เนอื่ งมาจากพระราชดําริ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารีทกุ ๆ 2 ป
- งานกจิ กรรมฟน ฟลู ุมน้ําและทะเลไทย เพ่ือฟนฟูปาตน นํ้า กลางนํ้า ปลายนํ้า และทองทะเลตาม
หลกั การทรงงานของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ฟนฟูสัมมาชีพใหเต็มแผนดินต้ังแตภูผาสูมหานที ให
ครอบคลุม 25 ลุม นาํ้ ทวั่ ประเทศ โดยไดดาํ เนินงานไปแลว ในลุมน้ําภาคใต ภาคตะวนั ออก และภาคกลาง
• การสถาปนามหาวิชชาลยั เพอื่ พอ ในการฟน ฟปู ฐพีไทยดว ยศาสตรของพระราชา ดวยความรวมมือ
ของเบญจภาคี โดยมีการจัดตั้ง โพธิวิชชาลัย ณ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ จ. สระแกว
ในป 2550 และมีเปาหมายในการจัดตั้ง โพธิวิชชาลัย ณ สถานท่ีอ่ืนๆท่ัวประเทศ เพื่อเปนท่ีรวมและ
ถา ยทอด องคค วามรูศาสตรข องพระราชา ใหเ ตม็ แผน ดิน
และนอกจากนี้ยังมีเว็บไซต ที่สงเสริม เผยแพร ขยายผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง เชน
1. http://www.chaipat.or.th/
2. http://www.rdpb.go.th/RDPB/front/king.aspx
3. http://longlivetheking.kpmax.com/
4. http://www.sufficiencyeconomy.org/
5. http://www.nesdb.go.th/

40

กรณีตวั อยา งบคุ คล ชมุ ชน ทป่ี ระสบผลสาํ เร็จและไดร บั การเผยแพร ผลงานการปฏบิ ตั ติ ามหลักปรัชญา
ของเศรษฐกิจพอเพยี ง

1. บุคคลท่ีประสบผลสําเร็จและไดรับการเผยแพร ผลงานการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง
คณุ สมบูรณ ศรสี ุบัติ

หากเอยช่ือ คุณสมบูรณ ศรีสุบัติ หลายคนอาจไมรูจัก
แต ถา พู ดถึง"สวนลุงนิ ล" ซ่ึ งเป น "ศูนยกสิ กรรมธรรมชาติ พื ช
คอ น โ ด ๙ ชั้ น " ชา วบ า น แ ห ง บ า น ท อ น อ ม ห มู ที่ ๖ ตํ า บ ล
ชองไมแกว อําเภอทุงตะโก จังหวัดชุมพร และเกษตรกรสวนใหญใน
จังหวัดชุมพรคงเคยไดยินชื่อบุคคลผูน้ีที่ไดรับการยอมรับจากหลาย
หนว ยงานวา เปนเกษตรกรตวั อยาง ทมี่ ีชีวิตนา สนใจเปนอยางมาก เพราะ
บุคคลผนู มี้ ีความรูแคช้ันประถมปที่ 4 เคยมีอาชีพเปนชางตัดเส้ือ เปน
เจาของรานอาหาร ๙ แหง และเคยเปนเจาของสวนทุเรียนท่ีประสบ
ปญหาจนมีหน้ีสินกวา ๒ ลานบาท แตเขาก็สามารถเปล่ียนชีวิตของตนดวยการยึดหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง และการทําเกษตรทฤษฎใี หม ตามแนวพระราชดํารพิ ระบาทสมเด็จพระเจา อยูห วั จนสามารถปลด
หน้ี และกลายเปน ผูท่มี รี ายไดป ล ะนับลา นบาทเลยทีเดียว
จุ ด เ ป ลี่ ย น ที่ ทํ า ใ ห คุ ณ ส ม บู ร ณ เ ป น เ ก ษ ต ร ก ร ผู ป ร ะ ส บ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ แ ล ะ คื น วั น นั้ น คื อ
วันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๔๐ ไดเปดทีวีดู พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ มีพระราชดํารัสเร่ืองหลักเศรษฐกิจ
พอเพียง และการทําเกษตรกรรมทฤษฎีใหม ตนฟงแลวถึงกับน้ําตาไหลและยกมือไหวทวมหัว และ
เหมือนกบั การจดุ ประกายใหเ กิดความคดิ ท่ีจะทาํ ตาม โดยเขียนปายเอาไววา "จะขอตามเทาพอ" พอต่ืนเชา
ก็เริม่ ตนสํารวจตวั เองแลว พบวา รูรัว่ ทใ่ี หญท ่ีสดุ ท่ีทาํ ใหก ารทําสวนของตนมีปญ หาคอื เงินทใ่ี ชซ้ือปุยเคมปี ล ะ
หลายแสนบาท เมื่อรูเชนนั้นจึงหยุดการซ้ือปุยทุกชนิดทันที แลวหันมาใช EM หรือนํ้าจุลินทรียท่ีเปน
ประโยชนตอ พืชแทน ทาํ ใหป ระหยดั คา ใชจา ยในการซ้ือปยุ พรอมทง้ั หันมาใชว ธิ ีปลกู พชื หม ดนิ ตามแนวทาง
ของในหลวง "ตามหลกั เศรษฐกจิ พอเพียงของพระองค ทรงแนะวาการทําสวนอยาเปลือยดิน ควรปลูกพืช
หมดินเอาไว จงึ เปลย่ี นความคิดใหม จากสวนท่ีไมมหี ญา แมแตต น เดยี ว กลายเปน สวนทีป่ ลอ ยใหห ญาขึ้นรก
ไปหมด ตรงไหนเปนท่ีวางก็เอาใบตองหรือเศษใบไมใบหญาไปปดเอาไวพรอมยึดหลักลดรายจาย เพ่ิม
รายได ขยายโอกาส นนั่ คอื ปลูกพชื ท่ีเราชอบกนิ แซมตามท่ีวางระหวางตน ทุเรียน เชน ปลูกตนสมจ๊ีด ปลูก
กระชาย ปลูกกลวยเล็บมือนาง พรอมท้ังเลิกการใชสารเคมีทุกชนิด พอผานไปประมาณ ๑ ป ชีวิตก็เร่ิม
เปลีย่ น มีเงนิ เหลอื จึงนําไปปลดหนี้ ใชเ วลาประมาณ ๖ ป หนีท้ มี่ ีอยู ๒ ลาน

41

ก็สามารถใชคืนเขาไดหมดแลว" คุณลุงนิล เลาอยางภาคภูมิใจ หลังปลดหน้ีไดแลวคุณลุงนิลทราบวา
ที่ชมุ พรคาบานา รสี อรท ตําบลสะพลี อําเภอปะทิว จังหวัดชุมพร มีศูนยการศึกษากสิกรรมธรรมชาติตาม
หลกั เศรษฐกิจพอเพียง จึงสนใจและเดินทางไปขอศกึ ษาดว ย หลังจากจบการอบรมแลว คิดวาตนไดรับ
ความรูม ากกวา ทคี่ าดเอาไว เชน ไดส ตู รในการทําน้ําชวี ภาพตางๆ รจู ักวธิ ีปลูกพชื หมดินทถ่ี กู ตอง วิธีการ
รีไซเคิลขยะกลับมาใชประโยชนไดอีก การทําปุยชีวภาพ ทงั้ ปยุ หมัก ปุยนา้ํ และแนวทางกสิกรรม
ธรรมชาตอิ กี มากมาย "สง่ิ ภาคภูมใิ จมากในขณะนี้ก็คือ การทาํ พชื คอนโด ๙ ชน้ั นัน่ คือ การปลูกพืชเปน
ชน้ั ๙ ช้นั โดยช้นั ที่ ๑ คือ การขุดบอ เลีย้ งปลา พรอ มกบั ปลกู พืชน้ําอยา งผักกระเฉด ผกั บุง บวั
ช้ันท่ี ๒ คอื การปลกู พืชจาํ พวกกลอย มันหอม และพชื ตระกูลหัว เชน ขม้ิน กระชาย ชนั้ ที่ ๓ ปลกู พริก
หนา ดิน และผักเหลยี ง ช้ันที่ ๔ ปลูกสม จด๊ี ชั้นท่ี ๕ ปลกู กลวยเลบ็ มือนาง ชัน้ ที่ ๖ ปลกู ทุเรยี นพนั ธุ
หมอนทอง ชน้ั ที่ ๗ ปลกู สะตอ มังคดุ ลองกอง โดยทุกตนจะปลูกพริกไทยดาํ ใหเลือ้ ยขนึ้ ไปบนตน เพือ่
เปน รายไดเสริมดว ย ช้นั ท่ี ๘ เปนสว นของธนาคารตน ไม ท่ีปลกู ไวกนิ ไวใ ช ไวจาํ หนา ยพนั ธไุ มใ ห
สมาชิก ช้นั ท่ี ๙ ปลูกไมยางนา ๓๐ ตน สูงตน ละประมาณ ๔๐-๕๐ เมตร และเพาะกลา ไว
อกี ๕๐๐ กลา ทั้งหมดนี้ลวนแลว แตเ ปน การเดินตามรอยพอทั้งส้นิ " คุณลุงนลิ กลาว

คณุ ลงุ นิล ยังเปดเผยวา นอกจากรายไดจ ากการขายทุเรยี นทเี่ ปน รายไดห ลกั แลว ยงั มรี ายไดจากพชื
ตา งๆ ท่ีปลกู แซมเขาไปในสวน นั่นคือ กลอย สามารถขายไดป ละประมาณ ๑ แสนบาท สว นกระชาย นําไป
สงโรงงานผลิตเคร่ืองแกง ปละประมาณ ๔ ตัน พรอมน้ําสมุนไพรคุณลุงนิลอีก ประมาณ ๕ ตัน ในราคา
กิโลกรัมละ ๑๒ บาท สมจี๊ดที่ใชใสอาหารแทนมะนาวมีรายไดวันละประมาณ ๒ พันบาท กลวย
เล็บมือนาง จะตัดสัปดาหละคร้ัง ครั้งละ ๑ ตัน ราคากิโลกรัมละ ๕ บาท โดยมีรานคาแถวศาลพอตาหิน
ชาง อําเภอทาแซะ ขับรถเขามารับซ้ือถึงสวน และพริกไทยดําที่ฝากไวตามตนมังคุด ตนสะตอ ตน
ลองกอง ก็ขายไดป ละประมาณ ๓ แสน

หลังประสบผลสาํ เรจ็ จากการทําการเกษตรทฤษฎีใหม ตามหลักเศรษฐกิจพอเพยี งจนสามารถปลด
หน้ีไดหมดแลว โดยลุงนิลไดดําเนินการเผยแพร แบงปน องคความรูซ่ึงไดมาจากการปฏิบิติ
โดยการจัดต้ังศูนยกสิกรรมธรรมชาติพืชคอนโด ๙ ช้ัน ณ บานหมูที่ ๖ ตําบลชองไมแกว อําเภอ
ทุงตะโก จังหวัดชุมพร ซึ่งพรอมท่ีจะเผยแพรความรูแกผูสนใจ พรอมเปดการทองเที่ยวเชิงเกษตรใน
ลกั ษณะโฮมสเตยใ นพื้นท่ี โดยมีการกอ สราง "บานดิน" ใหผ ูที่ตองการเขา มาเรียนรูไ ดเ ขา พักดว ย

42

นค่ี ือ เร่อื งราวการตอสูของ "คณุ ลุงนลิ " หรอื คณุ สมบูรณ ศรีสุบัติ เกษตรกรตวั อยางท่ไี มยอมแพตอ
โชคชะตาชีวิต โดยยดึ หลกั เศรษฐกิจพอเพยี งตามแนวพระราชดาํ ริพระบาทสมเด็จพระเจา อยูหวั
จนสามารถปลดหนปี้ ลดสิน และยืนอยไู ดด ว ยลาํ แขงตนเอง และยงั พรอ มแบง ปนสง่ิ ทตี่ นไดร ับจาก
"การเดินตามรอยพอ" ใหหลายคนทอี่ าจจะยังมองหาหนทางไมเจออยูในขณะน้ดี วย
นายเล็ก กุดวงคแกว

นายเล็ก กดุ วงคแกว เปน บคุ คลที่สมควรไดรับการยกยองในฐานะท่ีทานเปน “ปราชญชาวบาน”
และเปนผนู ําตามธรรมชาตขิ องชมุ ชน ผลงานท่ีโดดเดน ของนายเลก็ คือ การเผยแพรความคดิ ในการอนุรักษ
ทรพั ยากรธรรมชาติ โดยประยกุ ตภูมิปญญาทองถน่ิ ผสานกบั แนวคิดทางพทุ ธศาสนา แนวความคิดของนาย
เลก็ สามารถนําไปปฏบิ ตั ิและกอ ใหเ กดิ ผล อีกทงั้ ยังสัมพันธก ับวิถีเศรษฐกจิ ของชาวบาน บนพน้ื ฐาน ของการ
ใชช ีวติ อยา งพออยู พอกนิ

ปจจุบันนายเล็ก สามารถสรางเครือขายการเรียนรูเพื่อการ “พึ่งพาตนเอง พึ่งพาธรรมชาติดวย
ความเคารพ” ในกวา 300 หมบู าน 94 อําเภอ ในจงั หวัด 3 จงั หวัด และเปนคณะกรรมการและวิทยากรให
หลายหนวยงาน ท้งั ภาครฐั หนว ยงานเอกชนและองคก รชาวบา นหลายแหง ทวั่ ประเทศ

นายเล็ก กุดวงศแกว นับเปนปราชญชาวบานอีสานอีกทานหนึ่ง ที่ไดเผยแพรแนวความคิดดาน
เศรษฐกจิ พอเพียง เกษตรยั่งยืน เศรษฐกิจชุมชนและเศรษฐกิจวัฒนธรรม โดยมีรูปธรรมการปฏิบัติอยาง
ชัดเจน แนวทางการปฏบิ ตั ิดงั กลาวเกดิ จากกระบวนการเรียนรู ทไ่ี มแยกการศึกษาจากชีวิต เปนการศึกษา
เพือ่ การอยรู วมกับธรรมชาตศิ ึกษา ใหรูจกั การอยรู ว มกันดว ยความเกอ้ื กูล ศกึ ษาเพือ่ สรางเศรษฐกิจพอเพียง
ศึกษาเพื่อลดการเหน็ แกต วั และเหน็ แกผ ูอืน่ มากข้นึ เครอื ขา ยกลมุ อินแปง ท่ีนายเล็กเปนประธานเปนหนึ่ง
ในผูรว มกอตั้ง ประกอบดว ยชมุ ชน 7 อาํ เภอรอบเทอื กเขาภูพาน เปนตัวอยางของชีวิตท่ีงดงาม เปนชีวิตท่ี
ถนอมรักธรรมชาติ ถนอมรักคน ถนอมรักการอยูรวมกัน ถนอมรักวัฒนธรรม และมีจิตใจท่ีเกื้อกูลกัน อยู
อยา งไทย พึ่งพาตนเอง พง่ึ พาธรรมชาติดวยเคารพ

43

ชีวิตของนายเล็กในระยะตนไมแตกตางจากชาวบานบานบัว หรือหมูบานใกลเคียงที่ตั้งอยูเชิง
เทือกเขาภูพาน ขณะน้ันปาลดความอุดมสมบูรณไปมากจากการท่ีชาวบานถางปา เพ่ือปลูกบอตั้งแต
พ.ศ. 2507 และเพอ่ื ปลูกมันสําปะหลงั ตั้งแตป พ.ศ. 2513 นายเลก็ เองกป็ ลูกปอต้ังแตป พ.ศ. 2507 และ
เพ่ือปลูกมันสําปะหลังต้ังแตป พ.ศ. 2513 นายเล็กเองก็ปลูกปอเพ่ือขายอยู 3 ป จากนั้นเปลี่ยนมาปลูก
มันสําปะหลังอีก 3 ป ในระหวางน้ันก็เกิดต้ังคําถามวา ทําไมย่ิงปลูกพืชเศรษฐกิจ ยิ่งจน ย่ิงเปนหน้ีสิน
คาํ ตอบทน่ี ายเล็กไดรบั มาจากการพูดคุยกบั ผูเ ฒา ผแู กในหมูบานท่ีใหความคิดเรื่อง “เฮ็ดอยู เฮ็ดกิน” หรือ
การใชช ีวิตแบบพออยู พอกนิ เหมือนในอดตี

ในป พ.ศ. 2530 จงึ หันมาศกึ ษาปา ธรรมชาตบิ ทเทอื กเขาภูพานใกลบา นบวั บานเกิดและบานที่อยู
ในปจจุบัน โดยมีผูเฒาผูแกเปนผูใหความรู จากน้ันจึงจัดระบบชีวิตของตนเองและครอบครัวเสียใหม
โดยใชแนวคิด “ยกปาภูพานมาไวท่ีบาน” และความคิด “ปลูกทุกอยางที่กิน กินทุกอยางที่ปลูก” นําพืช
พ้ืนบานประมาณ 200 ชนดิ มาปลกู ในดินของตนเองประมาณ 5 ไร ไมใชสารเคมี ยาฆาแมลง ถือเปนการ
“สรา งปาใหมใหช วี ติ ” และไดข ุดสระนา้ํ 2 บอ เพ่อื เปน “แมน าํ้ สายใหมใหครอบครัว” เม่ือทดลองไดผลจึง
ขยายพน้ื ทเ่ี ปน 23 ไรเพ่ือใหพอเล้ยี งครอบครวั ซง่ึ มีสมาชิก 14 คน ในพื้นท่ีปลูกท้ังไมผล ไมใชสอย ไมยืน
ตน หลายชนิด และเลี้ยงทั้งววั ควาย ไกพ้ืนบา น ในทสี่ ุดกส็ ามารถปลดหนสี้ ินลกู หลานไมตองออกไปทํางาน
นอกบา น “พอ ฝก ใหลูกๆ ทกุ คนเปนคนประหยัด ใหขจัดวัตถุนยิ ม ใหช่ืนชมความเปนไท ไมใฝใจในการเปน
ทาส ใหสามารถพ่ึงพาตนเอง พง่ึ พาธรรมชาติดวยความเคารพเพ่ือชีวิตและสงิ่ แวดลอ ม”

ชีวติ คอื การศึกษา การศึกษาเพื่อชวี ิต
ในชวงปพ .ศ. 2530 – 2532 ศนู ยข อ มลู ทอ งถ่นิ วิทยาลัยครูสกลนคร (ปจจุบัน คือ สถาบันราชภัฏ

สกลนคร) รวมกับสถาบนั พัฒนาชนบทอสี าน ไดรวมกนั ศึกษาวิจยั กลมุ ชนชาตพิ นั ธุเผากะเลิงบานบัว ตําบล
กุดบาก โดยสง นายธวัชชัย กุณวงษ บัณฑิต อาสาสมัครเขามาศึกษาอยูในชุมชนเปนเวลา 2 ป
นายธวัชชัย กุณวงษ ไดตระหนักถึงภูมิปญญาในหมูผูนําชาวบานหลายคน เชน พอเล็ก กุดวงคแกว,
พอเสรมิ อดุ มนา, นายประหยัด โททมุ พล, นายคา กุดวงคแกว จากการต้ังกลุมพูดคุยวิเคราะหปญหาในวง
“โส” หรอื สนทนากนั อยางเปน ทางการ กอ ใหเ กิดแนวความคิดรวมกันในการแกปญหาท่ีเกิดขึ้นกับตนเอง
และชมุ ชน จงึ ไดรวมกลุม กันในป พ.ศ.2532 โดยต้ังชอ่ื กลุม วา “กลมุ กองทุนพันธไุ มพืน้ บา น” ซ่ึงในชวงแรก
ไดรวมกนั ไปศกึ ษาดงู านการเพาะพนั ธุห วายทีอ่ าํ เภอวาริชภูมิ จังหวัดสกลนคร จํานวน 30 คน สว นใหญเปน
คนบานบัว หลังจากกลบั มาจากการศกึ ษาดูงานแลว นายเล็กเปน 1 ใน 13 คนจากกลุมท่ีเร่ิมทําการเพาะ
ขยายพันธุหวายพื้นบา นเอง โดยไดร ับทุนสนบั สนุนจากมลู นิธิหมูบ า นจํานวน 2,500 บาท


Click to View FlipBook Version