นทิ านสาหรบั เด็ก
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี น
กลมุ่ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี ๓
เร่ือง เจ้าหญงิ หัวเราะ
ช่อื ผู้แตง่ นางสาวกรรณกิ าร์ ขนั ตี
ชื่อผู้วาดภาพ นายทรงยศ ไสยนิตย์
ประวัติผแู้ ต่ง ประวัติผู้วาดภาพ
ชื่อ นางสาวกรรณกิ าร์ ขนั ตี ชื่อ นายทรงยศ ไสยนิตย์
วุฒิ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย) ตาแหนง่ ครชู านาญการพิเศษ
ตาแหนง่ ครู ท่ีทางาน โรงเรยี นเทศบาลสวนสนกุ
วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
ท่ีทางาน โรงเรียนเทศบาล ๕ สหี รักษว์ ิทยา เทศบาลนครขอนแกน่
เทศบาลนครอดุ รธานี
คำนำ
นิทานเรื่อง เจา้ หญงิ หวั เราะ จัดทาขึ้นเพอื่ พัฒนาการอา่ น สร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที ่ี ๓ และใชเ้ ป็นสื่อประกอบ
แผนการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพ่ือฝกึ ให้นกั เรยี นอ่านสะกดคาไดถ้ กู ตอ้ ง อ่านไดค้ ล่อง เข้าใจความหมายของคา จับใจความสาคัญของ
เร่ือง และวเิ คราะห์เร่ืองได้ นทิ านเรื่อง เจ้าหญงิ หัวเราะ เปน็ นิทานคุณธรรมท่ีแตง่ ดว้ ยคาประพันธ์ประเภท กลอนสี่ ซ่ึงเป็นเรอ่ื งราวชวี ติ ของเจ้าหญิงผู้
สูงศักดทิ์ มี่ อี ารมณ์ และความรูส้ กึ เหมือนคนธรรมดาทั่ว ๆ ไป มรี ้องไห้ หัวเราะ คละเคล้ากนั ไป หนงั สือนิทานสาหรับเดก็ เลม่ นี้ เหมาะกับนักเรียน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ สามารถบูรณาการกับหนว่ ยการเรยี นรู้อ่นื ไดต้ ามความเหมาะสม
ในการจัดทาหนังสือนทิ านในครัง้ นี้ เสรจ็ สมบูรณไ์ ดด้ ว้ ยดี จากการส่งเสรมิ สนับสนุน แนะนาตรวจสอบความถกู ต้องจาก ผอู้ านวยการโรงเรียน
เทศบาล ๕ สหี รกั ษว์ ิทยา เทศบาลนครอดุ รธานี จงั หวัดอุดรธานี ตลอดจนคณะครูในโรงเรียนทุกคน จึงขอขอบคณุ ไว้ ณ ท่นี ด้ี ว้ ย ผู้จัดทาหวังเป็น
อยา่ งยิง่ ว่า นิทานสาหรับเด็กชดุ นค้ี งจะเปน็ ประโยชนต์ อ่ ผ้สู นใจเป็นอย่างดี
กรรณกิ าร์ ขันตี
ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
๑
เจำ้ หญิงองค์หนึ่ง ผซู้ ง่ึ สวยใส
ไมเ่ คยร้องไห้ หวั เรำะท้งั วนั
๒
พระรำชำกล่ำว เรอื่ งรำวใดนนั้
ทำให้ลกู ฉนั รอ้ งไหจ้ นได้
๓
จะยกทกุ สิ่ง เจำ้ หญิงกใ็ ห้
เจำ้ ชำยมำไกล เลำ่ เร่อื งมำกมำย
๔
จนแล้วจนเล่ำ เฝ้ำรอหญงิ ชำย
ผ้คู นหลำกหลำย เลำ่ ได้ผิดหวัง
๕
วันหนงึ่ มีชำย แตง่ กำยรงุ รงั
เขำ้ ไปในวงั เลำ่ เรอ่ื งมำกมำย
๖
กอ่ นนั้นเขำรวย มำกด้วยใช้จ่ำย
สุร่ยุ สุร่ำย จึงไดย้ ำกจน
๗
เขำเที่ยวขอทำน เนน่ิ นำนทกุ หน
ไมม่ ผี คู้ น จะเวทนำ
๘
จงึ ตอ้ งซมซำน ทำงำนเล้ียงมำ
ถกู คนแกล้งว่ำ ท้ังดำ่ ประจำน
๙
ทนสู้ตอ่ ไป ไมเ่ คยเกยี จครำ้ น
ต่อมำไม่นำน รวยไดห้ ำยจน
๑๐
แต่ยังโชคร้ำย มำกมำยโจรปล้น
ทรัพย์สินมำกล้น ถกู ขโมยหำย
๑๑
เจำ้ หญิงร้องไห้ เศร้ำใจเหลือหลำย
โถ่! ช่ำงโชคร้ำย เจำ้ ชำยของฉัน
๑๒
พระรำชำรอ้ ง เสียงก้องสุขสันต์
เจ้ำหญิงของฉนั รอ้ งไหเ้ ศรำ้ ใจ
๑๓
เรื่องรำวเจำ้ หญิง หัวเรำะร้องไห้
ทกุ ขส์ ุขปนไป ต่ำงคนมำกมี
๑๔
ชวี ติ ทกุ คน หมั่นทำควำมดี
เกษมเปรมปรดี ิ์ ทำดีดว้ ยใจ
๑๕
แบบฝึกหดั ท่ี ๑ อำ่ นสะกดคำ แจกลกู (เจำ้ หญงิ หวั เรำะ)
ลำดบั ท่ี คำ สะกดคำ แจกลกู
๑ แกล้ง กล - แ- - ง - แกลง, แกลง - - ้ - แกลง้
๒ เจา้ จ - เ - า - เจา, เจา - - ้ - เจ้า
๓ โจร จ - โ- - ร - โจร
๔ ฉนั ฉ - -ะ - น - ฉนั
๕ โชค ช - โ- - ค - โชค
๖ ด้วย ด - - วั - ย - ดวย, ดวย - - ้ - ดว้ ย
๗ นน้ั น - -ะ - น - นนั , นัน - - ้ - นัน้
๘ รวย ร - - ัว - ย - รวย
๙ เรอื่ ง ร - เ - ื อ - ง - เรอื ง, เรอื ง - -่ - เร่อื ง
๑๐ ลกู ล - - ู - ก - ลกู
๑๑ หญงิ หญ - -ิ - ง - หญงิ
๑๒ หนง่ึ หน - - ึ - ง - หนึง, หนึง - -่ - หนง่ึ
๑๓ หวัง หว - -ะ - ง - หวงั
๑๔ แห่ง ห - แ- - ง - แหง, แหง - -่ - แห่ง
๑๕ หวัง หว - - วั - ง - หวงั
๑๖
แบบฝึ กหดั ที่ ๒ อ่านคาและความหมาย
ลำดบั ท่ี คำ คำอำ่ น ควำมหมำย
๑ เกยี จคร้าน เกยี ด - ครา้ น ขี้เกียจ, ไมอ่ ยากทางาน
๒ ชวี ิต
๓ ชีวา ชี - วา กระเสีอกกระสนไปอยา่ งส้ินท่าหรือสนิ้ คิด
๔ ซมซาน ซม - ซาน วตั ถทุ ่ีมีรูปร่างและไมม่ รี ปู ร่าง เชน่ บ้าน ทดี่ ิน
๕ ทรัพย์สนิ ซบั - สนิ ความยากลาบาก, ยากจน
๖ ทกุ ขเ์ ข็ญ ทกุ - เขน็ ป่าวร้อง, แจ้งให้ทราบ
๗ ประกาศ ประ - กาด ประกาศเปดิ เผยความช่วั ให้รู้ทั่วกันด้วยวิธตี ่าง ๆ
๘ ประจาน ประ - จาน พระเจา้ แผน่ ดิน
๙ พระราชา พระ - รา - ชา อาการที่สง่ิ เปน็ เสน้ ยาว ๆ พัวพันกนั ย่งุ ยุม่ ย่าม
๑๐ รุงรัง รงุ - รงั สังเวชสลดใจ
๑๑ เวทนา เวด - ทะ - นา มคี วามรสู้ ึกสลดหดหู่
๑๒ เศรา้ ใจ เส้า - ใจ ทรพั ยส์ นิ เงินทอง ของใช้ เป็นต้นที่มอี ยู่
๑๓ สมบตั ิ สม - บัด ชอบจับจ่ายใชส้ อยส้ินเปลืองโดยไมจ่ าเป็น
๑๔ สุร่ยุ สุร่าย สุ - รุ่ย - สุ - ร่าย ส่ิงทยี่ ดึ เหนี่ยวจิต โดยผา่ นทางตา หู จมกู ล้ิน กาย และใจ
อารมณ์ อา - รม
๑๗
แบบฝึกหดั ที่ ๓ อำ่ นเขียนคำด้วยภำพ
คำชี้แจง : ดูภาพ ประสมตวั อกั ษรใหเ้ ปน็ คาทมี่ ีความหมายแลว้ เขยี นลงใน
๑ ำ
๒ ู
๓
ำ
๔แ
๕เ ำ
๑๘
แบบฝึกหดั ท่ี ๔ ตอบคำถำมจำกเรื่องท่อี ำ่ น
คำชี้แจง : ตอบคาถาม
๑. พระราชาต้องการทาใหเ้ จ้าหญิงเปน็ อย่างไร
ตอบ
๒. ชายที่ทาให้เจา้ หญิงรอ้ งไห้ยากจนเพราะเหตใุ ด
ตอบ
๓. คนทท่ี าให้เจ้าหญงิ รอ้ งไหไ้ ด้ มีลักษณะอย่างไร
ตอบ
๔. ถ้าใครทาใหเ้ จ้าหญงิ ร้องไห้ได้ พระราชาจะให้อะไร
ตอบ
๕. ให้นักเรยี นสรุปเรือ่ งที่ทาใหเ้ จา้ หญิงร้องไห้
ตอบ
๑๙
แบบฝึ กหดั ที่ ๕ เขียนแผนผังความคดิ และสรุปข้อคิด
เจ้ำหญิงหวั เรำะ
สรปุ ข้อคดิ
๒๐
แบบฝกึ หดั ที่ ๖ ตอบคำถำม
คำช้แี จง : ทาเครื่องหมาย ลอ้ มรอบขอ้ ทีถ่ ูกตอ้ งทสี่ ดุ เพียงขอ้ เดยี ว
๑. เจำ้ หญิงทำอะไรได้ทงั้ วัน ข. ร้องไห้ ค. น่ังเศรา้
ก. หวั เราะ ค. พระราชา
ค. สะอาด เรียบรอ้ ย
๒. ใครเป็นคนประกำศ หำคนทจ่ี ะทำใหเ้ จ้ำหญิงรอ้ งไห้ ค. พระราชา
ค. ไฟไหม้บา้ น
ก. พระมารดา ข. ข้าหลวง
๓. คนท่ที ำให้เจ้ำหญงิ รอ้ งไหไ้ ด้แตง่ ตัวอย่ำงไร
ก. เรียบรอ้ ย ข. รุงรัง
๔. เร่อื งทีช่ ำยแตง่ ตัวรงุ รังเลำ่ พดู ถงึ ใคร ข. หญงิ หมา้ ย
ก. ชายที่เคยร่ารวย
๕. เหตุใดชำยทเี่ คยร่ำรวยจึงยำกจน ข. ใชจ้ ่ายสุรุ่ยสรุ ่าย
ก. บรจิ าค
๒๑
๖. เหตุใดพระรำชำจงึ ร้องไชโย ข. เจ้าหญิงยม้ิ ค. เจ้าหญิงรอ้ งไห้
ก. เจ้าหญิงหวั เราะ
ค. ดีใจ และเศรา้ ใจ
๗. พระรำชำร้องไชโย เปน็ อำกำรของคนท่ีรู้สกึ อย่ำงไร ค. สงสาร
ค. ป่า
ก. ดีใจ ข. เศร้าใจ ค. ทาให้เจา้ หญงิ รอ้ งไหไ้ ด้
๘. เจ้ำหญิงรู้สึกอยำ่ งไรจึงร้องไห้ ข. เฉย ๆ
ก. ดใี จ
๙. ชำยทแี่ ต่งตัวรงุ รงั ไปทไี่ หน ข. บา้ นเศรษฐี
ก. วัง
๑๐. เหตุใดชำยท่ีแต่งตัวรงุ รงั จงึ ได้แตง่ งำนกบั เจำ้ หญงิ
ก. ทาให้เจา้ หญิงหวั เราะได้ ข. ทาใหพ้ ระราชาร้องไห้
๒๒
เฉลยแบบฝึกหดั
เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ ๓ เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี ๔
๑.สาว
๒.ลูก ๑.ร้องไห้
๓.ชาย ๒.ใช้จ่ายสุรยุ่ สรุ ่าย
๔.แต่งตวั ๓.ชายแตง่ ตัวรงุ รงั
๕.เวทนา ๔.ยกทรพั ย์สมบัติใหแ้ ละแต่งงานกบั เจา้ หญงิ
๕.เจ้าหญิงมีความรู้สึกเหมือนคนธรรมดาท่ัวไป
เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี ๕ เฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี ๖
อยูใ่ นดุลยพินิจของคุณครู
๑.ก ๖.ค
๒.ค ๗.ก
๓.ข ๘.ค
๔.ก ๙.ก
๕.ข ๑๐.ค
บรรณานุกรม
จนิ ตนา ใบซูกาย.ี (๒๕๔๒). เทคนิคการเขยี นหนังสือสาหรบั เด็ก. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.
ถวลั ย์ มาศจรัส. (๒๕๔๐). การเขียนหนังสอื สง่ เสรมิ การอา่ นและหนงั สอื อ่านเพ่ิมเตมิ . กรุงเทพฯ : บริษทั ต้นอ้อ จากดั .
ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : บริษัทนานมบี ุค๊ ส์ จากดั .
วิชาการ, กรม กระทรวงศกึ ษาธิการ. (๒๕๔๕). คู่มอื การจดั การเรยี นรู้กล่มุ สาระการเรียนรภู้ าษาไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งค์การ
รับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ.์
. (๒๕๕๑). สาระและมาตรฐานการเรยี นรูก้ ลุ่มสาระภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์องค์การรับสง่ สินคา้ และพสั ดุภณั ฑ์.
สานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพื้นฐาน, กระทรวงศึกษาธกิ าร และกรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๙).
นทิ านเสรมิ สร้างอคี ิว เด็กอายุ ๓-๕ ปี. พิมพค์ ร้ังที่ ๓. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย
จากัด.