The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง วันลอยกระทง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tookta channel, 2020-04-12 05:49:35

นิทานวันลอยกระทง

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง วันลอยกระทง

Keywords: วันลอยกระทง

นิทานสาหรบั เด็ก
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี น
กลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๓

เรอ่ื ง วันลอยกระทง

ชือ่ ผู้แต่ง นางสาวกรรณกิ าร์ ขนั ตี

ช่ือผู้วาดภาพ นายทรงยศ ไสยนิตย์

ประวัติผ้แู ต่ง ประวัติผวู้ าดภาพ
ชื่อ นางสาวกรรณกิ าร์ ขันตี ชื่อ นายทรงยศ ไสยนติ ย์
วุฒิ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย) ตาแหน่ง ครชู านาญการพิเศษ
ตาแหน่ง ครู ที่ทางาน โรงเรยี นเทศบาลสวนสนุก

วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ เทศบาลนครขอนแก่น
ท่ีทางาน โรงเรยี นเทศบาล ๕ สีหรักษว์ ิทยา
เทศบาลนครอุดรธานี

คำนำ

นิทานเรอ่ื ง วันลอยกระทง จัดทาขึ้นเพื่อพัฒนาการอา่ นและการเขียน สรา้ งนิสัยรกั การอ่านของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปีที่ ๓ และใช้
เป็นสื่อประกอบแผนการจดั การเรยี นรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อฝึกให้นกั เรยี นอ่านสะกดคาได้ถูกต้อง อ่านได้คล่อง เข้าใจความหมาย
ของคา จับใจความสาคัญของเรื่อง และวิเคราะหเ์ รือ่ งได้ นทิ านเรื่อง วันลอยกระทง เป็นนิทานเกี่ยวกับการนาภมู ิปญั ญาท้องถิ่นมาใชใ้ นชีวติ ประ
จาวัน โดยผ่านเร่ืองราวของการประดิษฐ์กระทง ท่ีใช้วัสดุที่มีในท้องถิ่นมาใช้ให้เกิดประโยชน์และสร้างรายได้ หนังสือนิทานเล่มนี้เหมาะกับ
นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๓ สามารถบูรณาการกบั หน่วยการเรียนรอู้ ่ืนไดต้ ามความเหมาะสม

ในการจัดทาหนังสือนิทานสาหรับเด็ก ในครั้งน้ี เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดี จากการส่งเสริมสนับสนุน แนะนาตรวจสอบความถูกต้องจาก
ผู้อานวยการโรงเรียนเทศบาล ๕ สีหรักษ์วิทยา เทศบาลนครอุดรธานี จังหวัดอุดรธานี ตลอดจนคณะครูในโรงเรียนทุกคน จึงขอขอบคุณไว้ ณ
ทน่ี ดี้ ว้ ย ผจู้ ดั ทาหวังเปน็ อย่างย่ิงว่า หนงั สือสาหรบั เด็กชุดนีค้ งจะเปน็ ประโยชน์ต่อผ้สู นใจเป็นอยา่ งดี

กรรณกิ าร์ ขนั ตี
ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ



ฉนั นำใบตอง สิ่งของประดิษฐ์
ครูฉนั ให้คิด ออกแบบกระทง



วนั เพญ็ คนื น้ี มีงำนเสริมสง่
สบื สำนยนื ยง ประเพณไี ทย



ดอกไมเ้ ทียนธปู เข้ำรูปจดั ไว้

ทำเสรจ็ จะได้ ไปรว่ มในงำน

ฉนั เชด็ ใบตอง ๔
แล้วนบั ประมำณ
กลว้ ยรองเปน็ ฐำน
ใช้กลบี เท่ำใด



พับกลบี นอกก่อน เรียงสลอนเอำไว้

แล้วพบั กลบี ใน เหมอื นดอกบัวบำน



นำกลบี ทเ่ี หนบ็ เย็บเข้ำกบั ฐำน

ให้ติดทนทำน เมือ่ ลอยวำรี



นำธปู เทยี นใส่ ดอกไมห้ ลำกสี
กระทงคนื นี้ สีสนั ชำวบำ้ น



เกบ็ เศษใบตอง ห้องที่เยบ็ งำน
ทกุ กล่มุ ประสำน ให้สะอำดตำ



สง่ ให้ครตู รวจ อวดภูมิปัญญำ
ครูฉันย้มิ รำ่ ชมวำ่ สวยงำม

๑๐

เพญ็ เดอื นสิบสอง ตอ้ งไหวท้ ุกยำม

แสงเดอื นอร่ำม ส่องท้องนที

๑๑

สำยนำ้ รนิ ไหล ไปทัว่ ทุกที่

นำ้ ถูกยำ่ ยี ขยะเกลอื่ นคลอง

๑๒

ขอโทษแมเ่ จำ้ เรำทำให้หมอง
เหม็นไม่นำ่ มอง จึงต้องขมำ

๑๓

เดอื นเพ็ญคนื สขุ ลูกมมี ำลำ
ถือธปู เทียนมำ พรอ้ มด้วยกระทง

๑๔

เดอื นเพญ็ คนื นี้ มีบญุ หนุนส่ง

ต้ังจติ จำนง ไดส้ งิ่ ตอ้ งกำร

๑๕

เทศบำลจดั วดั ก็ประสำน
ทุกคนช่นื บำน งำนประเพณี

๑๖

แบบฝกึ หัดที่ ๑ อ่านสะกดคา แจกลูก (วนั ลอยกระทง)

ลาดับท่ี คา สะกดคา แจกลกู

๑ กลบี กล - - ี - บ - กลีบ

๒ คนื ค - - ื - น - คนื

๓ เชด็ ช - เ - ะ - ด - เชด็

๔ ตรวจ ตร - - ว - จ - ตรวจ

๕ ทาน ท - -า - น - ทาน

๖ รว่ ม ร - - ว - ม - รวม, รวม - - ่ - รว่ ม

๗ เรียง ร - เ – ีย - ง - เรยี ง

๘ ลอย ล - -อ - ย - ลอย

๙ โลง ล - โ - - ง - โลง

๑๐ อวด อ - - ว - ด - อวด

๑๗

แบบฝกึ หัดท่ี ๒ อา่ นคาและความหมาย

ลาดบั ที่ คา คาอา่ น ความหมาย
ภาชนะเย็บดว้ ยใบตองยกขอบสงู สาหรบใส่ของ, ภาชนะทีท่ าข้นึ สาหรบลอยนา้ ใน
๑ กระทง กระ - ทง ประเพณีลอยกระทง
เร่ียรายหรอื กระจดกระจายอยทู่ ่วไป
๒ เกล่อื น เกล่อื น กล่าวคาขอโทษ
๓ ขมา ขะ - มา พยุงไวไ้ ม่ใหเ้ ซหรอื ไมใ่ หล้ ้มลง, ผดงุ , คา้ ชู บารงุ รกษาและเชดิ ชูไวไ้ มใ่ หเ้ สื่อม
๔ จรรโลง จน - โลง ประสงค์, มุ่งหวง
๕ จานง จา - นง สงิ่ ทีน่ ิยมถอื ประพฤตปิ ฏบิ ตสิ บื ๆ กนมาจนเป็นแบบแผนขนบธรรมเนยี ม หรอื
จารตี ประเพณี
๖ ประเพณี ประ - เพ - นี น้า
เหน็ เดน่ สะพร่ง
๗ วารี วา - รี เสยี บ, สอดไว้ในทบ่ี งคบ
๘ สลอน สะ - หลอน แพรวพราว, สว่างไสว
๙ เหนบ็
๑๐ อรา่ ม เหนบ็
อะ - หรา่ ม

๑๘

แบบฝกึ หัดที่ ๓ อ่านเขยี นคาดว้ ยภาพ
คาช้แี จง : ดภู าพ ประสมตวอกษรใหเ้ ปน็ คาทม่ี ีความหมายแลว้ เขียนลงใน

๑. ำ ี

๒. ะ

๓. ใ

ี๔.
่๕. ำ

๑๙

แบบฝกึ หัดที่ ๔ ตอบคาถามจากเรือ่ งทอ่ี า่ น

คาชแี้ จง : ตอบคาถาม
๑. อปุ กรณ์ที่ใชใ้ นการทากระทงมอี ะไรบ้าง
ตอบ

๒. ให้นักเรียนบอกถึงขน้ั ตอนการทากระทง
ตอบ

๓. เหตุใดจงึ มีประเพณกี ารลอยกระทง
ตอบ

๔. ประเพณลี อยกระทงมีขึน้ ในวันใด
ตอบ

๕. นักเรียนไดอ้ ะไรจากการทากระทงบ้าง
ตอบ

๒๐

แบบฝกึ หดั ที่ ๕ เขียนแผนผงั ควำมคิด และสรปุ ข้อคดิ

คาชีแ้ จง : เขียนแผนผงความคิดเรือ่ ง วนลอยกระทง

วนั ลอยกระทง

สรุปข้อคดิ

๒๑

แบบฝึกหดั ท่ี ๖ ตอบคาถาม

คาชแี้ จง : ทาเครอ่ื งหมาย  ล้อมรอบขอ้ ทถ่ี ูกต้องที่สดุ เพยี งข้อเดยี ว

๑. กระทงจากหนงั สือสาหรับเด็กเรอ่ื ง วันลอยกระทง ทามาจากอะไร

ก. ใบตอง ข. กระดาษ ค. โฟม
ค. ต้นกล้วย
๒. การทากระทงจากใบตองใช้อะไรเป็นฐานรอง ค. วนเพญ็ เดอื นสิบเอ็ด
ค. เพอ่ื ความสามคคี
ก. จาน ข. ขนมปงั ค. เตรยี มอุปกรณท์ ง้ หมด

๓. วนั ลอยกระทงตรงกนั วนั ใด ข. วนเพ็ญเดอื นสิบสอง
ก. วนเพญ็ เดือนสบิ

๔. เหตุใดเราจงึ ตอ้ งลอยกระทง ข. เพือ่ ความสนุกสนาน
ก. เพือ่ ขมาต่อแมน่ ้า

๕. การทากระทงเราต้องทาสง่ิ ใดเปน็ สง่ิ แรก ข. พบกลีบกระทง
ก. เย็บใบตองเขา้ กบฐาน

๒๒

๖. เราใส่อะไรในกระทงก่อนจะนาไปลอย ข. ธปู เทียน ค. ดอกไม้ เทียน
ก. ดอกไม้ ธปู เทยี น ข. ใบ ก้าน ค. ใบ ต้น
ข. กระทง ค. ขนมหวาน
๗. สว่ นใดของตน้ กล้วยทีน่ ามาทากระทงได้ ข. ความรก ค. ประหยดเวลา
ก. ใบ หวปลี ข. เพราะเป็นมลพิษ ค. เพราะไม่สวยงามเหมอื นใบตอง

๘. ครูให้นกั เรยี นทาสง่ิ ประดิษฐ์อะไร
ก. ดอกไม้

๙. นกั เรียนได้อะไรจากการทากระทง
ก. ความสามคคี

๑๐. เหตใุ ดเราจึงไม่นิยมทากระทงจากโฟม
ก. เพราะทายากกว่าใบตอง

๒๓

เฉลยแบบฝึกหดั

เฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี ๓ เฉลยแบบฝกึ หดั ท่ี ๔

๑.วารี ๑. ใบตอง ต้นกล้วย ดอกไม้
๒.กระทง ๒. ตดั ใบตองมาพับเป็นกลีบ เย็บกลีบเขา้ กบั ฐานท่ที าจากต้นกลว้ ย
๓.ใบตอง
๔.กลีบ ตกแตง่ ด้วยดอกไม้ และธูปเทียน
๓. เพ่ือขอขมาแมน่ า้ ทเ่ี ราทาให้สกปรกและเน่าเหม็น
๕.อร่าม ๔. วนั เพ็ญเดอื นสิบสอง
๕. การทางานร่วมกนั , อนุรักษ์สิ่งแวดลอ้ ม, สบื สานประเพณีไทย

เฉลยแบบฝึกหดั ที่ ๕ เฉลยแบบฝึกหัดท่ี ๖
อยู่ในดลุ ยพนิ ิจของครู
๑.ก ๖.ก
๒.ค ๗.ค
๓.ข ๘.ข
๔.ก ๙.ก

๕.ค ๑๐.ข

บรรณานุกรม

จนิ ตนา ใบซกู าย.ี (๒๕๔๒). เทคนคิ การเขยี นหนงั สอื สาหรับเดก็ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พค์ รุ ุสภาลาดพรา้ ว.
ถวลย์ มาศจรส. (๒๕๔๐). การเขียนหนังสอื สง่ เสริมการอา่ นและหนงั สอื อ่านเพ่ิมเตมิ . กรุงเทพฯ : บริษทต้นออ้ จากด.
ราชบณฑติ ยสถาน. (๒๕๔๖). พจนานุกรม ฉบบั ราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรงุ เทพฯ : บรษิ ทนานมบี ุ๊คส์ จากด.
วิชาการ, กรม กระทรวงศึกษาธกิ าร. (๒๕๔๕). คู่มือการจัดการเรยี นรู้กลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารรบส่ง

สินคา้ และพสดุภณฑ.์
. (๒๕๕๑). สาระและมาตรฐานการเรียนรกู้ ลุม่ สาระภาษาไทย. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพอ์ งคก์ ารรบส่งสินค้าและพสดภุ ณฑ.์
สานกงานคณะกรรมการศึกษาขน้ พ้นื ฐาน, กระทรวงศกึ ษาธกิ าร และกรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๙).
นทิ านเสรมิ สรา้ งอีคิว เด็กอายุ ๓-๕ ป.ี พมิ พ์ครง้ ที่ ๓. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนมุ สหกรณก์ ารเกษตรแห่งประเทศไทย
จากด.


Click to View FlipBook Version