The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง น้ำใจต้านภัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tookta channel, 2020-04-13 03:47:09

นิทานน้ำใจต้านภัย

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง น้ำใจต้านภัย

Keywords: น้ำใจต้านภัย

นิทานสาหรับเดก็
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี น
กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปที ่ี ๓

เรื่อง นาใจตา้ นภยั

ช่ือผู้แตง่ นางสาวกรรณิการ์ ขันตี

ช่อื ผู้วาดภาพ นายทรงยศ ไสยนติ ย์

ประวัติผู้แต่ง ประวัติผู้วาดภาพ
ชื่อ นางสาวกรรณิการ์ ขันตี ชื่อ นายทรงยศ ไสยนติ ย์
วุฒิ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย) ตาแหนง่ ครูชานาญการพเิ ศษ
ตาแหนง่ ครู ที่ทางาน โรงเรียนเทศบาลสวนสนุ
วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ
ท่ีทางาน โรงเรียนเทศบาล ๕ สหี รกั ษว์ ิทยา เทศบาลนครขอนแก่น

เทศบาลนครอดุ รธานี

คำนำ

นิทานเร่ือง น้าใจต้านภัย จัดท้าข้ึนเพื่อพัฒนาการอ่านและการเขียน สร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ ๓
และใช้เป็นส่ือประกอบแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย เพื่อฝึกให้นักเรียนอ่านสะกดค้าได้ถูกต้อง อ่านได้คล่อง
เข้าใจความหมายของค้า จับใจความส้าคัญของเร่ือง และวิเคราะห์เร่ือง เป็นนิทานที่แต่งด้วยคาประพันธ์ ประเภทกลอนสี่ โดยได้แทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมในเร่ืองความมวี ินยั ซึ่งเปน็ คณุ ธรรมท่จี าเปน็ อย่างยงิ่ ของคนในสังคม เพื่อใหก้ ารอยู่รว่ มกันอยา่ งมีความสุข ถ้าหากขาด
วินัยจะทาให้สังคมไม่น่าอยู่ และยังเป็นการปลูกฝังให้เด็กได้มีนิสัยรักการอ่าน และได้นาคุณธรรมที่แทรกไว้นาไปประพฤติปฏิบัติให้เป็น
นิสัย เป็นคนดีของสังคมต่อไป และยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้บทเรียนได้ดีย่ิงขึ้น ซ่ึงมีเน้ือหาสาระตรงตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทุกประการ เหมาะกับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ สามารถบูรณาการกับหน่วย
การเรยี นรอู้ ่นื ได้ตามความเหมาะสม

ในการจดั ท้านทิ านส้าหรบั เด็ก ในคร้ังน้ี เสรจ็ สมบูรณ์ไดด้ ้วยดี จากการส่งเสรมิ สนับสนนุ แนะน้าตรวจสอบความถูกต้องจาก
ผูอ้ ้านวยการโรงเรียนเทศบาล ๕ สหี รักษว์ ิทยา เทศบาลนครอดุ รธานี จังหวัดอดุ รธานี ตลอดจนคณะครูในโรงเรียนทกุ คน จงึ ขอขอบคุณไว้
ณ ท่ีนดี้ ้วย ผจู้ ัดท้าหวังเป็นอยา่ งยง่ิ ว่า นิทานส้าหรบั เด็กชุดนี้คงจะเปน็ ประโยชน์ต่อผูส้ นใจเป็นอย่างดี

กรรณิการ์ ขนั ตี
ครู วิทยฐานะ ครชู ้านาญการพเิ ศษ



หมู่บำ้ นแตงไทย ตัดไม้หมดปำ่
ถึงครำวทำนำ นำท่ำไมม่ ี



นำเน่ำควันไฟ ในโรงงำนนี
ปล่อยไปทกุ ท่ี แมน่ ำห้วยหนอง
คลอง

ขยะทังหลำย ๓
ปลำตำยฟูฟ่อง
ปลอ่ ยไปทกุ ที่ มำกมำยในคลอง
คลอง ท้องนำเนำ่ ได้

แม่นำลำ

อำกำศเปน็ พษิ ชีวติ ป่วยไข้ ๔
รำ่ งกำยไมไ่ หว ไมน่ งิ่ นอนใจ



ครูชวนชำวบำ้ น สมำนแกไ้ ข

โทษกำรตดั ไม้ ทำร้ำยเรำเอง



ปลกู ป่ำทดแทน หวงแหนรบี เรง่

สร้ำงวนิ ยั เอง ธรรมชำติกลับมำ



เลิกทงิ ขยะ ปล่อยปละนำท่ำ
กุ้งหอยปูปลำ กลับมำดังเดิม



ผู้ใหญค่ นขยัน สร้ำงสรรคส์ ่งเสรมิ
เดก็ เลก็ หดั เรมิ่ ให้มวี ินัย



ช่วยกนั เก็บกวำด สะอำดสดใส

คนื หมู่บำ้ นให้ น่ำอยู่ร่ืนรมย์

๑๐

เปน็ บำ้ นตวั อย่ำง ช่ำงแสนสุขสม

ใครตำ่ งชน่ื ชม เพรำะมีวินยั

ลำดบั ท่ี ๑๑

๒ แบบฝกึ หัดที่ ๑ อ่ำนสะกดคำ แจกลูก

๔ คำ สะกดคำ แจกลูก
๕ คราว คร-า-ว-คราว
๖ พิษ พ---ิิ-ษ-พิษ
๗ โทษ ท-โ-ษ-โทษ
๘ วนิ ัย ว--ิ-ิว-ิ น-ะ-ย-นยั -วนิ ยั
๙ ขยันิ ิขย-ะ-น-ขยนั
๑๐ กวาดิ กว-า-ด-กวาดิ
เลกิ ิ ิล-เ-อ-ก-เลกิ
ิพร้อม ิพร-อ-ม-พรอม-ิพรอม--้-ิพรอ้ ม
ิปลกู ิปล--ู-ิก-ปลูก
ิกลบั ิกล-ะ-บ-กลับ

๑๒

แบบฝึกหดั ที่ ๒ ใหอ้ ำ่ นคำและควำมหมำย

ลำดบั ที่ คำ คำอำ่ น ควำมหมำย

๑ กลับ กลับ ตรงกันขา้ มกบั ภาวะเดมิ หรือทศิ ทางเดมิ
๒ ทดแทน ทด-แทน ตอบแทน, ชดใชห้ รอื ชดเชยสง่ิ ท่เี สยี ไป.
๓ โทษ
๔ ธรรมชาติ โทด ความไมด่ ี, ความชั่ว,
๕ นอนใจ ทา-มะ-ชาด สง่ิ ท่เี กดิ มแี ละเป็นอย่ตู ามธรรมดาของสง่ิ น้ันิๆ
๖ ปลูก นอน-ไจ ม่ันใจ, วางใจ, ไมร่ ีบรอ้ น
๗ ร้อนรน
๘ รน่ื รมย์ ปลูก การเอาตน้ ไมห้ รือเมลด็ ิหน่อิหัวิิต้น ใส่ลงในดนิ เพ่ือให้งอกหรอื ให้เจริญเตบิ โต
๙ วินยั รอ้ น-รน แสดงอาการกระวนกระวาย, ทรุ นทุราย
๑๐ ส่งเสรมิ รื่น-รม สบายใจ, บนั เทงิ
วิ-ไน ระเบยี บแบบแผนและขอ้ บงั คบั , ขอ้ ปฏบิ ัติ
ส่ง-เสมิ เก้อื หนนุ , ช่วยเหลือสนบั สนนุ ให้ดีขึ้น

๑๓

แบบฝกึ หัดที่ ๓ อ่ำน เขียนคำด้วยภำพ

คำชแี จง : ดภู าพประสมตัวอกั ษรให้เปน็ คาทม่ี คี วามหมายิแล้วเขยี นลงในชอ่ งิ

๑. ว า

ิูิ๒. ิิิิิิิิิิิิิิิิิิ

ิ ิา วิ๓. ิิ ิ ิ ิิ
ิิิิิ ิิิิิิิิิิิ

ูิิิ า๔.ิิิ ิิิิิ ห

๓. ิาิิิ

๑๔

แบบฝกึ หัดท่ี ๔ ตอบคำถำมจำกเร่ืองทอ่ี ำ่ น

คำชีแจงิ:ินกั เรียนตอบคาถามจากการฟังเรอ่ื งินา้ ใจต้านภัย

๑.ิิิแต่กอ่ นหม่บู ้านแตงไทยเปน็ อยา่ งไริ
ิิิิิิิิิิิิิิิิิตอบ

๒.ิิโทษของการตดั ไม้ทาลายป่ามีอะไรบ้าง
ิิิิิิิิิิิิิิิิิตอบ

๓.ิิน้าเน่าเสียสง่ ผลกระทบอย่างไรบ้างิิิิิิิิิิิิิิิ
ิิิิิิิตอบ

ิิิิิ๔. คุณครแู นะนาชาวบา้ นให้ทาอะไร
ิิิิิิิิิิิิิิิิิตอบ

๕.ิ ชาวบ้านได้รับผลกระทบจากสิ่งแวดล้อมเป็นพิษอยา่ งไร
ิิิิิิิิิิิิิิิิิตอบ

๑๕

แบบฝึกหัดที่ ๕ เขยี นแผนผงั ควำมคิดและ สรปุ ขอ้ คดิ
คำชแี จง เขยี นแผนผงั ความคิดเร่อื งิน้าใจตา้ นภัย

นำ้ ใจต้ำนภัย

สรปุ ข้อคิด

๑๖

แบบฝึกหัดท่ี ๖ ตอบคำถำม
คำชีแจงิ:ิทาเครอ่ื งหมายิิิิิิิิลอ้ มรอบขอ้ ทีถ่ กู ต้องทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดียว

๑. แต่กอ่ นบา้ นของแตงไทยเปน็ อยา่ งไร ข.ิชาวบ้านปลูกตน้ ไม้ ค.ิชาวบ้านรักษาน้า
ก. ิชาวบ้านตัดไมท้ าลายป่า ข.ิิแห้งแลง้ ไมม่ ีน้า ค.ิิฝนตกหนัก
ข.ิิเพราะนา้ เคม็ ค.ิิเพราะน้าร้อน
ิิิ ข.ิกลอ่ งโฟม ค.ิกระดาษ
๒.ิเมอ่ื ไมม่ ตี ้นไมจ้ ะเกิดอะไรขนึ้ ข.ิรกั ษาธรรมชาติ ค.ิอยใู่ นบ้านตลอด
ก. ิอากาศบรสิ ุทธิ์

ิิิิิ
๓.ิิเม่อื นา้ เสียทาไมปลาจึงตาย
ก. เพราะไมม่ ีอากาศหายใจิ

ิิิิิิ
๔.ิขยะชนดิ ใดย่อยสลายยาก
ก. ิใบตอง

ิิิิิ
๕.ิิเรามวี ิธีตา้ นภัยธรรมชาติอย่างไร
ก.ิิทาลายธรรมชาติ

๑๗

ิิิิิิิ ข.ิิกานนั ค.ิิคุณครู
ิ๖.ิิใครเปน็ ผแู้ นะนาใหช้ าวบ้านแก้ปัญหา ค.ิปลูกป่าิทิ้งขยะเป็นท่ี
คิิผใู้ หญ่บ้าน
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ ิก.ิิผใู้ หญบ่ า้ น ค.ิิกตัญญู
ค.ิใบตองิ
ิิิิิิิิิิ๗. ิชาวบา้ นไดใ้ หค้ วามรว่ มมืออยา่ งไร ข.ิินาพันธุป์ ลามาปลอ่ ย
ก.ิสรา้ งเขอ่ื นิ

ิิิิิิิิิิิ๘.ิิิใครเปน็ ตวั อย่างท่ีดีในหมู่บ้าน ข.ินกั เรียน
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ ก.ิคุณครู

ิิิิิิิิิิิ๙.ิิิชาวบ้านเอาใจใสใ่ นการรักษาหมูบ่ ้านใหส้ ะอาดเป็นคุณธรรมข้อใด

ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ ก.ิมวี นิ ยั ข.ิิประหยดั

ิิิิิิิิิิิ๑๐.ิิเราควรใช้วัสดุใดในการทากระทง ข.ิโฟม
ิิิิิิิิิิิิิิิิิิิ ก.ิิไม้

๑๘

เฉลยแบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝกึ หัดที่ ๓ เฉลยแบบฝกึ หัดท่ี ๔
๑. กวาด ๑. ชาวบา้ นตัดไม้ทาลายปา่
๒. ปลูก ๒. นา้ ท่วม
๓. คราว ๓. ปลาตาย
๔. ลูกหลาน ๔. ปลกู ป่าทดแทน
๕. คลาน ๕. ปว่ ยเปน็ ไขไ้ มส่ บาย

เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ ๕ เฉลยแบบฝึกหดั ท่ี ๖
อย่ใู นดุลยพินิจของครู
๑. ก ๒. ข ๓. ก
๔. ข ๕. ข ๖. ค
๗. ค ๘. ก ๙. ก
๑๐. ค

บรรณำนกุ รม

จินตนาิใบซูกายี.ิ(๒๕๔๒).ิเทคนิคกำรเขยี นหนังสือสำหรับเด็ก.ิกรงุ เทพฯิ: โรงพิมพ์ครุ ุสภาลาดพรา้ ว.
ถวัลย์ิมาศจรัส.ิ(๒๕๔๐).ิกำรเขยี นหนังสอื ส่งเสริมกำรอำ่ นและหนังสืออ่ำนเพิ่มเติม.ิกรงุ เทพฯิ: บริษทั ต้นอ้อิิจากัด.
ราชบัณฑติ ยสถาน.ิิ(๒๕๔๖).ิพจนำนุกรม ฉบับรำชบัณฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒.ิิกรุงเทพฯิ: บรษิ ัทนานมบี ๊คุ ส์ิิจากดั .
วิชาการ,ิิกรมิิกระทรวงศึกษาธกิ าร.ิิ(๒๕๔๕).ิคู่มอื กำรจัดกำรเรยี นร้กู ลุ่มสำระกำรเรียนรู้ภำษำไทย.ิกรงุ เทพฯิ:ิโรงพิมพ์องคก์ าร

รับสง่ สนิ ค้าและพัสดภุ ณั ฑ์.
.ิิ(๒๕๕๑).ิสำระและมำตรฐำนกำรเรยี นรูก้ ลมุ่ สำระภำษำไทย.ิิกรุงเทพฯิ:ิโรงพมิ พอ์ งคก์ ารรับสง่ สนิ คา้ และพสั ดุภัณฑ.์
สานกั งานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน,ิกระทรวงศกึ ษาธกิ าริและกรมสุขภาพจิติิกระทรวงสาธารณสุข.ิ(๒๕๔๙).ิิ
นิทำนเสริมสรำ้ งอคี ิว เด็กอำยุ ๓-๕ ป.ี ิิพิมพ์คร้ังท่ีิ๓.ิิกรงุ เทพฯิ: โรงพิมพช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จากัด.


Click to View FlipBook Version