The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง ลุงทอง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Tookta channel, 2020-04-13 04:10:31

นิทานลุงทอง

นิทานสำหรับเด็ก
เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
เรื่อง ลุงทอง

Keywords: ลุงทอง

นทิ านสาหรับเดก็
เพอ่ื พฒั นาทกั ษะการอา่ นและการเขยี น
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๓

เรือ่ ง ลุงทอง

ชือ่ ผู้แต่ง นางสาวกรรณกิ าร์ ขันตี

ชือ่ ผู้วาดภาพ นายทรงยศ ไสยนติ ย์

ประวัติผูแ้ ต่ง ประวัติผ้วู าดภาพ
ชื่อ นางสาวกรรณิการ์ ขนั ตี ชื่อ นายทรงยศ ไสยนติ ย์
วุฒิ ศษ.ม. (การสอนภาษาไทย) ตาแหนง่ ครูชานาญการพิเศษ
ตาแหน่ง ครู ท่ีทางาน โรงเรียนเทศบาลสวนสนุก
วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ
ที่ทางาน โรงเรียนเทศบาล ๕ สีหรกั ษว์ ิทยา เทศบาลนครขอนแก่น

เทศบาลนครอดุ รธานี

คำนำ

นทิ าน เรื่อง ลงุ ทอง จดั ทาขึ้นเพื่อพัฒนาการอ่านและการเขียน สร้างนิสัยรักการอ่านของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี ๓ และใช้เป็น
สอื่ ประกอบแผนการจดั การเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรยี นรภู้ าษาไทย เพ่ือฝกึ ให้นักเรยี นอ่านสะกดคาได้ถูกต้อง อ่านไดค้ ล่อง เข้าใจความหมาย
ของคา จับใจความสาคัญของเรื่อง และวิเคราะห์เรื่องได้ เป็นนิทานคุณธรรมท่ีแต่งด้วยคาประพันธ์ ประเภทกลอนสี่ โดยได้แทรกคุณธรรม
จริยธรรมในเรื่องความซื่อสัตย์ของสัตว์เลยี้ งท่มี ีความจงรกั ภกั ดีต่อเจา้ ของท่ีให้ความรกั ความอบอ่นุ ให้ขา้ วให้นา้ เตม็ ใจที่จะทางานด้วยความ
ซื่อสัตย์ ไม่คิดหลบงานแม้จะมีโอกาส เพ่ือเป็นการปลูกฝังให้เด็กได้มีนิสัยรักการอ่าน และได้นาคุณธรรมที่แทรกไว้นาไปประพฤติปฏิบัติ ให้
เป็นนิสัย เป็นคนดีของสังคม ประเทศชาติต่อไปและยังช่วยให้นักเรียนสามารถเรียนรู้บทเรียนได้ดีย่ิงข้ึน ซึ่งมีเนื้อหาสาระตรงตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ทุกประการ เหมาะกับนักเรียนระดับช้ันประถมศึกษา ปีท่ี ๓ สามารถบูรณาการกับ
หน่วยการเรยี นรูอ้ นื่ ไดต้ ามความเหมาะสม

ในการจัดทานทิ านสาหรับเดก็ ในครง้ั นี้ เสร็จสมบูรณ์ได้ด้วยดี จากการส่งเสริมสนับสนุน แนะนาตรวจสอบความถูกตอ้ งจาก
ผอู้ านวยการโรงเรียนเทศบาล ๕ สีหรักษว์ ิทยา เทศบาลนครอุดรธานี จังหวดั อดุ รธานี ตลอดจนคณะครูในโรงเรยี นทกุ คน จึงขอขอบคณุ ไว้
ณ ท่นี ้ดี ว้ ย ผจู้ ดั ทาหวังเป็นอยา่ งยงิ่ ว่า นิทานสาหรบั เด็กชดุ น้คี งจะเป็นประโยชนต์ ่อผสู้ นใจเปน็ อย่างดี

กรรณกิ าร์ ขนั ตี
ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ



บ้ำนของลุงทอง สองฝั่งทงุ่ นำ

ภเู ขำท้องฟำ้ อำกำศเย็นใจ



ลงุ ทองเล้ยี งหมำ นกกำเปด็ ไก่

แมวนกลุงให้ จรงิ ใจผูกพนั



ฝูงสตั วร์ คู้ ุณ บุญหนุนลุงนน้ั
มำประชุมกัน ชว่ ยงำนเช่นไร



เจำ้ เหมยี วไลห่ นู ท่ีอยู่อำศัย

ไมใ่ หเ้ ขำ้ ใกล้ ทำลำยบำ้ นหนำ



เจ้ำกกุ๊ เจ้ำกำ้ บ ต่ำงทรำบดวี ำ่
ออกไข่โอชำ รสชำตแิ สนดี



เจำ้ ทุยลำกไถ ไมห่ ลบหลกี หนี
ทำงำนเต็มที่ ดว้ ยควำมภมู ิใจ



เจำ้ ต้อยตีวดิ ตวั นดิ ชิดใกล้
รอ้ งเพลงเสียงใส ให้ชื่นอรุ ำ



เจ้ำจ๋อเร็วรี่ ปรีโ่ ชว์ทที ่ำ
เก็บมะพร้ำวมำ ครำลุงตอ้ งกำร



เจ้ำตูบเฝ้ำยำม ด้วยควำมอำจหำญ
ในยำมวกิ ำล ไมย่ อมหลบั นอน

๑๐

ตำ่ งก็ซอ่ื สัตย์ จัดหน้ำทก่ี ่อน
จึงไมเ่ ดือดรอ้ น ลุงทองชน่ื ใจ

๑๑

แบบฝกึ หดั ท่ี ๑ อ่านสะกดคา แจกลกู

ลาดบั ที่ คา สะกดคา แจกลูก
๑ อากาศ อ – า – อา – ก – า – ศ - กาศ - อากาศ
๒ บริสุทธิ์ บอ – ริ –ส- ุ- ทธิ์ – สทุ ธ์ิ - บรสิ ุทธ์ิ
๓ โอกาส อ -โ –โอ – ก – า – ส – กาส - โอกาส
๔ นดั หมาย น – ะ – ด - นดั – ห – ม - า – ย – หมาย - นดั หมาย
๕ สามารถ ส – า - สา – ม – า – รถ – มารถ - สามารถ
๖ ปฏบิ ตั ิ ปฏ -ิ – ปฏิ – บ – ะ - ติ – บตั ิ - ปฏบิ ตั ิ
๗ รสชาติ ร – โะ – ส – รส - ช – า – ติ – ชาติ - รสชาติ
๘ คราด คร - า – ด – คราด - คราด
๙ ประโยชน์ ปร - ะ- ประ – ย - โ- ชน์- โยชน์ - ประโยชน์
๑๐ เหตุ ห - เ – ตุ - เหตุ - เหตุ

๑๒

แบบฝึกหดั ท่ี ๒ ให้ฝกึ อา่ นคาและความหมาย

ลาดับท่ี คา คาอ่าน ความหมาย
๑ คราด คราด
๒ จิต จดิ เครอื่ งมอื ทาไรท่ านา ใชว้ วั หรอื ควายลาก
๓ ซอ่ื สตั ย์ ซอ่ื – สดั สิง่ ทีม่ หี น้าท่ีรู้
๔ นัดหมาย นัด - หมาย ประพฤตติ รงและจรงิ ใจ, ไม่คดิ คดทรยศ, ไม่คดโกงและไม่หลอกลวง
๕ บริสุทธิ์ บอ – ริ - สดุ กาหนดและกะกนั ไว้
๖ ปฏบิ ตั ิ ปะ – ติ - บัด แท้ ไม่มอี ะไรเจอื ปน
๗ เมตตา เมด - ตา ดาเนนิ การไปตามระเบยี บแบบแผน
๘ รสชาติ รด - ชาด ความรกั และเอ็นดู
๙ สามารถ สา - มาด ส่งิ ทร่ี ูไ้ ด้ดว้ ยลน้ิ
๑๐ อากาศ อา - กาด คณุ สมบัตทิ จ่ี ะทาได้
แกส๊ ท่ีใชใ้ นการหายใจหรือชว่ ยในการเผาไหม้

๑๓

แบบฝกึ หดั ท่ี ๓ อำ่ น เขยี นคำดว้ ยภำพ
คาชีแ้ จง ดภู าพประสมตัวอักษรให้เปน็ คาทม่ี คี วามหมาย แลว้ เขยี นลงในชอ่ ง 

๑. า ติ
๒. า า ถ
๓. ะ ห า ย
๔. ริ ุ ธิ์
๕. เ า

๑๔

แบบฝึกหดั ท่ี ๔ ตอบคำถำมจำกเรื่องที่อำ่ น

คำชแ้ี จง นกั เรียนตอบคาถามจากการฟังเรอื่ ง สัตวเ์ ลีย้ งของลุงทอง

๑. ลงุ ทองเปน็ คนอยา่ งไร
ตอบ

๒. สตั ว์แต่ละตวั รักลงุ ทองหรือไม่
ตอบ

๓. สตั ว์ทั้งหมดไดน้ ัดหมายมาประชุมเพอื่ ทาอะไร
ตอบ

๔. เจา้ ต้อยตวี ิดแสดงนา้ ใจอย่างไร
ตอบ

๕. เจ้าตบู แสดงความซอื่ สัตยโ์ ดยวธิ ใี ด
ตอบ

๑๕

แบบฝกึ หดั ท่ี ๕ เขยี นแผนผังควำมคดิ และ สรปุ ขอ้ คิด

คำช้แี จง เขยี นแผนผังควำมคิดเร่อื ง ลุงทอง สัตว์แต่ละตัวมคี วำมซ่ือสัตย์อย่ำงไรบ้ำง

สรปุ ขอ้ คดิ

๑๖

คำชีแ้ จง ทาเครอื่ งหมาย แบบฝกึ หัดท่ี ๖ ตอบคำถำม

ลอ้ มรอบขอ้ ที่ถกู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว

๑. ลุงทองเล้ยี งสตั ว์ไวท้ ั้งหมดก่ตี วั ข. ๖ ตวั ค. ๗ ตวั
ก. ๕ ตวั ข. เจ้าทยุ ค. ต้อยตีวิด
ข. เพื่อช่วยเหลืองาน ค. เพอื่ ประทว้ ง
๒. ใครชว่ ยลงุ ทองเฝ้าบา้ น ข. เพราะลงุ ทองรกั สตั ว์ ค. เพราะลงุ ทองพดู เพราะ
ก. เจา้ ตบู ข. ในชนบท ค. รมิ ทะเล

๓. สัตวป์ รกึ ษากนั เร่อื งอะไร
ก. เพ่ือหลบงาน

๔. เหตุใดสัตว์ทกุ ตัวจึงรกั ลงุ ทอง
ก. เพราะลงุ ทองโมโหร้าย

๕. บา้ นของลุงทองอยทู่ ี่ใด
ก. ในเมือง

๑๗

๖. ลงุ ทองประกอบอาชพี อะไร ข. ประมง ค. ค้าขาย

ก. ทานา

๗. เจา้ ทยุ หมายถึงใคร ข. ควาย ค. ลิง
ก. สนุ ัข

๘. ขอ้ ใดคอื ความซอ่ื สัตย์ ข. ขาวเก็บสร้อยไดน้ าไปขาย ค. ดาแอบเลน่ เกม
ก. แดงเก็บเงนิ ได้แจ้งครู

๙. ข้อใดคอื ความสามารถของเจา้ จอ๋

ก. ไถนา ข. เฝา้ บา้ น ค. ปีนตน้ ไม้

๑๐. เมื่อเงินเหลือจากซื้อของใหแ้ มค่ วรทาอย่างไร

ก. หยอดกระปกุ ข. คืนให้แม่ ค. ซื้อขนม

๑๘

เฉลยแบบฝึกหัด

เฉลยแบบฝกึ หดั ที่ ๓ เฉลยแบบฝึกหัดท่ี ๔
รสชาติ คนมเี มตตารกั สัตว์
สามารถ รกั
นัดหมาย เพือ่ ชว่ ยงานลุงทอง
บรสิ ุทธิ์ รอ้ งเพลงเพ่อื ให้ชืน่ ใจ

เฉลยแบบฝึกหัดที่ ๕ เฉลยแบบฝึกหดั ที่ ๖
ค ๒. ก ๓. ข
อย่ใู นดลุ ยพนิ ิจขงครู ๔. ข ๕. ข ๖. ก
๗. ข ๘. ก ๙. ค
๑๐. ข

บรรณำนกุ รม

จนิ ตนา ใบซกู ายี. (๒๕๔๒). เทคนิคกำรเขยี นหนงั สือสำหรับเดก็ . กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์ครุ สุ ภาลาดพร้าว.
ถวัลย์ มาศจรัส. (๒๕๔๐). กำรเขียนหนงั สือสง่ เสรมิ กำรอ่ำนและหนงั สอื อำ่ นเพมิ่ เตมิ . กรุงเทพฯ : บริษทั ต้นอ้อ จากดั .
ราชบณั ฑิตยสถาน. (๒๕๔๖). พจนำนุกรม ฉบบั รำชบณั ฑิตยสถำน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพฯ : บรษิ ัทนานมีบคุ๊ ส์ จากัด.
วิชาการ, กรม กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. (๒๕๔๕). คู่มือกำรจัดกำรเรียนรกู้ ลมุ่ สำระกำรเรยี นรภู้ ำษำไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พ์

องค์การรับส่งสนิ คา้ และพัสดภุ ณั ฑ์.
. (๒๕๕๑). สำระและมำตรฐำนกำรเรียนรู้กลมุ่ สำระภำษำไทย. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พอ์ งคก์ ารรับสง่ สินค้าและพสั ดุภัณฑ์.
สานักงานคณะกรรมการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน, กระทรวงศึกษาธกิ าร และกรมสขุ ภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. (๒๕๔๙).
นิทำนเสรมิ สรำ้ งอคี วิ เด็กอำยุ ๓-๕ ป.ี พิมพ์ครัง้ ที่ ๓. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พช์ ุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย
จากดั .


Click to View FlipBook Version