The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ภาพชุดเรื่องราวภูมิปัญญาชาวบ้าน
นางสาววิรัลา วงศ์รักษา
รหัส 63010518069

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by wiranya, 2021-10-28 02:57:18

ภาพชุดเรื่องราวภูมิปัญญาชาวบ้าน

ภาพชุดเรื่องราวภูมิปัญญาชาวบ้าน
นางสาววิรัลา วงศ์รักษา
รหัส 63010518069

ภาพถ่ายชุดเรื่องราว

ภูมิปั ญญาชาวบ้าน
จังหวัดมหาสารคาม

รายวิชา การถ่ายภาพ รหัสวิชา 0537212
ผศ.ดร.รัฐสาน์ เลาหสุรโยธิน

นางสาววิรัลยา วงศ์รักษา

รหัสนิสิต 63010518069
สาขาเทคโนโลยีการศึ กษาและคอมพิวเตอร์ศึ กษา

คณะศึ กษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

ก ลุ่ ม ท อ ผ้ า บ้ า น ห น อ ง เ ขื่ อ น ช้ า ง

บ้านหนองเขื่ อนช้าง ตำบลท่าสองคอน อำเภอเมืองมหาสารคาม
จังหวัดมหาสารคาม ระยะห่างจากตัวจังหวัดไปตามถนน
สายมหาสารคาม – ขอนแก่น ประมาณ 16 กิโลเมตร

ชาวบ้านหนองเขื่ อนช้างได้ดำเนินการทอผ้าพื้ นเมือง
และผลิตภัณฑ์งานประดิษฐ์จากสิ่งทอ ตั้งแต่อดีตเป็นต้น
มาและได้ดำเนินการอย่างจริงจังเมื่ อปี พ.ศ 2514

ปี พ.ศ 2531 กรมการพัฒนาชุ มชน กระทรวงมหาดไทย
ไ ด้ คั ด เ ลื อ ก ใ ห้ เ ป็ น ห มู่ บ้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ค ร บ ว ง จ ร ข อ ง จั ง ห วั ด

ปี พ.ศ 2532 กรมส่งเสริมอุ ตสาหกรรม
กระทรวงอุ ตสาหกรรม ได้คัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านหัตถกรรม

ชาวบ้านหนองเขื่ อนช้าง มีความชำนาญในการทอผ้า มาตั้งแต่สมัยโบราณ
ทั้งผ้าฝ้ ายและผ้าไหม ต่อมามีการนำเอาเส้นไหมมาออกแบบมัดหมี่
ต า ม ล ว ด ล า ย ที่ ต้ อ ง ก า ร

ลวดลายที่ละเอียดสวยงาม มีกระบวนการทอที่ซับซ้อน ตั้งแต่การมัด
หมี่ การย้อมสี ไปจนถึงการทอออกมาเป็นผืน ซึ่งแสดงให้เห็นถึงความ
ป ร ะ ณี ต บ ร ร จ ง ข อ ง ผู้ ท อ ผ้ า เ ป็ น อ ย่ า ง ม า ก

ก ลุ่ ม เ ค รื่ อ ง เ รื อ น ห ว า ย แ ล ะ ผั ก ต บ ช ว า ตำ บ ล ล า ด พั ฒ น า

กลุ่มเครื่ องเรือนหวายและผัก
ตบชวา 94 หมู่ 7 บ้านวังไผ่
ตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมืองฯ
จั ง ห วั ด ม ห า ส า ร ค า ม

ก ลุ่ ม ป ร ะ ก อ บ อ า ชี พ จั ก ส า น
เครื่ องเรือนทำผลิตภัณฑ์
จากหวาย ณ บ้านวังไผ่ ในปี
พ.ศ. 2539 เป็นการนำวัตถุดิบ
ในชุ มชนมาสร้างรายได้ให้
คนในชุ มชน รวมทั้งเป็นแหล่ง
ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ใ ห้ เ ย า ว ช น
และลูกหลานในชุ มชน

การทำเครื่ องเรือนหวายและผักตบชวา ตำบลลาดพัฒนาอำเภอเมืองฯ
จังหวัดมหาสารคาม สืบทอดมาจากบรรพบุ รุษ ปัจจุ บันได้พัฒนารูปแบบ
ของใช้ภายในบ้านเป็นจำพวกเฟอร์นิเจอร์เช่น เก้าอี้ ชุ ดรับแขก
เตียงนอนโคมไฟฉากกั้นชุ ดอาหาร ฯลฯ

ก ลุ่ ม จั ก ส า น ไ ม้ ไ ผ่

บ้านกุดไส้จ่อ หมู่ที่ 11 ตำบลกุดไส้จ่อ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัด
มหาสารคาม

ก า ร ส า น สุ่ ม ไ ก่ เ ป็ น ก า ร สื บ ท อ ด
ภู มิ ปั ญ ญ า ช า ว บ้ า น จ า ก รุ่น ต่ อ รุ่น
ซึ่งจุ ดเด่นของสุ่มที่สาน คือการ
ขึ้ นลายของหัวสุ่ม ที่จะสวยงาม
แ ล ะ มี ค ว า ม แ ข็ ง แ ร ง ม า ก ก ว่ า
ลายอื่ นๆ ที่มีขายทั่วไป รวมถึง
ก า ร เ ลื อ ก วั ส ดุ ที่ นำ ม า ส า น
จ ะ เ ลื อ ก เ อ า ไ ผ่ สี สุ ก ที่ แ ก่ พ อ เ ห ม า ะ
ทำ ใ ห้ ไ ด้ สุ่ ม ไ ก่ ที่ มี ค ว า ม แ น่ น ห น า
แ ข็ ง แ ร ง แ ล ะ ท น แ ด ด ท น ฝ น ไ ด้ ดี
ซึ่งจะมีอายุ การใช้งานได้นาน
3-5 ปี ตามรูปแบบการใช้งาน
ทำ ใ ห้ ไ ด้ รับ ค ว า ม นิ ย ม จ า ก ลู ก ค้ า
มี ร า ย ไ ด้ เ ลี้ ย ง ค ร อ บ ค รัว
10,000-20,000 บาทต่อเดือน

เครื่องปั้ นดินเผา

ที่บ้านหม้อ อำเภอเมืองฯ
จั ง ห วั ด ม ห า ส า ร ค า ม
ร ะ ย ะ ห่ า ง จ า ก ตั ว จั ง ห วั ด
ไปตามถนนสายมหาสารคาม –
ร้อยเอ็ด ประมาณ 15 กิโลเมตร

ชาวบ้านเล่าว่า บรรพบุ รุษของ
พ ว ก เ ข า นั้ น อ พ ย พ ห นี ค ว า ม
ความแห้งแล้งมาจาก อำเภอ
โนนสูง จังหวัดนครราชสีมา
แ ล ะ ไ ด้ นำ ค ว า ม รู้ค ว า ม ส า ม า ร ถ
ในการปั้ นหม้อปั้ นไหติดตัวมา
ด้วย เป็นการสืบทอภูมิปัญญา
ช า ว บ้ า น จ า ก รุ่น ต่ อ รุ่น
แ ล ะ เ ป็ น ก า ร ส ร้า ง ร า ย ไ ด้ ใ ห้ กั บ
คนในชุ มชน

การทอเสื่ อกก

บ้านหนองโก ตำบลโคกพระ อำเภอกันทรวิชัย จังหวัดมหาสารคาม

การทอเสื่ อกก
เป็นภูมิปัญญาของคนในท้องถิ่น ที่นำเอาต้นกกมาแปรสภาพให้เป็น
เส้นย้อมสี แล้วสานทอให้เป็นแผ่นผืน เพื่ อนำมาใช้ปู ลาดรองนั่งหรือนอน
หรือทำธุรกรรมต่างๆ ตลอดจนทำพิธีกรรมทางศาสนาและความเชื่ อ

การทอเสื่ อกก เป็นการทอด้วยมือ สำหรับใช้สอยในครัวเรือน ถวายวัด
และแลกเปลี่ยน ต่อมามีผู้พบเห็นมีการมาขอซื้ อไปใช้เอง
จากผลผลิตที่ตั้งใจว่าจะทำไว้ใช้เองทำให้กลับกลายเป็นการผลิตเพื่ อ
จำ ห น่ า ย สู่ ท้ อ ง ต ล า ด

การทอเสื่ อกกเป็นลายต่างๆ
เช่น ลายมัดหมี่ ลายถักเปีย
ลายขิต ลายแหลม

เ อ ก ลั ก ษ ณ์ อั น โ ด ด เ ด่ น ข อ ง
เสื่ อกกมีสีสันที่กลมกลืน
ล า ย มั ด ห มี่ ที่ ส ะ ดุ ด ต า
เนื้ อแน่น ละเอียด มีการผูก
เส้นยืน ต้องผูกให้ตึง


Click to View FlipBook Version