The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานวิชานโยบายสาธารณะ e-book

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by natchayada242, 2021-11-02 12:04:03

รายงานวิชานโยบายสาธารณะ e-book

รายงานวิชานโยบายสาธารณะ e-book

รายงาน
ตวั แบบระบบ (System model)

เสนอ
อาจารย์ วิศรุตรา ทอมแกมแกว้

จดั ทาโดย
นางสาว กลมพชิ ณ์ บ่นหา รหสั 6341101077
นาย กิตติพงษ์ ประกอบ รหสั 6341101078
นางสาว จิรันดา เบน็ ก่อเด็ม รหสั 6341101082
นางสาว โซฟี น่า หะยสี าและ รหสั 6341101078
นางสาว ณฐั ชญาดา วนั ดี รหสั 6341101088

นาย ณฐั พงค์ สุวรรณ รหสั 6341101092
นาย ทรงพล ยาชะรัด รหสั 6341101098

รายงานน้ ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชานโยบายสาธารณะ
หลกั สูตรสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ ปี การศึกษา 2564

มหาวิทยาลยั ราชภฏั สงขลา



บทนำ

การศึกษาเก่ียวกบั การนานโยบายสาธารณะไปปฏิบตั ิ (Policy Implementation) มีความสาคญั อยา่ ง
ยงิ่ ต่อการศึกษาวชิ ารัฐประศาสนศาสตร์ (Public Administration) ท้งั น้ีเพราะนโยบายสาธารณะเป็นหน่ึงใน
ขอบขา่ ยของการศึกษารัฐประศาสนศาสตร์ มีกระบวนการหลายข้นั ตอนที่เก่ียวขอ้ งสัมพนั ธ์กนั กบั นโยบาย
สาธารณะ อาจเปรียบเสมือนแนวทางการจดั การผลิตสินคา้ และบริการสาธารณะเกิดผลลพั ธ์ท่ีพึงปรารถนา
และตอบสนองต่อความตอ้ งการของประชาชนและสงั คมโดยส่วนรวมไดอ้ ยา่ งแทจ้ ริง วิวฒั นาการของ
การศึกษานโยบายสาธารณะได้ ดาเนินมาโดยลาดบั การศึกษานโยบายสาธารณะนบั วา่ เป็นการเปิ ดมิติใหม่
ของการศึกษาทางรัฐประศาสนศาสตร์ กระบวนทศั น์ทางรัฐประศาสนศาสตร์อาจถูกแบ่งเป็น 2 กระบวน
ทศั น์ใหญ่ ๆ กลา่ วคือ กระบวนทศั น์ ด้งั เดิมที่มุ่งเนน้ ใหค้ วามสาคญั กบั การบริหารจดั การภายในองคก์ ร
ภาครัฐ เป็นตน้ วา่ การแยกการเมืองจากการบริหาร การบริหารตามแนววิทยาศาสตร์ การบริหารตามแนว
มนุษยส์ ัมพนั ธ์ ส่วนกระบวนทศั นใ์ หม่ทางรัฐประศาสนศาสตร์ไดเ้ ปลี่ยนมาใหค้ วามสาคญั กบั ประชาชนผทู้ ี่
จะไดร้ ับผลกระทบจากการดาเนินงานของภาครัฐ โดยมีจุดเนน้ ไปที่ผรู้ ับบริการภาครัฐ การศึกษานโยบาย
สาธารณะจึงเกิดข้นึ อยา่ งเป็นจริงจงั ซ่ึงมีมิติของการศึกษาหลายอยา่ ง เช่น การศึกษาแนวการวิเคราะห์
นโยบายสาธารณะ

สำรบัญ หนา้ ท่ี
1
เร่ือง 2

• ตวั แบบเชิงระบบ (System Model) 5
• กรณีศึกษา 5
6
- การศึกษายคุ 4.0
- นโยบายสาธารณะกบั การศึกษาไทยยคุ 4.0
- ขอ้ เสนอแนะนโยบายสาธารณะต่อการศึกษาไทยยคุ 4.0
- สรุป
- นากรณีศึกษามาวเิ คราะหใ์ นตวั แบบเชิงระบบ

• จุดเด่นของตวั แบบเชิงระบบ
• จุดดอ้ ยของตวั แบบเชิงระบบ
• บรรณานุกรม

1

ตวั แบบเชิงระบบ (System Model) ระบบการเมืองระบบหน่ึงๆ จะดารงอยไู่ ดโ้ ดยการมีสถาบนั และ
กระบวนการตา่ งๆ ซ่ึงมีอานาจและหนา้ ที่ในการจดั สรรคุณค่าตา่ งๆใหส้ ังคม สิ่งน้ีเองท่ีถือวา่ เป็นนโยบาย
ของระบบการเมืองน้นั ซ่ึงหากนโยบายน้นั เหมาะสมก็ยอ่ มจะก่อใหเ้ กิดการสนบั สนุนต่อการตดั สินใจของ
ระบบการเมืองดว้ ย ส่วนครอบคลมุ ถึงเร่ืองราวตา่ งๆ ที่เก่ียวขอ้ งกนั ในเชิงคาถามสาหรับคาวา่ “ระบบ”
(System)หมายถึง ชุดของสถาบนั และกิจกรรมต่างๆ ที่สามารถระบไุ ดใ้ นสงั คมซ่ึงมีหนา้ ท่ีในการแปลงการ
เรียกร้องประชาชน ไปสู่การตดั สินใจของรัฐบาล ซ่ึงจาเป็นตอ้ งไดร้ ับการสนบั สนุนจากสงั คมท้งั หมด
นอกจากน้ีคาวา่ “ระบบ”ยงั หมายถึงระบบยอ่ ยต่างๆ ของระบบใหญ่ ซ่ึงมีความสัมพนั ธก์ นั อยา่ งแนบแน่น
และระบบใหญ่สามารถตอบสนองต่อการเรียกร้องของกาลงั ต่างๆ จากภายนอก เพ่ือให้ระบบน้นั คงอยตู่ อ่ ไป
ได้

1. สภาพแวดลอ้ ม สิ่งตา่ งๆ ที่อยแู่ ยกจากระบบ

2. สิ่งท่ีนาเขา้ สู่ระบบขอ้ เรียกร้อง ความตอ้ งการในการรับ บริการทรัพยากรดา้ นตา่ งๆ แบแรง
สนบั สนุนจากนกั การเมือง เจา้ หนา้ ท่ีของรัฐและมวลชนต่างๆ

3. กระบวนการเปลี่ยนแปลง โครงสร้างท่ีเป็นทางการของหน่วยราชการท้งั หมด กฎ ระเบียบ
ขอ้ บงั คบั และวิธีปฏิบตั ิ ตลอดจนวฒั นธรรมทางการบริหารที่มีอิทธิพลโดยตรงต่อการเปลี่ยนแปลงส่ิงที่
นาเขา้ ใหเ้ ป็นนโยบาย

4. นโยบายอนั เป็นผลผลิต

5. ผลของการใหบ้ ริการ

6. ทิศทางของการยอ้ นกลบั

2

กรณีศึกษำ

กำรศึกษำยุค 4.0 ก่อนจะเป็นการศึกษาไทย 4.0 การศึกษาไทยในอดีตต้งั แตย่ คุ แรกหรืออาจจะเรียก
ไดว้ า่ เป็น การศึกษาไทยยคุ 1.0 เป็นการพฒั นาตามสภาพบริบทของสงั คมไทยท่ีมีพฒั นามาโดยตลอด โดย
เริ่ม นบั ยคุ 1.0 ต้งั แต่การมีแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบบั แรก สภาพบริบทของประเทศไทย
เรียกวา่ คือ Thailand 1.0 ยงั คงเป็นสังคมเกษตรเนน้ การเกษตรเป็นหลกั ประชากรประกอบอาชีพดา้ น
การเกษตรเป็นส่วนใหญ่หลกั สาคญั ของการจดั การศึกษาเป็นไปเพ่ือชุมชนของตนเองทกั ษะท่ีใชค้ ือทกั ษะ
เพอื่ การยงั ชีพ เช่น การปลกู ผกั ทาสวน บทบาทของครูคือเป็นการบอกใหผ้ เู้ รียนเขา้ ใจและทาตามไดต้ อ่ มา
เขา้ สู่ยคุ Thailand 2.0 มุง่ เนน้ ดา้ นอุตสาหกรรมขนาดเลก็ ไมซ่ บั ซอ้ นมาก เช่น อุตสาหกรรมส่ิงทอ
เครื่องนุ่งห่ม การศึกษาในยคุ 2.0 น้ีเป็นการศึกษาไปเพื่อระบบอุตสาหกรรมต่อมาเขา้ สู่ยุค Thailand 3.0
มงุ่ เนน้ ดา้ นอุตสาหกรรมขนาดใหญ่ที่มีความซบั ซอ้ น มีการส่งออกของสินคา้ มีนกั ลงทุนตา่ งชาติเขา้ มา
ลงทนุ เพยี งแต่ประเทศไทยเป็นเพียงประเทศผูร้ ับจา้ งผลิตเทา่ น้นั เช่น อตุ สาหกรรมไฟฟ้า อุตสาหกรรม
รถยนต์ อุตสาหกรรมอิเลก็ ทรอนิกส์ แตป่ ระเทศไทยยงั ไมค่ ่อยมีนวตั กรรมของตนเองถึงแมว้ า่ ในยคุ น้ีจะเขา้
สู่ยคุ เทคโนโลยมี ีความเป็นโลกาภิวตั นแ์ ลว้ กต็ ามการศึกษาเป็นการศึกษาเพ่ือชุมชนนานาชาติเนน้ ทกั ษะการ
ติดต่อสื่อสารทางเทคโนโลยเี ป็นหลกั เม่ือเขา้ สู่ยคุ 4.0 ประเทศไทยตอ้ งมีการสร้างนวตั กรรมเป็นของตนเอง
ใหไ้ ดโ้ ดยไมพ่ ่งึ พาต่างชาติเหมือนเม่ือก่อนมีเป้าหมายคอื เป็นประเทศท่ีมง่ั คง่ั มน่ั คง และยง่ั ยนื ตามแผน
ยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี โจทยใ์ หญท่ ี่สาคญั คือทาอยา่ งไรให้ประเทศไทยหลุดพน้ จากประเทศท่ีกาลงั พฒั นา
ไปสู่ประเทศท่ีพฒั นาแลว้ การทาใหป้ ระเทศไทยกา้ วสู่ประเทศที่มีรายไดส้ ูงมีการพฒั นาทรัพยากรมนุษยใ์ หม้ ี
คุณภาพสูง (พรชยั เจดามาน และคณะ, 2559: ออนไลน)์ ดา้ นภาพรวมของการศึกษาต้งั แตย่ คุ 1.0 จนถึง 4.0
มีความเปลี่ยนแปลงเป็นอยา่ งมากตลอดระยะเวลาประมาณกวา่ 60 ปี มีการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษาอยา่ ง
เห็นไดช้ ดั ไมว่ า่ จะเป็นเร่ืองของความหมายของการศึกษา บทบาทของเทคโนโลยีบทบาทของครู การใชส้ ่ือ
การสอนการใชว้ ิทยาการเขา้ มาประกอบในการเรียนการสอนท่ีทาใหย้ คุ ของการศึกษาแบบ 4.0 พฒั นาไปกบั
สภาพบริ บทของสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงความหมายของการศึกษามีการเปลี่ยนแปลงจากเดิมเป็ นการครูสอนให้
นกั เรียนตามคาสอน ตามแบบเรียนตอ่ มาเป็นการสร้างองคค์ วามรู้ร่วมกนั สร้างความรู้ใหม่ทางดา้ น
เทคโนโลยตี อ่ การศึกษาต้งั แตเ่ ขา้ สู่ยคุ โลกาภิวตั น์ช่วงทศวรรษท่ี 1990 บริบทสงั คมโลกเป็นบริบทสังคม
ขอ้ มูลขา่ วสารและเทคโนโลยโี ลกกลายเป็นโลกไร้พรมแดนความสะดวกในการติดต่อส่ือสารมีเพม่ิ มากข้ึน
โดยเฉพาะการมาของระบบอินเทอร์เน็ตทาใหส้ ่ิงตา่ งๆพลิกโฉมมากมาย ทางดา้ นการศึกษากเ็ ช่นกนั
อินเทอร์เน็ตเขา้ มามีบทบาทเพราะการศึกษาเป็นอยา่ งมากท้งั ในแงข่ องความสะดวกสบายการติดต่อสื่อสาร
การเขา้ ถึง ขอ้ มูล คน้ ควา้ ขอ้ มูล เป็นสื่อใชป้ ระกอบการเรียนการสอน และประโยชน์อีกมากมาย หอ้ งเรียนจึง
ไม่ใช่ หอ้ งเรียนที่เป็นเพยี งอาคารสถานท่ีอีกต่อไปดว้ ยวทิ ยาการและเทคโนโลยใี นยคุ 4.0 ทาใหห้ อ้ งเรียน

3

นโยบำยสำธำรณะกบั กำรศึกษำไทยยคุ 4.0 การดาเนินนโยบายสาธารณะดา้ นการศึกษามีเป้าหมาย
ไดห้ ลากหลายแต่ส่วนที่เป็นหวั ใจสาคญั ต่อการพฒั นาทุนมนุษยท์ ่ีเป็นรากฐานของการพฒั นาทางดา้ น
เศรษฐกิจสงั คมและการเมืองโดยสานกั การศึกษาท่ีมีส่วนสาคญั ในการจดั การกบั ปัญหาความเหลื่อมล้าใน
สังคม และสร้างความเท่าเทียมกนั ใ สงั คมผา่ นนโยบายสาธารณะทางดา้ นการศึกษาดงั น้นั นโยบายสาธารณะ
คือการมองนโยบายในฐานะที่เป็นกิจกรรมทางการเมืองต่อการศึกษาดว้ ยความเป็นสหวทิ ยาการของวชิ า
นโยบายสาธารณะทาใหก้ ารศึกษาวา่ นโยบายสาธารณะน้นั มีประโยชน์และความซบั ซอ้ นในการศึกษาจนถึง
กระบวนการ

ข้อเสนอแนะนโยบำยสำธำรณะต่อกำรศึกษำไทยยคุ 4.0 นโยบายสาธารณะตอ่ การศึกษาไทยยคุ 4.0
ควรเปิ ดโอกาสใหม้ ีช่องทางหรืออานวยความสะดวกเกี่ยวกบั การศึกษาโดยเฉพาะอาจจะเป็นเรื่องของการให้
สิทธิพเิ ศษการส่งเสริมการเรียนรู้การใชว้ ิทยาการเทคโนโลยเี พือ่ การเรียนการสอนนโยบายสาธารณะควรมี
การเขา้ ไปช่วยเหลือสิ่งเหล่าน้ีการลดข้นั ตอนทางภาครัฐบางอยา่ งถึงแมจ้ ะมีความสะดวกสบายเพมิ่ มากข้นึ ก็
ตามแต่ตอ้ งไม่ลืมวา่ จะตอ้ งมีการตรวจสอบถึงความถกู ตอ้ งในทุกข้นั ตอนเพอ่ื เป็นการป้องกนั การหา
ผลประโยชนจ์ ากการอานวยความสะดวกจากข้นั ตอนดงั กล่าวดา้ นการส่งเสริมการศึกษาภาครัฐควรมี
นโยบายท่ีจะคดั เลือกและใหโ้ อกาสรวมท้งั มีความร่วมมือกบั ภาคส่วนอ่ืนท้งั ภาคประชาสังคมภาคประชาชน
ภาคเอกชนเพอ่ื นามาบูรณาการนโยบายสาธารณะตอ่ การศึกษาไทยถึงแมว้ า่ จะมีนโยบายสาธารณะ
หลากหลายดา้ นท่ีเกี่ยวกบั การศึกษาไมว่ า่ จะเป็นรัฐธรรมนูญแผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
แผนการศึกษาแห่งชาติยทุ ธศาสตร์ชาติ แต่ท้งั หมดกย็ งั เป็นเพียงแผนและนโยบายแตใ่ นทางปฏิบตั ิภาครัฐ
ควรจะเขา้ ใจถึงปัญหาท้งั หมดที่มีอยใู่ นประเทศปัญหาสงั คมและปัญหาต่างๆ ที่มีความซบั ซอ้ นทาใหเ้ ป็น
อปุ สรรคต่อการศึกษาของประชาชนอยา่ งละเอียดจากท้งั ปัจจยั ท่ีทาใหเ้ ป็นอุปสรรคหลากหลายรูปแบบ ใน
ภาคปฏิบตั ิของการนานโยบายสาธารณะต่อการศึกษาในยคุ 4.0 จึงจาเป็นจะตอ้ งมีการจดั การเรียนรู้ดว้ ยการ
พฒั นาผสู้ อนใหม้ ีทกั ษะและความสามารถในการสอนอยา่ งมีคุณภาพและประสิทธิภาพ ทงั การเตรียม
หลกั สูตรบทบาทของครูผสู้ อนทกั ษะของผสู้ อนเพ่ือผลประโยชนต์ อ่ ตวั ผเู้ รียนกฎหมายพระราชบญั ญตั ิ
รวมถึงนโยบายตา่ ง ๆ นอกจากจะตอ้ งคานึงถึงตวั ผเู้ รียนเป็นหลกั แลว้ นโยบายกฎหมายต่างๆ ท่ีเก่ียวขอ้ งกบั
ผสู้ อนก็ควรจะมีนโยบายท่ีช่วยใหผ้ สู้ อนที่ครอบคลมุ ในทุกดา้ นถึงแมว้ า่ จะเป็นนโยบายสาหรับผสู้ อน
โดยเฉพาะกต็ ามซ่ึงนโยบายในส่วนของผสู้ อนตอ้ งมีการบูรณาการใหม้ ีความเป็นนโยบายสาธารณะที่เปิ ด
โอกาสใหภ้ าคส่วนตา่ งๆ เขา้ มามีส่วนร่วมเพ่ือเป็นการพฒั นาท้งั ระบบการศึกษาเพ่ือใหน้ โยบายสาธารณะกบั
การศึกษาไทยเป็นการศึกษาในยคุ 4.0 อยา่ งแทจ้ ริง

สรุป การศึกษาไทยในยคุ 4.0 เป็นนโยบายสาธารณะดา้ นการศึกษาระดบั ชาติท่ีมงุ่ ยกระดบั
การศึกษาของประเทศไทยมีความสาคญั ต่อการพฒั นาประเทศเป็นความพยายามของรัฐในการพฒั นา
นโยบายทางการศึกษาไปพร้อมกบั การพฒั นาดา้ นอ่ืนท่ีเป็นส่วนหน่ึงของยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี ถึงแมว้ า่ จะมี

4

ท้งั แผนการศึกษาแห่งชาติ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ รัฐธรรมนูญ พระราชบญั ญตั ิต่าง ๆ แลว้
กต็ ามในเชิงนโยบายแตใ่ นภาคปฏิบตั ิยงั มีเร่ืองอ่ืนที่ยงั เป็นปัญหาอยู่อีกมากท้งั จากปัจจยั ภายในและปัจจยั
ภายนอก โดยเฉพาะปัญหาจากตวั บุคคลไมว่ า่ จะเป็นผสู้ อนผทู้ ่ีอยใู่ นระบบการเรียนการสอนนกั เรียน
นกั ศึกษาท่ีจาเป็นจะตอ้ งมีการพฒั นานอกเหนือจากความรู้ที่สามารถหาไดจ้ ากการศึกษาทว่ั ไปแต่ในดา้ น
จิตใจก็ควรจะไดร้ ับการพฒั นาใหม้ ีคุณธรรมจริยธรรมเพื่อเป็นการลดปัญหาท่ีจะเป็นอุปสรรคต่อการศึกษา
ในส่วนของการพฒั นาจิตใจน้ีเองถึงแมว้ า่ นโยบายสาธารณะอาจจะดูเหมือนไมเ่ ก่ียวขอ้ งแต่หากรัฐมี
มาตรการในการจดั การหรือแผนการที่ดีจะเป็นการช่วยลดภาระของบคุ ลากรในการจดั การปัญหาท่ีเกิดข้นึ
นโยบายสาธารณะจึงควรมีบทบาทเป็นอยา่ งมากในการจดั การปัญหาน้ีดงั น้นั การศึกษายคุ 4.0 ควรจะเป็น
นโยบายสาธารณะอยา่ งแทจ้ ริงเพราะส่งผลต่อคนท้งั ประเทศและอนาคตของประเทศจึงควรใหภ้ าคส่วนต่าง
ๆ เขา้ มามีส่วนร่วมกบั นโยบายรวมท้งั รัฐควรจะส่งเสริมเร่ืองอื่นที่เกี่ยวขอ้ งศึกษานโยบายที่เกี่ยวขอ้ งแบบ
ทางออ้ มรัฐจึงจาเป็นจะตอ้ งใชน้ โยบายสาธารณะใหเ้ กิดประโยชนส์ ูงสุดเพื่อใหน้ โยบายทางการศึกษา
สามารถเขา้ ถึงกบั คนทุกคนในสังคมสามารถใชง้ านนโยบายสาธารณะเหลา่ น้ีไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพและ
เพอื่ เป็นการสร้างบรรยากาศที่เหมาะสมกบั การศึกษายคุ 4.0 ไปดว้ ยเพื่อใหก้ ารศึกษาไทยในยคุ 4.0 เป็น
พ้นื ฐานที่ดีกบั ประเทศไทย 4.0 รัฐควรทางานในเชิงรุก เช่น จดั ต้งั หน่วยงานเฉพาะเพอ่ื ศึกษาและพฒั นา
นโยบายสาธารณะทางดา้ นการศึกษาโดยเฉพาะรวมท้งั ประสานงานร่วมกบั หลายภาคส่วนเพ่อื การปรับปรุง
พฒั นานโยบายเพอ่ื ใหส้ อดรับกบั ความแตกต่างของสังคมที่มีความหลากหลายที่แตล่ ะพ้นื ที่อาจจะมีความ
ตอ้ งการบางอยา่ งท่ีแตกตา่ งกนั เพ่ือผลสมั ฤทธ์ิตามแผนยทุ ธศาสตร์ชาติ 20 ปี สุดทา้ ยน้ีหากมองวา่ นโยบาย
สาธารณะคือส่ิงท่ีรัฐเลือกท่ีจะทาหรือไมท่ าตามความหมายท่ีกลา่ วไวต้ อนตน้ แลว้ นโยบายสาธารณะที่ดีควร
เนน้ ใหค้ นเป็นศูนยก์ ลางในการพฒั นาและมองเป้าหมายตามความเป็นจริงรัฐจะตอ้ งทาทกุ อยา่ งทกุ วถิ ีทางกบั
การศึกษาเพื่ออานวยผลประโยชน์ใหป้ ระชาชนไดม้ ากท่ีสุดเพราะการพฒั นาทุนมนุษยถ์ ือไดว้ า่ เป็นตน้ ทุน
ในการพฒั นาประเทศที่ไม่สามารถนบั ความ คมุ้ คา่ ออกมาเป็นมลู ค่าในเชิงกาไรหรือขาดทุนแบบธุรกิจ
สุดทา้ ยผเู้ ขียนเสนอวา่ นโยบายสาธารณะกบั การศึกษายคุ 4.0 ท่ีเนน้ การสร้างนวตั กรรมใหแ้ ก่ประเทศชาติ มี
ยทุ ธศาสตร์ท่ีสนบั สนุนมีแผนการศึกษาแห่งชาติแตห่ ากขาดความร่วมมือและการมีส่วนร่วมของทกุ ภาค
ส่วนที่เกี่ยวขอ้ งส่ิงเหล่าน้ีก็อาจจะเป็นเพยี งแค่นโยบายที่เขียนไวใ้ นกระดาษ เป็นเพยี งแคน่ วตั กรรมในความ
ฝันท่ีไมส่ ามารถสร้างและพฒั นาทนุ มนุษยใ์ หก้ า้ วหนา้ ทดั เทียมกบั ประเทศอ่ืนๆ ได้

นำกรณีศึกษำมำวเิ ครำะห์ในตัวแบบเชิงระบบ

การศึกษาเป็นระบบระบบหน่ึงท่ีมีความสาคญั อยา่ งมากสาหรับเด็กในยคุ ใหม่ซ่ึงเป็นรากฐานของ
การพฒั นามนุษยเ์ ป็นท่ีที่สามารถทากิจกรรมร่วมกบั ผอู้ ื่น และเป็นสังคมแห่งแรกท่ีจะฝึ กใหต้ วั เดก็ มีความรู้
การเขา้ สังคมและการเอาตวั รอดตา่ งๆสถาบนั ทุกฝ่ายพร้อมกนั ที่จะสนบั สนุน เพราะเด็กเป็นกาลงั สาคญั ใน
การพฒั นาบา้ นเมืองต่อไป เด็กยคุ ใหมม่ ีความคิดท่ีค่อนขา้ งจะกา้ วไกลและทนั สมยั เป็นอยา่ งมาก แตน่ ่า

5

เสียดายท่ีบางคร้ังอุปกรณ์เทคโนโลยตี ่างๆกเ็ ขา้ ไมถ่ ึงในเด็กบางกลุ่ม เดก็ ทกุ คนยอ่ มมีความเก่งที่แตกต่างกนั
ไป เราจึงตอ้ งสนบั สนุนใหเ้ ด็กๆไดท้ าตามในแบบที่ตนเองไดฝ้ ันหรือต้งั ใจเอาไว้ เพราะอาจจะเป็นสิ่งที่
เปลี่ยนแปลงประเทศเลยก็อาจเป็นได้ ประเทศไทยยงั เป็นประเทศที่กาลงั พฒั นาจึงจาเป็นอยา่ งมากท่ีจะตอ้ ง
ทาใหป้ ระเทศมีเด็กท่ีเก่งในทุกๆดา้ นเพือ่ ท่ีจะพฒั นาประเทศ ไดก้ า้ วขา้ มจากจุดที่กาลงั พฒั นา การศึกษาท่ี
กวา้ งข้นึ ในปัจจุบนั ทาใหต้ วั เดก็ เองมีความรู้มากในเร่ืองเทคโนโลยี และในดา้ นวิทยาศาสตร์ ความเติบโต
ของโลกกบั เด็กยคุ ใหม่เป็นสิ่งท่ีคู่กนั ในตอนน้ีประเทศไทยกาลงั เขา้ สู่โลกแห่งใหมเ่ ป็นโลกแห่งเทคโนโลยี
อยา่ งเตม็ ตวั ทกุ อยา่ งจะใชเ้ ทคโนโลยแี ทบจะทุกประเภท ประเทศไทยเป็นประเทศรับจา้ งผลิตอุตสาหกรรม
แต่ยงั ไม่ค่อยมีนวตั กรรมเป็นของตนเองมากนกั จึงอาจจะเป็นจุดดอ้ ยของการศึกษาไทยกเ็ ป็นได้ ในอนาคต
หลายฝ่ายยงั คงต้งั ความหวงั ท่ีจะมีนวตั กรรมท่ีเป็นของคนไทยไปสู่ระดบั นานาชาติ

จุดเด่นของตัวแบบเชิงระบบ

การกาหนดนโยบายคอ่ นขา้ งจะเป็นระบบ คือนโยบายสาธารณะเป็นผลผลิตของระบบการเมือง ซ่ึง
นโยบายสาธารณะแตล่ ะนโยบายจะมีเหตผุ ลหรือไม่ ข้ึนอยกู่ บั ปัจจยั นาเขา้ ของระบบ ไดแ้ ก่ การเรียกร้อง
และการสนบั สนุนของประชาชน นอกจากน้ียงั ข้ึนอยกู่ บั ขีดความสามารถของระบบเองในการปรับ เปลี่ยน
ปัจจยั นาเขา้ โดยการตดั สินใจอยา่ งมีเหตุผล คานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และการนาสิ่งท่ีตดั สินใจไป
ปฏิบตั ิจุดเด่นท่ีสาคญั อีกประการหน่ึงคือ ตวั แบบน้ีใหค้ วามสาคญั ต่อสภาพแวดลอ้ มของระบบการเมือง
โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ สภาวการณ์ทางเศรษฐกิจ สงั คม การเมืองวา่ จะส่งผลในเชิงบวกหรือเชิงลบต่อการ
ปฏิบตั ิงานของระบบใหม้ ีประสิทธิภาพหรือไมเ่ พยี งใด

จุดด้อยตวั แบบเชิงระบบ

1. ปัจจยั แวดลอ้ มท่ีสาคญั มีประการใดบา้ งท่ีช่วยเอ้ืออานวยใหม้ ีการเรียกร้องต่อระบบการเมือง

2. ระบบการเมืองท่ีมีคุณลกั ษณะเช่นใดจึงจะสามารถแปลงการเรียกร้องให้เป็นนโยบายและมีความตอ่ เนื่อง

3. ปัจจยั นาเขา้ มีผลต่อคุณลกั ษณะของระบบการเมืองไดอ้ ยา่ งไร

4. คุณลกั ษณะของระบบการเมืองมีผลต่อเน้ือหาสาระของนโยบายไดอ้ ยา่ งไร

5. ปัจจยั แวดลอ้ มนาเขา้ มีผลต่อเน้ือหาสาระของนโยบายสาธารณะไดอ้ ยา่ งไร

6. นโยบายสาธารณะสงผลตอ่ ส่ิงแวดลอ้ มและคณุ ลกั ษณะของระบบการเมืองไดอ้ ยา่ งไร

6

บรรณำนุกรม

ไทยทริบูน. (2561). ปรับการศึกษา 0.4 สู่ 4.0 ดว้ ย 4 แนวทางอนาคตใหม่การปฏิรูปการศึกษา ไทย, คน้ เม่ือ
วนั ท่ี 2 พฤศจิกายน 2564, จาก http://thaitribune.org/

การพฒั นาการศึกษาภายใตก้ รอบประเทศไทย 4.0 สู่ศตวรรษท่ี 21. คน้ เมื่อวนั ที่2 พฤศจิกายน 2564, จาก
http://oknation.nationtv.tv/

หอจดหมายเหตุอคั รสังฆมณฑลกรุงเทพฯ. (2016). โรงเรียนหลวงแห่งแรก. คน้ เมื่อวนั ท่ี2 พฤศจิกายน 2564,
จาก http://catholichaab.com/

ตัวแบบเชิงระบบ คน้ เมื่อวนั ท่ี2 พฤศจิกายน 2564, จาก (System Model) https://www.gotoknow.org/


Click to View FlipBook Version