The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by vilivan2369, 2022-04-15 17:52:58

ใบงาน 3.2

ใบงาน 3.2

1

ใบนำเสนองาน

การศกึ ษาค้นควา้ เรียนรเู้ พอื่ พัฒนาตนเอง

แบบสรปุ องค์ความรู้การสกึ ษาคน้ คว้าเรยี นร้เู พอ่ื พัฒนาตนเอง

วิทยากรพ่ีเลี้ยง...........ผอ.พูนสขุ ธัชโอภาส.........................................................................................

ชือ่ -สกุล นางวิไลวรรณ แกว้ ถาวร กล่มุ ท่ี 20 เลขท่ี 9

............................................................................ .................................................................................. .......

องคค์ วามรู้ที่ไดจ้ าการศกึ ษาคน้ คว้าเรยี นรูพ้ ฒั นาตนเองและการนำไปประยุกตใ์ ช้

สมรรถนะหลกั ท่ี 2 ภาวะผูน้ ำทางวิชาการและวิชาชีพอาชวี ศึกษา

สมรรถนะย่อย การบรหิ ารการเปล่ียนแปลงด้านวิชาการและวิชาชพี อาชีวศกึ ษา

2.1 สมรรถนะทคี่ าดหวัง ความสามารถเป็นผู้นำการบรหิ ารการเปลี่ยนแปลง (Change

Management )สอดคล้องกบั การบรหิ ารและการจัดการอาชวี ศกึ ษาในสภาวะปกตินวิ (New Normal) สู่

ยคุ ชีวติ วิธนี าคต(Next Normal) เป็นนักคิด นกั ประสานงาน นักพฒั นาท่ที ันโลก ทันเทคโนโลยี มกี ล

ยทุ ธแ์ ละเทคนิควิธีการในการสร้างกระบวนการบริหารการเปลย่ี นแปลงและสามารถขบั เคลอ่ื นภารกิจให้

เปน็ องค์กรการเปลี่ยนแปลงทมี่ คี ุณภาพ

ผนู้ ำการเปลย่ี นแปลง หมายถงึ พฤตกิ รรมที่ผ้นู ำแสดง ใหเ้ หน็ ถงึ ความสามารถในการจดั การ

กระบวนการจัดการทผ่ี ู้นำมอี ิทธพิ ลตอ่ ผตู้ าม ปฏิสมั พนั ธท์ ่ีผูน้ ำ และผตู้ ามมีต่อกนั กอ่ ใหเ้ กิดการเปลย่ี นแปลงท้งั

สองฝา่ ย กล่าวคอื ผู้นำการเปล่ยี นแปลงท่ดี ี ต้อง ตระหนักถึงความตอ้ งการของผูต้ ามและกระตนุ้ ผู้ตามให้เกดิ

จิตสำนกึ ยกระดับความต้องการของผตู้ าม ให้สงู ข้ึนตามลำดับขน้ั ความต้องการ ผู้นำการเปลี่ยนแปลงยงั

เปลยี่ นแปลงความเช่ือและทัศนคตขิ อง ผตู้ าม สร้างแรงบนั ดาลใจ ทำให้เกดิ การตระหนักร้ใู นภารกจิ และ

วสิ ัยทศั น์ ให้ความสำคญั กบั ผล ประโยชนส์ ่วนรวมและม่งุ ที่จะบรรลุเป้าหมายร่วมกัน

กระบวนการทผี่ ูน้ ำมีอทิ ธิพลต่อผู้รว่ มงานหรอื ผู้ตามจะกระทำโดยผา่ นองค์ประกอบพฤติกรรมเฉพาะ

4 ประการ

1) การมีอิทธิพลอย่างมอี ุดมการณ์ หมายถงึ การท่ีผู้นำประพฤตติ ัว เป็นแบบอย่าง นา่ ยกย่องเคารพ

นับถอื และทำใหผ้ ูต้ ามเกิดความภาคภมู ใิ จเมื่อรว่ มงานกัน คณุ ลักษณะ ของผูน้ ำ คอื มีวิสยั ทัศน์และสามารถ

ถ่ายทอดไปยงั ผตู้ าม สามารถควบคมุ อารมณ์ได้ในสถานการณ์ วกิ ฤต ประพฤติตนเพื่อให้เกิดประโยชน์แก่

ส่วนรวม มีความเฉลยี วฉลาด มีความตง้ั ใจ เชื่อมัน่ ในตนเอง มีความแน่วแนใ่ นอดุ มการณ์

2) การสร้างแรงบนั ดาลใจ หมายถงึ การจงู ใจใหผ้ ตู้ ามเกิด แรงบนั ดาลใจ ให้ความหมายและท้าทาย

ในเรอื่ งงานทำใหผ้ ู้ตามมชี วี ติ ชวี า มีการแสดงออกซึ่งความ กระตือรอื รน้ สรา้ งเจตคติท่ดี ีและการคดิ ในแง่บวก

ผู้นำจะแสดงการทมุ่ เทต่อเป้าหมายและวสิ ัยทัศน์ ผ้นู ำอาจสรา้ งแรงบนั ดาลใจผ่านความเปน็ ปจั เจกบคุ คล และ

การกระตุ้นทางปัญญา ซ่ึงช่วยให้ผตู้ าม สามารถจัดการกับอุปสรรคของตนเอง

3) การกระต้นุ ทางสติปญั ญา หมายถึง การท่ผี ู้นำกระตุน้ ผูต้ าม ให้ตระหนักถึงปญั หาต่างๆที่เกิดข้ึน

ในหนว่ ยงาน ทำให้ผู้ตามเกิดการสรา้ งสรรคส์ ง่ิ ใหม่ๆ แสวงหาแนว ทางใหมๆ่ มาแก้ปญั หาในหน่วยงาน กระต้นุ

ให้ผูต้ ามร้สู ึกวา่ ปัญหาท่เี กิดข้ึนเป็นส่ิงทท่ี ้าทายความสามารถ ทำให้ผู้ตามเกดิ ความกล้าท่ีจะคดิ สร้างสรรค์

นำเสนอสงิ่ ใหม่และแกไ้ ขปัญหาดว้ ยตนเอง

1

4) การคำนึงถึงความเปน็ ปัจเจกบคุ คล หมายถงึ การที่ ผูน้ ำให้การดูแลเอาใจใสผ่ ตู้ ามเปน็ รายบคุ คล
ทำให้ผ้ตู ามรสู้ กึ มีคุณค่าและมีความสำคญั ผู้นำจะเปน็ โคช้ (Coach) และเปน็ ที่ปรึกษา (Advisor) ผ้นู ำจะ
ส่งเสรมิ พฒั นาศักยภาพของผู้ตามและเพื่อนรว่ มงานให้สงู ขึ้น โดยการใหโ้ อกาสในการเรียนรูส้ ่งิ ใหมๆ่ เข้าใจ
และยอมรับความแตกตา่ งระหว่างบุคคล เปดิ โอกาส ใหผ้ ้ตู ามไดใ้ ช้ความสามารถอยา่ งเต็มท่ี

2.2 สามารถขับเคลือ่ นการศึกษาเปน็ องค์กรแห่งการเรียนรูด้ ว้ ยระบบเทคโนโลยีดจิ ติ อล
ในปจั จุบนั โลกก้าวเข้าส่สู งั คมยคุ ดิจิทัลก่อให้เกิดการเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็วในทุก ๆ ด้านทง้ั ดา้ น
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และการศึกษาสง่ ผลให้ทุกองค์กรตอ้ งมกี ารปรบั ตวั และเรยี นรู้เพ่อื พัฒนา องคก์ ร
เพื่อความอยรู่ อด เทคโนโลยีดิจทิ ัลไดเ้ ข้ามามีอิทธพิ ลต่อการดำรงชีวิตและการทำงาน โดยเฉพาะ การทำงานใน
ยคุ ปจั จุบนั การเรยี นรู้ดิจิทลั จึงจำเป็นตอ่ การปฏิบตั งิ านและเปน็ กลไกสำคญั อยา่ งยงิ่ ในการ ขบั เคล่ือนสงั คม
โลกให้ดำรงอยู่และพัฒนาไปได้ดว้ ยดี การพัฒนาบุคคลไปสู่การเป็นผรู้ ้ดู ิจิทัลจงึ เปน็ ภารกจิ สำคัญขององค์กร
แนวโนม้ การทำงานในยคุ ดิจทิ ัลเป็นส่ิงทค่ี นทำงานทุกคนไม่อาจมองข้าม เพราะ เทคโนโลยสี ามารถช่วยให้
การทำงานยุคใหม่มีความสะดวก รวดเร็ว เชือ่ มโยงถงึ กันได้มากขึ้น และเพ่ิมโอกาสในความสำเรจ็ มากขึ้น ซงึ่
สอดคล้องกบั แผนพฒั นาดิจทิ ัลเพอ่ื เศรษฐกิจและสังคม ยุทธศาสตรท์ ่ี 5 ไดก้ ลา่ ววา่ องค์กรจะต้องพัฒนา
กำลงั คนให้มีความพรอ้ มในการเขา้ สูย่ ุคเศรษฐกจิ และสงั คมดจิ ทิ ัล โดย ใหค้ วามสำคญั กับการพฒั นากำลงั คนวยั
ทำงานท้งั บุคลากรภาครฐั และภาคเอกชนทกุ สาขาอาชีพ ให้มคี วามสามารถในการสรา้ งสรรค์และใชเ้ ทคโนโลยี
ดิจิทลั อย่างชาญฉลาดในการประกอบอาชีพและสร้าง รายได้ สง่ เสริมการพฒั นาทักษะ ความเชย่ี วชาญเฉพาะ
ด้านทีร่ องรบั เทคโนโลยใี หมใ่ นอนาคต และพัฒนา ผบู้ ริหารให้สามารถวางแผนการนำเทคโนโลยดี ิจทิ ลั ไป
พัฒนาภารกิจตลอดจนสามารถสร้างคณุ ค่าจาก สารสนเทศขององค์กร (กระทรวงดจิ ิทัลเพ่อื เศรษฐกจิ และ
สังคม
จากความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยดี ิจิทัล ทำใหท้ ุกองค์กรต้องปรับตัวและพัฒนาอย่างต่อเน่ือง ดังนนั้
การบรหิ ารองคก์ รภายใตส้ ภาพแวดลอ้ มทีเ่ ปลยี่ นแปลงอย่างรวดเร็ว องคก์ รจึงต้องพยายามหา กลยุทธแ์ ละ
แนวทางในการดำเนินการเพื่อพฒั นาองคก์ รใหม้ ปี ระสิทธิภาพเป็นทยี่ อมรับ และไดเ้ ปรยี บ ในการแขง่ ขนั ได้
อย่างย่ังยืน การจะพัฒนาองค์กรใหม้ ีศักยภาพดังกล่าว สามารถกระทำไดโ้ ดย ใช้แนวคิดเกี่ยวกับองคก์ รแหง่
การเรยี นรู้ (Learning Organization) ซงึ่ เป็นแนวคิดในการพัฒนาองค์กร โดยเน้นการพัฒนาการเรยี นรู้ การ
เปน็ ผนู้ ำองค์กร การแลกเปลี่ยนองค์ความรู้ ประสบการณ์ และทักษะ สร้างชอ่ งทางใหเ้ กิดการถา่ ยทอดความรู้
ซง่ึ กนั และกนั ระหวา่ งสมาชิกควบคู่ไปกบั การรบั ความรู้ จากภายนอก พฒั นาองค์กรอย่างต่อเนื่องทันต่อการ
เปลย่ี นแปลงและการแข่งขัน บคุ ลากรมีความ ใฝ่เรยี นรู้ สรา้ งสรรคแ์ นวคิดใหม่ ๆ นำเทคโนโลยีและนวตั กรรม
มาใชเ้ พ่ือแก้ปัญหา พฒั นาปรับปรุง วธิ ีการดำเนนิ งานและเพมิ่ ผลผลติ และมีศักยภาพท่จี ะนำไปสผู่ ลลัพธ์
ร่วมกันของบุคลากรในองคก์ ร การเปน็ องค์กรแห่งการเรยี นรจู้ ะส่งผลให้องค์กรและบคุ ลากรมกี ระบวนการ
ทำงานทีม่ ีประสทิ ธภิ าพ และมีผลการปฏิบัตงิ านทม่ี ีประสิทธิผล มกี ารทำงานเปน็ ทีม เปิดโอกาสใหท้ มี ทำงาน
สรา้ งกระบวนการเรยี นรเู้ ปน็ พลวตั สร้างความเขา้ ใจเพ่ือเตรยี มรบั การเปลีย่ นแปลง ให้อำนาจการตัดสนิ ใจ
เพือ่ สง่ เสริมให้เกดิ บรรยากาศของการคดิ ริเร่ิม และใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศในการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ สอดคล้องกบั
แนวคิดของ Marquardt and Reynolds (1994) ไดก้ ล่าววา่ องค์กรแห่งการเรยี นรู้เป็น องค์กรท่ีมี
บรรยากาศท่ีกระตุน้ การเรียนรู้ของบุคคลและกลุม่ ให้เกดิ ข้ึนอย่างรวดเร็วโดยใช้ กระบวนการคดิ
วิพากษ์วจิ ารณ์ เพ่ือสรา้ งความเข้าใจต่อสง่ิ ทีเ่ กิดขึ้น มวี ธิ กี ารเรียนรทู้ เี่ ปน็ พลวัต โดย อาศัยการเรยี นรู้ การ

1

จัดการความรแู้ ละการใชค้ วามรู้เป็นเครอ่ื งมือไปส่คู วามสำเรจ็ ควบคไู่ ปกับการใช้ เทคโนโลยีทที่ ันสมยั โดยมี
องคป์ ระกอบ 11 ประการคอื

1) โครงสรา้ งทีเ่ หมาะสม (Appropriate Structure)
2) วฒั นธรรมการเรยี นรู้ในองคก์ ร (Corporate Learning Culture)
3) การเพ่ิมอำนาจ และความรบั ผิดชอบในงาน (Empowerment)
4) การวิเคราะหส์ ภาพแวดล้อม (Environment Scanning)
5) การสร้างและถ่ายโอนความรู้ (Knowledge Creation And Transfer)
6) เทคโนโลยี สนบั สนนุ การเรียนรู้ (Learning Technology)
7) มงุ่ เนน้ คณุ ภาพ (Quality)
8) กลยุทธ์ (Strategy)
9) บรรยากาศทเ่ี กื้อหนนุ (Supportive Atmosphere)
10) การท างานเป็นทีมและมีเครอื ขา่ ย (Teamwork And Networking)
11) การมีวิสยั ทัศน์ร่วม (Shared Vision)
จะเหน็ ได้ว่า รากฐานของการเกิดองคก์ รแห่งการเรยี นรนู้ นั้ คือ การเรยี นรู้ ถา้ องค์กรปราศจากบุคคลใฝ่
เรยี นรู้ แสวงหาความรู้ และพัฒนาตนเองแลว้ กย็ ากท่ีองค์กรจะกา้ วไปสู่องค์กรแห่งการเรียนรไู้ ด้ ซงึ่ การ
เรยี นร้จู ะเกิดขน้ึ ได้ นอกจากจะเกิดจากแรงจูงใจภายในของบคุ คลแลว้ องค์กรจะตอ้ งเอื้ออำนวย ความสะดวก
สนบั สนุน และกระต้นุ ใหบ้ ุคลากรทกุ ระดบั เกดิ การเรียนรซู้ ึ่งสถานศกึ ษาเปน็ หน่วยงานหลัก ในการสร้างและ
พัฒนาความรเู้ พ่ือช่วยพฒั นาประเทศชาติ สถานศึกษา จงึ เปน็ องค์กรท่ีจำเปน็ ต้องมีลักษณะ การเปน็ องค์กร
แห่งการเรยี นรู้ เพราะจะก่อให้เกดิ ประโยชน์ต่อการพฒั นาความรู้ ความสามารถของผูบ้ รหิ าร ครู อาจารย์ และ
บุคลากรทางการศึกษา สง่ ผลโดยตรงตอ่ คุณภาพของ ผเู้ รียน


Click to View FlipBook Version