The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Pimnamphueng Wanasam, 2022-03-20 11:37:39

รายงานผลการปฏิบัติงาน ครั้งที่ 1(1/10/64)

รายงานผลการปฏิบัตงิ านของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา
สายงานการสอน

เพื่อประกอบการประเมนิ ประสทิ ธภิ าพและประสิทธิผลการปฏบิ ัตงิ านและประกอบการพจิ ารณาเล่อื น
เงินเดือน

ครัง้ ที่ 1 (1 ตลุ าคม 2564 – 31 มีนาคม 2565)

จดั ทำโดย
นางพพิมพน์ ำ้ ผง้ึ วรรณสาม
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะครชู ำนาญการ

โรงเรียนมาบอำมฤตวทิ ยา อำเภอปะทวิ จังหวดั ชุมพร
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามธั ยมศึกษาสรุ าษฎรธ์ านี ชุมพร
สำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ

บนั ทกึ ข้อความ

สว่ นราชการ โรงเรยี นมาบอำมฤตวิทยา

ท่ี / 2565 วนั ท่ี 16 มีนาคม 2565

เรื่อง รายงานการผลการปฏิบตั ิงานของข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา สายงานการสอน

เพื่อประกอบการประเมนิ ประสทิ ธิภาพและประสิทธผิ ลการปฏบิ ัตงิ านและประกอบการพิจารณา

เล่ือนเงนิ เดอื น ครั้งที่ 1 (1 ตุลาคม 2564 – 31 มีนาคม 2565)

เรยี น ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นมาบอำมฤตวิทยา
ส่ิงที่ส่งมาด้วย แบบรายงานผลการปฏิบตั งิ าน ฯ คร้ังท่ี 1 (1 ต.ค. 2564 – 31 มี.ค. 2565) จำนวน
1 เลม่

ตามท่ีโรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา ไดม้ อบหมายให้บุคลากรโรงเรียน รายงานผลการปฏบิ ตั ิงาน
ของขา้ ราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน เพื่อประกอบการประเมนิ ประสิทธภิ าพและ
ประสิทธิผลการปฏบิ ัตงิ าน และประกอบการพิจารณาเลื่อนเงินเดอื น คร้งั ท่ี 1 (1 ต.ค. 2564 – 31 มี.ค.
2565) นัน้

ขา้ พเจ้า นางพมิ พน์ ำ้ ผึ้ง วรรณสาม ตำแหนง่ ครู วทิ ยฐานะครชู ำนาญการ จึงขอรายงานผล
การปฏบิ ัตงิ านดงั เอกสารตามแนบ

จงึ เรียนมาเพ่อื โปรดพจิ ารณา

ลงช่อื ............................................... ผ้รู ายงาน
(นางพิมพ์นำ้ ผงึ้ วรรณสาม )

ตำแหน่ง ครู วิทยานะครชู ำนาญการ

ความเห็นผอู้ ำนวยการโรงเรียน
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

(นางอสิ รีย์ อิฐกอ)
ผู้อำนวยการโรงเรยี นมาบอำมฤตวทิ ยา

………../…………………./………….….



คำนำ

รายงานผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน
ฉบับนี้ จัดทำขึ้นเพื่อประกอบการพิจาณาประเมินประสิทธภิ าพและประสิทธิผลการปฏิบัติงาน เพื่อการเลื่อน
เงินเดอื นขา้ ราชการครแู ละบุคลากรทางการศึกษา สายงานการสอน ตามหลักเกณฑ์และวธิ ีการประเมินผลการ
ปฏิบัติงานของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ที่ ก.ค.ศ. กำหนด (ว23/2564) ซึ่งผู้ขอรับการ
ประเมินได้เรียบเรียงและรวบรวมข้อมูล นำเสนอผลการปฏิบัติงานตามหน้าที่และความรบั ผิดชอบและผลงาน
ตามลักษณะงานท่ีปฏิบัติตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวทิ ยฐานะ รวมทัง้ งานหน้าที่อน่ื ท่ไี ดร้ บั มอบหมาย
ในด้านปรมิ าณงานและคุณภาพของงาน รวมทง้ั ผลงานทป่ี รากฏตอ่ การจดั การศกึ ษา

ขอขอบคุณ ผู้อำนวยการโรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
โรงเรยี นมาบอำมฤตวิทยา คณะครแู ละนกั เรียน ทไี่ ดร้ ว่ มกันรบั ผดิ ชอบในงานหนา้ ท่ีของตนและได้รว่ มคิด ร่วม
ปรึกษาหารือ ร่วมตัดสินใจ ร่วมดำเนินการและร่วมประเมินผล เพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่อง ทำให้การ
ดำเนินงานในโรงเรียนประสบผลสำเร็จตามเป้าหมายและขอขอบคุณผู้เกี่ยวข้องทุกคนที่ทำให้เอกสารฉบับน้ี
สำเร็จเรยี บร้อยด้วยดี

นางพมิ พ์นำ้ ผง้ึ วรรณสาม
ตำแหน่ง ครู วทิ ยฐานะครูชำนาญการ

สารบญั

หนา้

สว่ นที่ ๑ ข้อมลู ทวั่ ไป 1

ส่วนที่ ๒ รายงานผลการปฏบิ ตั งิ านตามแบบประเมิน ว.๒๓/๒๕๖๔ 9

องคป์ ระกอบท่ี ๑ การประเมินประสทิ ธิภาพและประสิทธิผลการประปฏิบตั ิงาน 9

ตอนที่ ๑ การพฒั นางานตามมาตรฐาน ๓ ดา้ น ๑๕ ตัวชว้ี ัด 9

ด้านท่ี ๑ ดา้ นการจดั การเรียนรู้ 9

ดา้ นที่ ๒ ดา้ นการส่งเสริมและสนับสนนุ การจัดการเรียนรู้ 12

ด้านที่ ๓ ดา้ นการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพ 13

ตอนท่ี ๒ การพฒั นางานทีเ่ สนอเป็นประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรขู้ องผู้เรียน 15

องค์ประกอบท่ี ๒ การมีสว่ นรว่ มในการพฒั นาการศกึ ษา 16

องค์ประกอบที่ ๓ การประเมินการปฏบิ ตั ิตนในการรกั ษาวนิ ยั คณุ ธรรม จรยิ ธรรม 20
และจรรยาบรรณวิชาชีพ

ภาคผนวก 23
- เกยี รติบตั ร
- ภาพกจิ กรรม

ส่วนท่ี ๑ ข้อมูลท่ัวไป

โรงเรียนมาบอำมฤตวทิ ยา

รายงานการพัฒนาคุณภาพการศึกษา

แบบรายงานผลการปฏิบตั ิงานของครผู ู้สอน

ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

๑. ขอ้ มูลทัว่ ไป

ผู้รายงาน นางพมิ พน์ ้ำผ้ึง วรรณสาม

ตำแหนง่ ครู กล่มุ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

๒. ข้อมูลการปฏิบตั ิหนา้ ที่

๒.๑ การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

๒.๑.๑ จดั ทำแผนการจัดการเรยี นรู้

ที่ รหสั วิชา ชื่อวิชา ชัน้ /ห้อง จำนวน จำนวนนกั เรยี น

ชั่วโมง/สปั ดาห์

๑ ว32224 เคมี 4 ม. 5/1 3 34

๒ ว23104 วิทยาการคำนวณ ม.3/1-4 8 136

รวม 11 170

แผนการจัดการเรียนรู้ที่จดั ทำสามารถนำไปใช้สอนไดจ้ รงิ ประมาณ ร้อยละ ....80......

กรณที ี่ไม่เปน็ ไปตามแผน เน่อื งจาก ระยะเวลาในการเปดิ เรยี นจริงน้อยกว่า 60 คาบ ซึง่ เปดิ เรียนจริง

เพยี ง 54 คาบ และดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเช้ือไวรัสโควดิ 2019 แต่ทัง้ น้ีได้ทำการบรู ณษการการ

จดั การเรยี นรู้ให้เข้ากับสถานการณโ์ ดยใชโ้ ครงงานเปน็ ฐานร่วมกบั การใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทลั ในการจดั การเรยี นรู้

๒.๑.๒ ไดจ้ ัดทำบันทึกหลังการสอนและนำสง่ หัวหน้ากลุ่มสาระฯ
 ทุกสน้ิ เดอื น

 ในภาคเรียนท่ี ๒ จำนวน…1….ครั้ง
 ไมไ่ ดจ้ ัดทำ

๒.๑.๓ การดำเนนิ การจดั การเรียนรู้
รูปแบบ/วิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนทคี่ รใู ชค้ ือข้อใดบ้าง

จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชา เคมี ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยครูอำนวยความสะดวกใน
การเรียนรู้ และส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาเต็มตาม ศักยภาพ เรียนรู้และทำงานร่วมกัน ด้วย แก้ไขปัญหา
สมรรถนะทางวิทยาศาสตร์ โดยใช้ทฤษฎี 5 E ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล มีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active
Learning เน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและ มีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้ผ่าน การปฏิบัติที่หลากหลาย
รูปแบบ เช่น การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การระดม สมอง การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ด้วย วิธีการสอนที่
เน้นการเรียนแบบแบบ STEAM และโครงงานเป็นฐาน (Project -Based Learning : PBL) เป็น กระบวนการ
กล่มุ และเดีย่ ว โดยขา้ พเจา้ ออกแบบและพฒั นากิจกรรม STEAM ท่ี นำปญั หาในชุมชนมาสู่แผนการสอน โดย
ประยุกต์องค์ความรู้จากเรียน สร้างสรรค์สู่นวัตกรรม โดยใช้กิจกรรม โครงงานเป็นฐาน (Project -Based

Learning : PBL) การเรียนรู้ด้วยโครงงานเป็นการจัดการเรียนรู้ท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญรูปแบบหนึง่ ที่เป็นการ
ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงในลักษณะของการศึกษา สำรวจ ค้นคว้า ทดลอง ประดิษฐ์คิดค้น โดยครูเปลี่ยน
บทบาทจากการเป็นผใู้ ห้ความรู้ (teacher) เปน็ ผ้อู ำนวยความสะดวก (facilitator) หรอื ผูใ้ ห้คำแนะนำ (guide)
ทำหน้าที่ออกแบบกระบวนการเรียนรู้ให้ผู้เรียนทำงานเป็นทีม กระตุ้น แนะนำ และให้คำปรึกษา เพื่อให้
โครงการสำเรจ็ ลลุ ่วง ประโยชน์ของการเรยี นรดู้ ว้ ยโครงงาน สงิ่ ที่ผเู้ รียนไดร้ บั จากการเรียนรดู้ ้วย PBL จึงมใิ ช่ตัว
ความรู้ (knowledge) หรือวิธีการหาความรู้ (searching) แต่เป็นทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม (learning
and innovation skills) ทักษะชีวิตและประกอบอาชีพ (Life and Career skills) ทักษะด้านข้อมูลข่าวสาร
การส่ือสารและเทคโนโลยี (Information Media and Technology Skills) การออกแบบโครงงานที่ดีจะ
กระตุ้นให้เกิดการค้นคว้าอย่างกระตือรือร้นและผู้เรียนจะได้ฝึกการใช้ทักษะการคิดเชิงวิพากษ์และแก้ปัญหา
(critical thinking & problem solving) ทักษะการสื่อสาร (communicating) และทักษะการสร้างความ
ร่วมมือ(collaboration)ประโยชน์ที่ได้สำหรับครูที่นอกจากจะเป็นการพัฒนาคุณภาพด้านวิชาชีพแล้ว ยังช่วย
ให้เกิดการทำงานแบบร่วมมือกับเพื่อนครูด้วยกัน รวมทั้งโอกาสทีจ่ ะได้สร้างสมั พันธ์ทีด่ ีกับนักเรียนด้วย และ
ยังจัดการเรียนรู้โดยการเรียนรู้ผ่านการแก้ปัญหา (Problem-based Learning) เป็นรูปแบบการเรียนอีก
รูปแบบหนง่ึ ท่ีเน้นผูเ้ รียนเป็นศูนย์กลาง และร้จู ักการทำงานรว่ มกนั เป็นทีมของผู้เรียน โดยผู้สอนมีส่วนร่วมน้อย
แต่ก็ท้าทายผู้สอนมากที่สุด กระบวนการการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน อีกทั้งมีการพัฒนาเกมการทดลอง
ออนไลน์ เปน็ ส่อื การ เรยี นการสอนที่ม่งุ เนน้ ให้นักเรียนเรียนรู้ และแก้ปญั หาอย่างเปน็ ขนั้ ตอน

- จัดการเรียนรทู้ ีเ่ นน้ ผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน ดังน้ี
ข้าพเจ้าได้จัดการเรียนรู้เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดยการวิเคราะห์หลักสูตรวิเคราะห์มาตรฐานการเรียนรู้

สาระการเรียนรู้ โดยพิจารณาจากมาตรฐานการเรียนรู้ วิเคราะห์บริบทของชุมชน บริบทของโรงเรียน และ
วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล จัดทำหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับธรรมชาติการเรียนรู้ของนักเรียน
กำหนดจำนวนหน่วยการเรียนรู้ ชื่อหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ย่อยและจำนวนชั่วโมง จัดทำแผนการ
จัดการเรียนร้ทู ่เี น้นผู้เรียนเป็นสำคัญ มกี ารจดั กจิ กรรมที่หลากหลาย การดำเนินการสอนมุ่งให้เด็กมีส่วนร่วมใน
การทำกิจกรรมด้วยตนเองมากที่สุดผ่านกระบวนการกลุ่มการแสวงหาความรู้หลากหลา ยส่งเสริมให้นักเรียน
รู้จักที่จะค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติมจากแหล่งการเรียนรู้ด้วยตนเองทั้งในโรงเรียนและภายนอกโรงเรียน เน้น
ทักษะการปฏิบัติทั้งในเวลาเรยี นและนอกเวลาเรยี น ตลอดจนมีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม เพื่อให้
เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เรียนรู้แบบบูรณาการมุ่งพัฒนาให้เด็กมีความสุข เกิดปัญญา ข้าพเจ้าได้วาง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญโดยยึดแนวคิด ทฤษฎีการเรียนรู้มาประยุกต์ใช้ในการเขียน
แผนการจัดการเรียนรู้ ปรับปรงุ ข้อบกพรอ่ งแล้วนำมาประยกุ ต์ใชใ้ หเ้ กดิ ผลดีต่อการจดั การเรยี นรู้ โ ด ย น ำ
ปัญหาในชุมชนที่ผู้ปกครองในชุมชนมีอาชีพเกษตร ชาวสวนยาง ซึ่งประสบปัญหาราคายางตกต่ำ นักเรียน
บางส่วนเดือดร้อน ไม่มีเงินมาโรงเรียน ขาดเรียนบ่อย ข้าพเจ้าจึงนำปัญหาเหล่านี้มาประยุกต์ใช้ในการจัดการ
เรียนรู้โดยนำกระบวนการสะเต็มศึกษา (STEM Education) มาบูรณาการในการจัดการเรียนการสอนเพื่อ
นำไปสูก่ ารสรา้ งนวัตกร

การวัดและประเมินพฒั นาการ ได้ดำเนนิ การวัดและประเมินพฒั นาการตามสภาพจริง โดยได้สรา้ ง
เครื่องมือวัด ได้แก่ แบบสังเกต แบบสังเกตพฤติกรรม ได้วิเคราะห์เด็กรายบุคคล ร่วมกับการใช้บันทึก การ
สนทนา แบบบันทึกพัฒนาการรายบุคคล แบบสำรวจตนเอง ซึ่งมีความหลากหลายสามารถนำไปใช้วัด และ
ประเมินความพร้อมให้สอดคล้องกับที่กำหนดไว้ ทำให้ทราบผลการเรียนรู้ สะท้อนถึงการเรียนของนักเรียน
และผลการจัดประสบการณ์ของครู นำผลดงั กล่าวทไ่ี ด้ ไปปรบั ปรุงการเรียนการสอน

- จัดการเรยี นรู้ที่เนน้ กระบวนการคดิ โดยจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ดงั น้ี
การสอนที่เน้นทักษะกระบวนการคิด (Thinking Based Learning) ใช้เทคนิค วิธีการกระตุ้นให้
ผู้เรียน คิดเป็นลำดับขั้นแล้วขยายความคิดต่อเนื่องจากความคิดเดิม พิจารณาแยกแยะอย่างรอบด้าน ด้วยให้
เหตุผลและเชอื่ มโยงกับความรู้เดิมที่มี จนสามารถสรา้ งสิ่งใหม่หรือตัดสินประเมินหาข้อสรุปแลว้ นำไปแก้ปัญหา
อย่างมีหลักการ โดยการสอนที่เน้นกระบวนการคิดนี้แบ่งออกเป็นการสอนท่ีเน้นทักษะกระบวนการคิดคำนวน
และการสอนทเี่ นน้ กระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ มีข้ันตอนดงั น้ี
1. การสอนท่ีเน้นกระบวนการคิดคำนวณ เริ่มจากผู้สอนทบทวนเนื้อหาเดิม โดยแสดงวิธีการคิดคำนวณ
เป็นลำดับขั้น จากนั้นกำหนดโจทย์ให้ผู้เรียนฝึกคิด วิเคราะห์ เป็นลำดับขั้น เน้นการฝึกคำนวณซ้ำกับ
โจทย์ใหม่ และสุดทา้ ยผู้สอนและผู้เรียนรว่ มกันสรุปขั้นตอนการคดิ การประเมินผลการเรียนรู้ประเมิน
จากขั้นตอนกระบวนการคดิ เป็นลำดับขน้ั ทน่ี กั ศึกษาแสดงไวใ้ นการแกโ้ จทย์คำนวณ
2. การสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ จากอภิปรายและแสดงความคิดเห็น เป็นหัวใจ
สำคัญของการสอนที่เน้นกระบวนการคิดอย่างมีวิจารณญาณ โดยเริ่มจากผู้สอนกระตุ้นผู้เรียนเกิด
คำถามหรือต้ังคำถาม จากนั้นผู้สอนโน้มน้าว สร้างสถานการณ์ให้ผู้เรียนขยายความคิดและเชื่อมโยง
องค์ความรู้ จากนั้นเปิดโอกาสให้ผู้เรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็น อภิปรายในชั้นเรียน โดยผู้สอนมี
บทบาทช่วยชี้แนะและสรุปความคิดตามหลักการ สุดท้ายให้ผู้เรียนพัฒนาชิ้นงาน หรือทำแบบฝึกหัด
เพือ่ ประเมนิ ผลการเรียนรู้

-

- จดั การเรยี นรู้โดยมกี ารบรู ณาการ โปรดระบุช่ือเร่ือง เนื้อหา/กจิ กรรม

ขา้ พเจ้าจัดกิจกรรมการจดั การเรยี นร้ใู นหอ้ งเรยี นเคมี ทีม่ ีการตืน่ ตัวตลอดเวลาดว้ ยการประยุกต์ใช้
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัล แอพลิเคชนั ต่างๆ รวมไปถึงการนำบอรด์ สมองกลฝังตัว เขา้ มามีส่วนร่วมในการจัดกจิ กรรม
การเรียนนรู้ สง่ เสรมิ ใหผ้ ู้เรียน เรียนรู้เคมีอยา่ งสนุก สร้างสรรคแ์ ละปลอดภยั เช่น การจัดกจิ กรรมในการเรยี นรู้
วิชาเคมี 4 เช่น การหาคา่ ศักยไ์ ฟฟา้ มาตรฐาน , ผลิตภณั ฑ์จากหลักการ Heat Transfer วชิ าการเขยี น
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ บูรณาการปญั ญาประดิษฐ์ CiRA CORE ผเู้ รยี นสามารถนำความรมู้ าปรับประยุกตใ์ ช้
ในชีวิตประจำวนั และสรา้ งสรรค์ผลงานได้ โดยใช้วสั ดุอุปกรณ์ทม่ี ีอยู่อยา่ งจำกดั ใหส้ อดคล้องกบั บริบทของ
ชมุ ชน นอกจากนย้ี ังมกี ารสรา้ ง Growth Mindset เพ่อสง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นตระหนกั และเห็นคุณคา่ ใน
ตนเอง ตลอดจนสรา้ งสรรคผ์ ลงานไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธิภาพ โดยนกั เรียนสามารถนำแสนอผลงานนกั เรยี นผา่ น
Canva และ สร้าง Google site ทำ E-Portfolio ของตนเองได้ อกี ทง้ั ขา้ พเจ้าไดพ้ ฒั นาการจัดการเรยี นรู้เคมี
โดยใช้ทฤษฎี 5E ส่ทู ักษะอาชีพดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั ดว้ ยการสอนแบบ STEM หนว่ ยการเรียนรู้ เรอ่ื ง พอลิ
เมอร์ และ สารชีวโมเลกุล เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวชิ าวิทยาศาสตรก์ ายภาพเคมี ของนกั เรียนช้นั
มัธยมศึกษาปีท่ี 6 โรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา ในแผนการจัดการเรียนรูน้ ี้จะมกี ิจกรรม STEM ดงั น้ี

แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 STEM : ลูกบอลเด้งดึ๋ง 2 ชว่ั โมง

แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 STEM : ผลิตภณั ฑ์คอมโพสิตยางพาราสรา้ ง 4 ช่วั โมง

รายไดส้ ู่ชมุ ชน (ศึกษาสมบตั ิของยาง)

แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 6 STEM: Cupcake by Saponification 4 ช่วั โมง

ซง่ึ รายการกจิ กรรมการเรยี นรู้เป็นการส่งเสรมิ ความสามารถในการเรียนรู้ของผ้เู รียนให้สามารถสร้าง
ความรู้ได้ด้วยตนเองบรู ณาการเชือ่ มโยงกับสาระการเรียนรู้ตา่ งๆ เกิดทักษะทจ่ี ำเปน็ ในศตวรรษที่ 21
นอกจากนย้ี งั เป็นการยกระดับผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนใหส้ ูงขึ้นตอ่ ไป อีกทั้งยงั สร้างรายไดใ้ ห้นกั เรยี นและสรา้ ง
อาชีพในชุมชนได้อีกดว้ ย

การสะทอ้ นผลหลังการจดั การเรยี นรู้ (เสนอแนะ แนวทาง หรอื รูปแบบในการนำกิจกรรมไปใช้ในชนั้ เรียน)
1. นักเรียนสามารถเลือกใชว้ ัสดชุ นดิ อ่ืนทีม่ ปี ระสิทธิภาพเทียบเคยี งได้หรือเป็นวสั ดทุ ่ีสามารถหาได้ง่ายภายใน
ทอ้ งถน่ิ เพ่ือเป็นทางเลือกในการทดลองท่ีมรี ปู แบบหลากหลายมากยิ่งขน้ึ
2. ในการประเมินความคดิ สร้างสรรค์ของชน้ิ งาน ครอู าจให้นกั เรียนแต่ละคนลงคะแนนชิ้นงานทีต่ นเองชอบ
ยกเวน้ ชิน้ งานของกลุ่มตนเอง ในประเดน็ ชนิ้ ชน้ิ งานท่มี คี วามโดดเด่นและแปลกใหม่ ชิ้นงานทสี่ รา้ งขึน้ มคี วาม
ประณีตและมีการเกบ็ รายละเอียดของชิน้ งานได้เรยี บรอ้ ย
3. จากการจดั กจิ กรรมพบวา่ นักเรียนสว่ นใหญส่ นกุ กับการเรยี นรู้ มคี วามรู้ความเข้าใจในเรอื่ งน้สี ามารถ
อธิบายคนอื่นได้ และนำไปใชแ้ ก้ปัญหาสถานการณ์ต่างๆท่เี กี่ยวข้องกับไดแ้ ต่มีนักเรยี นเพียงส่วนน้อยที่ไม่สามารถ
อธบิ ายคนอน่ื ได้ และไม่สามารถนำไปใช้แกป้ ัญหาสถานการณต์ า่ งๆท่ีเกย่ี วข้องได้ จึงพฒั นานักเรยี นกลมุ่ น้ีโดยการ
ใหเ้ พื่อนในกลมุ่ ช่วยอธิบายโดยมีครูเป็นที่ปรกึ ษาและให้ทำกจิ กรรมเพื่อพัฒนาเพ่มิ เติม ผลจากการพัฒนาดังกล่าว
ทำให้นักเรียนกลุ่มนี้มีความรู้ความเข้าใจและนำความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหาได้ดีมากยิ่งขึ้น และประเด็นที่เป็น
ปัญหาและอุปสรรคอีกอย่างหนึ่งคือเวลาในการจัดการเรียนรู้น้อยเกินไปสำหรับทำกิจกรรมกลุ่มแนวทางการ
ปรบั ปรุงแกไ้ ขคอื ควบคุมเวลาในการทำกจิ กรรมกล่มุ ให้บรรลุตามเป้าหมายทว่ี างไว้

๒.๑.๔ นำนักเรยี นไปศึกษาแหล่งเรียนรู้นอกหอ้ งโรงเรียน - คร้งั

ดว้ ยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชือ้ ไวรสั โคโรนา่ 2019 จึงจดั แบบออนไลน์ ดังนี้

ท่ี แหล่งเรยี นรู้ เรื่องที่ศึกษา จำนวน

คร้งั

1 สถาบนั เทคโนโลยพี ระจอม ปญั ญาประดิษฐ์ การเรยี นรเู้ ชิงลึก 3

เกลา้ เจ้าคณุ ทหาร

ลาดกระบงั กรงุ เทพ

2 มหาวิทยาลยั ราชภัฎสุ ศึกษาเรื่องการจดั ทำโครงงานสิ่งแวดล้อม 2

ราษฎร์ธานี

3. ศนู ยห์ ุ่นยนตป์ ญั ญาประดิษฐ์ การประยุกใช้ปญั ญาประดษิ ฐ์ในการสรรสร้าง 3

โรงเรยี นกมลาไสย นวตั กรรม

๒.๑.๕ จดั การเรียนการสอนท่เี ก่ยี วกับท้องถิ่น
กิจกรรมการเรียนร้สู ามารถเช่ือมโยงกับสภาพแวดลอ้ มของทอ้ งถ่นิ ดงั นี้

1.1) กจิ กรรม STEM : การแปรรูปยางพารา (ศกึ ษาสมบตั ิของยางพารา) เชือ่ มโยงกับสภาพแวดล้อมของ
ท้องถ่นิ จังหวัดชุมพร ในสว่ นของพนื้ ท่ีสวนยาง ประยุกต์ใช้ความรทู้ ่เี รยี นเพ่ิมมลู ค่า และชว่ ยให้ความรชู้ าวบา้ น
ในการกัดกลน่ิ น้ำยางและยางแผ่น นักเรยี นเกิดความเขา้ ใจและเห็นความสำคญั ของมลพิษในสิ่งแวดลอ้ ม โดย
อาศยั ความรเู้ กย่ี วเรอื่ ง พอลิเมอร์ การวัดและคำนวณทางคณติ ศาสตร์ เป็นต้น

1.2) กิจกรรม STEM: Cupcake by Saponification
เป็นกิจกรรมท่ีทำสบู่จากนำมันและเบส ด้วยกระบวนการ
cold process เป็นผลิตภัณฑ์วิทยาศาสตร์เสริมรายไดใ้ ห้
นกั เรียนและชุมชน

๒.๑.๖ นำปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาสอดแทรกในการจดั การเรยี นการสอน
1. การแปรรปู ยางพารา (ศกึ ษาสมบตั ขิ องยางพารา)

๒.๑.๗ กิจกรรมปลกู ฝังคา่ นยิ มหลัก ๑๒ ประการ
ทุกครั้งที่มีการเรียนการสอนในรายวชิ าทรี่ บั ผิดชอบจะสอดแทรกและปลกู ฝงั คา่ นิยมหลกั 12

ประการ อยูต่ ลอด โดยเฉพาะในเรื่องของความรับผิดชอบ ความซ่อื สัตย์ และจติ สาธารณะ เพื่อสง่ เสริมใหผ้ ้เู รียนเป็น
คนดี คนเกง่ และมคี วามสขุ เปน็ พลวตั ทด่ี ขี องโลกในศตวรรษท่ี 21
๒.๑.๘ โครงงาน 2 โครงงาน ได้แก่

๒.๑.๙ สรา้ งนวตั กรรมการเรียนการสอน ได้แก่ ระดบั ชั้นทใ่ี ช้
ท่ี ช่อื ผลงาน ม.4-6
1 เกมวิทยาศาสตร์ระดบั มธั ยมศึกษตอนปลาย ม.5/1
2 กจิ กรรม STEM : Amazing Indicator
ม.5/1
ศึกษา อินดเิ คเตอร์ เรอ่ื ง กรด เบส วิชาเคมี 4
3 กิจกรรม STEM : ชา่ งทาสีนกั เคมี ม.6/1

ศึกษา การผกุ ร่อนของโลหะและการป้องกัน เรื่อง ไฟฟา้ เคมี วิชาเคมี 4 ม.6/1
4 กิจกรรม STEM : น้ำหอมงา่ ยๆ ดว้ ยมือเรา
ม.5/1
ศกึ ษา ปฏกิ ริ ิยาการเกิดเอสเธอร์ เร่อื ง สารประกอบอินทรยี ์ วชิ าเคมี 5 ม.3-ม.6
5 กจิ กรรม STEM : Cupcake Soap by Saponification

ศึกษา ปฏิกริ ิยาสะปอนิฟเิ คชัน เรือ่ ง สารชีวโมเลกุล
6 กจิ กรรม STEM : Sublimation Ink สรา้ งรายได้ ในชุมนุม STEM START UP 4.0
7 ชุดกจิ กรรมของการจดั การเรียนรู้วชิ าเคมี โดยใช้ทฤษฎี 5E ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ทิ ลั

สรรสร้างนวตั กรรมสู่ทักษะอาชีพ ดังน้ี
ชุดที่ 1 พืน้ ฐานนกั คดิ ด้วย KidBright
ชดุ ที่ 2 เรยี นรทู้ กั ษะวทิ ยาศาสตร์ส่อู าชพี
ชุดท่ี 3 เคมนี า่ รู้
ชดุ ท่ี 4 แนวคดิ สร้างสรรค์ ช้นิ งานดว้ ยกระบวนการสะเต็มศึกษา
ชดุ ที่ 5 นวัตกรนอ้ ยด้วย STEAM 4 INNOVATRR
ชุดที่ 6 สรา้ งสรรคช์ นิ้ งานสู่อาชีพ
ชุดที่ 7 ตลาดนวตั กรรมสู่การเปน็ เศรษฐนี ้อย

ที่ ชอ่ื ผลงาน ระดบั ชัน้ ทใ่ี ช้
8 นวตั กรรมปอ้ งกนั โควดิ ดว้ ยปัญญาประดิษฐ์ CiRA COORE ม.5/1

๒.๑.๑๐ ใช้ส่อื เทคโนโลยใี นการสอน จำนวน ทุกครัง้ ทจี่ ดั การเรยี นการสอน สื่อเทคโนโลยที ่ใี ชไ้ ด้แก่

๒.๑.๑๑ ทำวิจัยในชน้ั เรียน จำนวน 1 เร่อื ง
ชือ่ เรอ่ื ง : การจดั การเรียนรู้ดว้ ยปัญญาประดิษฐ์ CiRA CORE สำหรับการเรียนรู้เชิงลึก

สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมส่นู วตั กร

๒.๑.๑๒ จัดการสอนซ่อม/เสริมให้นักเรียน
1. จัดกจิ กรรมสอนเสริมชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 ดว้ ยวิธีอัดคลิปสอนให้นักเรยี น

2. สอนซ่อมเสรมิ การเขียนโปรแกรม CiRA CORE ปญั ญาประดิษฐ์

๒.๑.๑๓ จดั กิจกรรม/โครงการสง่ เสรมิ การเรียนในวิชาทสี่ อน จำนวน 3 กจิ กรรม/ โครงการ ได้แก่
1. การอบรมเชงิ ปฏิบัตกิ าร การใชโ้ ปรแกรม CIRA CORE เพือ่ ประยุกต์ใชป้ ญั ญาประดษิ ฐ์ เพื่อ

ประยกุ ต์ใช้ปญั ญาประดษิ ฐ์ สำหรับนกั เรยี นโครงงานวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีโรงเรยี นมาบอำมฤตวทิ ยา
วนั ที่ 11 -12 ธันวาคม 2564 เวลา 19.30 -21.30 น. อบรมผา่ นแอปพลเิ คชนั Google Meet

บรรยากาศการอบรม

2.อบรมเชงิ ปฏิบตั กิ าร การใช้โปรแกรม CIRA CORE เพอื่ ประยกุ ตใ์ ช้ปญั ญา ประดิษฐ์ สำหรบั
สร้างสรรค์นวตั กรรม เก่ียวกับ สิง่ แวดล้อม สุขภาพ การเกษตร และอื่นๆ จัดโดยกลุ่มสาระการเรียนรู้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา วันท่ี 23 ธันวาคม 2564 เวลา 19.30 -21.30 น.
อบรมผ่าน แอปพลเิ คชนั Google Meet

บรรยากาศการอบรม

3 อบรมการประยุกต์ CIRA CORE เพื่อประยกุ ตใ์ ชป้ ญั ญา ประดิษฐ์

๒.๑.๑๔ ดำเนินการนเิ ทศ ในฐานะผใู้ หก้ ารนเิ ทศ 2 คร้ัง นเิ ทศการสอนครูอัตราจา้ ง
ในฐานะผรู้ บั การนเิ ทศ....6.... คร้ัง

๓. ผลการพัฒนาคุณภาพการศึกษา ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔
๓.๑ คณุ ภาพการสอน ผลสัมฤทธ์ทิ างวชิ าการของผเู้ รยี นและผลการประกนั คุณภาพผลสัมฤทธิท์ างการ

เรยี นข้าพเจ้าได้ใชแ้ ผนการจัดการเรียนรูแ้ ละจดั กจิ กรรมการเรียนการสอน แลว้ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของ
นักเรยี นเปน็ ดงั นี้

ช้นั /ห้อง จำนวน จำนวนนกั เรยี นทไ่ี ดร้ ะดบั ผลการเรียน ๒.๕ ๓ ๓.๕ ค่าเปา้ หมาย
นักเรยี นที่ มส ร ๐ ๑ ๑.๕ ๒ ๔ สถานศกึ ษา
ลงทะเบียน

ว23104 วิทยาการคำนวณ นกั เรียน

ม.3 (พฐ) 135 - 15 - 23 13 13 35 4 3 29 ได้ระดบั
ผลการเรยี น
ว23210 การเขยี นโปรแกรมดว้ ยคอมพิวเตอร์
๒.๕ ขึ้นไป
ม.3 (พต) 135 - 15 - 23 13 13 35 4 3 29 ร้อยละ ๖๕

ว31222 เคมี 2

ม.4/1 43 - 8 - - 1 6 10 9 4 5

ว32224 เคมี 4

ม.5/1 34 1 - - 6 7 11 5 4

ว30182 วิทยาศาสตร์กายภาพเคมี

ม.6/1 24 - - - - - - - - 5 19

ม.5/2 27 10 2 3 4 8

ว30226 เคมใี นชวี ติ ประจำวนั

ม.5/2 27 - - - - - 10 2 3 4 8

ว30283 การเขียนโปรแกรม

ม.5/1 34 - - - - 2 4 6 8 4 10

รวม 459 0 39 0 46 29 62 97 42 32 112

นกั เรียนท่มี ี 420 39 0 46 29 62 97 42 32 112
ผลการเรยี น

คิดเป็นรอ้ ย

ละ -

8.50
10.95
6.90
14.76
23.10
10.00
7.62
26.67

- ผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของนักเรยี นผา่ นเกณฑร์ ้อยละ 91.50

- นักเรยี นไดร้ ะดับผลการเรยี น ๒.๕ ขนึ้ ไป คิดเปน็ รอ้ ยละ 67.38

- ขา้ พเจา้ ไดป้ ระกันคณุ ภาพผลสัมฤทธทิ์ างการเรียนของนกั เรยี น ในระดับผลการเรยี น ๒.๕ ขึ้นไป

ไม่นอ้ ยกวา่ ร้อยละ ๖๕ ตามค่าเปา้ หมายของโรงเรยี น

 เป็นไปตามคา่ เปา้ หมาย  ไม่เปน็ ไปตามคา่ เป้าหมาย

- ระดบั คุณภาพผลสมั ฤทธิ์ทางการเรียนของนกั เรยี นเปรียบเทียบกบั ภาคเรยี น/ปีท่ผี ่านมา

 สงู ข้นึ  เทา่ เดมิ  ตำ่ ลง

คำชี้แจง กรณีผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของนักเรยี นไม่เป็นไปตามคา่ เป้าหมายการประกนั คณุ ภาพของโรงเรยี น

เพราะเหตุใด

-

...........................................................................................................................................................................................................

๓.๒ ผลประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์ของนกั เรียน
นกั เรียนสอบได้ระดับผลการประเมนิ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ การอ่าน คิดวิเคราะห์และ

เขยี น และสมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ดงั นี้

จำนวน จำนวนนกั เรยี นทีไ่ ด้รับการประเมนิ แตล่ ะระดบั

ชัน้ / นักเรียน คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ สมรรถนะสำคัญ
หอ้ ง ทีล่ ง และเขยี น ของผเู้ รยี น

ทะเบยี น ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐ ๓ ๒ ๑ ๐

ม.3 135 35 90 10 - 35 90 10 - 40 85 20 -

ม.4/1 43 5 28 - 12 5 28 12 - 5 28 12 -

ม.5/1 34 8 22 4 - 6 24 4 - 6 24 4 -

ม.5/2 27 8 15 4 - 5 10 12 - 5 10 12 -

ม.6/1 24 9 15 - - 2 21 1 - 2 21 1 -

รวม 263 16
65 170 18 12 53 173 39 - 58 8 49 -

คดิ เปน็ 24.71
ร้อยละ 64.63
6.84
4.56
20.15
65.78
14.83
22.05
63.88
18.63

หมายเหตุ ๓ = ดเี ยย่ี ม ๒ = ดี ๑ = ผา่ น ๐ = ไม่ผ่าน

เกณฑ์การประเมินนักเรียนทีไ่ ด้ระดบั ดีขน้ึ ไปได้ ๓ และ ๒ ร้อยละ ๘๐

นักเรยี นได้รบั ผลการประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ในระดบั ดีและดีเยี่ยม รอ้ ยละ 89.34

นักเรยี นได้รับผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน ในระดบั ดแี ละดเี ยีย่ ม ร้อยละ 85.93

นักเรยี นได้รับผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน ในระดับดแี ละดีเยี่ยม ร้อยละ 85.93

๓.๓ จากผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของนักเรยี น ขา้ พเจา้ ได้กำหนดแนวทางในการแกป้ ัญหา พัฒนาเพื่อ

ยกระดับคุณภาพทางการเรยี นของนักเรียนใหส้ ูงข้นึ ดงั นี้

1. พฒั นาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเนือ่ งโดยการเขา้ อบรม ปรึกษาผรู้ ู้ ศึกษาดว้ ยตนเอง

เพือ่ พฒั นาความร้เู กย่ี วกับเทคโนโลยดี ิจทิ ัล

2. นำความรู้ทไ่ี ดร้ บั จากข้อ 1 มาใชใ้ นการพฒั นาคุณภาพผู้เรียนและนวตั กรรมการจดั การ

เรียนรดู้ ว้ ยแผนการจดั การเรียนรู้หน้าเดียว โดยใช้ทฤษฎี 5E ดว้ ยเทคโนโลยีดจิ ิทลั ทส่ี ่งเสรมิ การสร้างองค์

ความรูด้ ว้ ยตนเองของผเู้ รียนในศตวรรษท่ี 21

๓.๔ การดำเนินงานตามแผนปฏบิ ตั ิงานดา้ นคุณภาพการจัดการเรียนร้บู รรลุวัตถปุ ระสงคใ์ นระดบั

 น้อยที่สุด  นอ้ ย  ปานกลาง  ดี  ดมี าก

๓.๕ การดำเนินงานตามแผนปฏิบัตงิ านด้านพัฒนาคณุ ลกั ษณะผ้เู รยี นบรรลุวตั ถุประสงค์ในระดบั

 นอ้ ยท่สี ุด  น้อย  ปานกลาง  ดี  ดีมาก

๔. เกยี รติคุณของตนเอง และนกั เรียนท่ีไดพ้ ัฒนา ของภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศึกษา ๒๕๖๔

๔.๑ เกยี รติคุณของตนเอง

ประเภทของรางวัล ช่ือรางวัล หนว่ ยงานที่จดั เอกสารอา้ งองิ หมายเหตุ

รางวัลรองชนะเลศิ ครูผ้สู อนยอดเย่ยี ม สพฐ. เกียรตบิ ัตร

อนั ดบั 2 ตวั แทน Active Learning ระดบั หนังสือประกาศ
ภาคใต้ไปแข่งต่อ มัธยมศึกษาตอนปลาย ผล
ระดับชาติ กลุม่ วิทยาศาสตร์ แข่ง
ระดับชาติ OBEC Awards

คร้ังท่ี 10

รางวลั 10,000 คุรุ 10,000 คุรุชน คน สพฐ. เกยี รตบิ ตั ร

ชน คนคุณธรรม คุณธรรม ระดับเขตพื้นที่ หนังสอื ประกาศ
ระดับเขตพ้นื ท่ี ส่งต่อ ผล
ระดับชาติ

๔.๒ ผลงานของนักเรียน

๔.๒.๑ ระดบั ประเทศ

ที่ ประเภทของแขง่ ขนั รายชอื่ นักเรยี น รางวัล หน่วยงานที่จัด

1 นำเสนอการ นักเรยี นระดับชน้ั มัธยมศกึ ษา เขา้ รอบนำเสนอ ความร่วมมอื ของ
Depa สสวท.
ประยกุ ตใ์ ชป้ ญั ญศ ปีที่ 5 จำนวน 4 คน ไดแ้ ก่ เดือนกรกฎาคม สถาบันเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าเจ้า
ประดษิ ฐ์ CiRA CORE 1. นายฉตั รา บุตรพรม เลอื่ นจากเดือน คุณทหาร
ระดับนานาชาติ 2. นายพชร วุฒกิ ุลมาศ เมษายน ลาดกระบัง กทม.

3. นางสาวปริญาดา ไพรเขต

4. นางสาวพชั ราภา จนั ตะ
แสง

๔.๓ การได้รบั เชญิ เป็นวิทยากร/กรรมการตัดสนิ ภายในและภายนอกสถานศกึ ษา

ที่ วัน/ เดอื น/ ปี รายการ/ เร่ือง หนว่ ยงานที่เชิญ

1. 12-13 มีนาคม วิทยากรและกรรมการอโครงการนกั ประดษิ ฐห์ ุ่นยนต์ สพฐ. สจล.กทม. สสวท.

2565 รนุ่ เยาว์ ปญั ญาประดษิ ฐ์ปละเทคโนโลยี ระดับชาติ โรงเรียนกมลาไสย

2. 22 กุมภาพันธ์ วทิ ยากรอบรมการจัดการเรียนรโู้ ดยใช้ Google Google Thailand

2565 Sheets กบั เคมี

2. 29 มกราคม กรรมการพจิ ารณาคัดเลอื กครูวทิ ยาศาสตรด์ เี ดน่ สพม.สรุ าษฎร์ธานี ชมุ พร

2565

3. 23-24 ตุลาคม การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการส่งเสริมสรรถนะดจิ ิทัลของ โรงเรียนมาบอำมฤตวิทยา

2564 ครู และการประยุกตใ์ ชแ้ อพลิเคชนั ในการจัดการ

เรยี นรู้ออนไลน์

ท่ี วนั / เดอื น/ ปี รายการ/ เรอ่ื ง หน่วยงานท่เี ชิญ
โรงเรียนเบญจมราชทู ิศ
4. 16-17 ตุลาคม การอบรมเชิงปฏิบตั ิการพฒั นาสมรรถนะครูผูส้ อน
จังหวัดปัตตานี
2564 ดา้ นการจัดการเรยี นรู้ออนไลน์

๕. การผลิตสื่อ/นวัตกรรมการเรียนการสอน ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

ช่ือส่อื /นวตั กรรม ประเภทส่ือ/ ประกอบ หนว่ ยงานท่ี เอกสารอ้างองิ
นวัตกรรม การสอนวิชา เผยแพร่ ภาพกิจกรรม
ภาพกจิ กรรม
กจิ กรรม STEM : กิจกรรมการจดั การ เคมี 4 เฟสบุ๊ค
ภาพกิจกรรม
Amazing Indicator เรยี นรู้
ภาพกิจกรรม
ศึกษา อินดิเคเตอร์ ภาพกจิ กรรม

เรือ่ ง กรด เบส วชิ า

เคมี 4

กิจกรรม STEM : ช่าง กิจกรรมการจดั การ เคมี 4 เฟสบคุ๊

ทาสีนกั เคมี เรยี นรู้

ศึกษา การผุกร่อนของ

โลหะและการป้องกนั

เรอ่ื ง ไฟฟา้ เคมี วิชา

เคมี 4

กิจกรรม STEM : กจิ กรรมการจัดการ วทิ ยาศาสตร์ เฟสบคุ๊
Cupcake Soap by เรยี นรู้ กายภาพเคมี

Saponification

ศกึ ษา ปฏิกิริยาสะปอ

นฟิ ิเคชนั เรื่อง สาร

ชวี โมเลกลุ

กจิ กรรม STEM : กิจกรรมการจัดการ ชมุ นุม เฟสบคุ๊ , ยทู ูป

Sublimation Ink สรา้ ง เรียนรู้

รายได้ ในชมุ นุม STEM

START UP 4.0

นวัตกรรมป้องกันโควิด สง่ิ ประดิษฐ์ การเขียน เฟสบคุ๊ , ยทู ปู
ดว้ ยปญั ญาประดิษฐ์ โปรแกรมและ โรงเรียนทสี่ นใจเข้า
CiRA COORE เคมี รว่ มอบรมใน

รูปแบบออนไลน์

๖. ผลงานวจิ ยั ภาคเรยี นที่ ๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๔

๖.๑ ผลงานวจิ ัยในชั้นเรียน

ชอ่ื งานวิจยั ในชัน้ เรยี น เป็นปัญหาจากวิชา/PLC หนว่ ยงานที่เผยแพร่ เอกสารอา้ งอิง
คุรสุ ภา ภาพถ่าย
การจัดการเรยี นรู้วชิ าเคมีโดยใชโ้ ครงงาน เคมี

เป็นฐาน ด้วยเทคโนโลยดี จิ ทิ ัล

สร้างสรรค์นวัตกรรม สูอ่ าชพี

๖.๒ ผลงานวิจยั ทีเ่ กิดจากสอ่ื /นวตั กรรมการเรยี นการสอน

ช่ืองานวิจยั สอื่ /นวัตกรรมการเรียนการสอน หน่วยงานท่ีเผยแพร่ เอกสารอา้ งองิ

นวัตกรรมปอ้ งกนั โควดิ ดว้ ย การเขียนโปรแกรมและเคมี เฟสบคุ ภาพภ่าย
สจล.
ปญั ญาประดิษฐ์ CiRA

CORE

๗. แหลง่ เรียนรูท้ ใ่ี ช้ในการจัดการเรยี นการสอน ภาคเรยี นท่ี ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔

เรื่อง แหลง่ เรียนรู้ สถานท่ี จำนวน เอกสาร
ชม. อา้ งอิง
ภาพถ่าย
ปญั ญาประดิษฐ์ ศูนยห์ ุน่ ยนต์ ออนไลน์ 2
ปญั ญาประดิษฐ์กมลาไสย ยทู ูป 6 ภาพถ่าย
เคมีกบั การ
แก้ปญั หา Project -14

๘. การพฒั นาตนเอง/พัฒนาวชิ าชีพ (ประชุมสมั มนา อบรม และศึกษาดงู าน)
ภาคเรยี นท่ี ๒ ปีการศึกษา ๒๕๖๔

วันเดอื นปี เรอื่ ง หนว่ ยงานทีจ่ ดั สถานท่ี จำนวน เอกสาร
ชม. อา้ งอิง
4 ตุลาคม การอบรมพฒั นาครูสู่ สพม.สรุ าษฎรธ์ านี ออนไลน์
2564 ความก้าวหนา้ เพื่อขอมี ชมุ พร ออนไลน์ 8 เกยี รติบัตร
ขอเล่อื นวิทยฐานะ ตาม
23-24 หลักเกณฑ์ กคศ.(วPA) สพม.สุราษฎรธ์ านี 16 วุฒบิ ตั ร
ตลุ าคม ชมุ พร
2564 การอบรมเชิง
ปฏบิ ัตกิ ารสง่ เสริม
สมรรถนะดจิ ิทลั สำหรับ
ครแู ละการประยุกตใ์ ช้
แอปพลิเคชน่ั ในการ
จดั การเรยี นรู้ออนไลน์

วนั เดอื นปี เรอื่ ง หน่วยงานทจ่ี ัด สถานที่ จำนวน เอกสาร
สพฐ. สสวท. ออนไลน์ ชม. อา้ งอิง
20 ตุลาคม การอบรมหลักสูตรการ
2564 เขียนโปรแกรม 16 วฒุ ิบัตร
Scratch (Coding for
Teacher Plus : C4T
Plus-Scrath)

8 ธนั วาคม การวจิ ยั เพื่อพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ ออนไลน์ 8 เกียรตบิ ัตร

2564 นวตั กรรมทาง นครศรธี รรมราช

การศกึ ษา สำหรบั สร้าง

ศกั ยภาพขา้ ราชการครู

และบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษา สู่ความก้าวหน้า

ทางอาชีพ

มกราคม - โครงการบม่ เพาะครู สจล. กทม. ออนไลน์ 40 ภาพกิจกรรม
เมษายน เพอ่ื เด็ก ด้วยการอบรม
สสวท. สจล. Depa ออนไลน์ ยังไมแ่ ล้วเสร็จ
12-13 ปัญญาประดิษฐ์
มนี าคม 16 เกยี รตบิ ัตร
2565

๙. สรปุ ผลการพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาของครผู ้สู อน เป็นรายบคุ คล
ไดส้ รปุ ผลการพัฒนาคณุ ภาพการศึกษา ภาคเรยี นที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ได้ดงั นี้

๑) ผลการพัฒนาภาพรวม
เน่ืองจากการแพร่ระบาดของเช้อื COVID-19 ในชุมชนและบริเวณใกล้เคียงกบั โรงเรียนการจัด

กิจกรรมการเรยี นรใู้ นภาคเรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2564 เน้นหนักไปทางออนไลน์มากขน้ึ นกั เรยี นมโี อกาส
สร้างองค์ความร้ดู ้วยตนเอง และมสี ว่ นช่วยเพ่ือนท่ีไม่เข้าใจใหเ้ กดิ ความเข้าใจมากข้ึน สอดคล้องกับทกั ษะการ
เรียนร้ใู นศตวรรษท่ี ๒๑ ทอ่ี งคค์ วามรู้เกิดจากการที่ผเู้ รียนสรา้ งขึน้ มาเองโดยมผี สู้ อนเป็นผูอ้ ำนวยความสะดวก
และสง่ เสรมิ

๒) จดุ เด่น และจดุ ทค่ี วรพัฒนา
๒.๑) จดุ เด่น
การจัดกจิ กรรมการเรยี นรูแ้ บบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ผา่ นทาง google classroom และ

แอพพลเิ คชนั่ ต่างๆ ชว่ ยพฒั นาคุณภาพการศกึ ษาของครูผสู้ อนในชว่ งสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของ COVID-19 ได้
เปน็ อยา่ งดี มีการนำเทคโนโลยดี จิ ิทัลมาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้มากข้ึน

๒.๒) จุดท่ีควรพฒั นา
พฒั นาเทคนิคการนำเทคโนโลยดี ิจิทลั มาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอนใหเ้ กดิ ความชำนาญมากขนึ้

ครอบคลุมกบั ชิน้ งานและสามารถบรู ณาการกบั กลมุ่ สาระอน่ื ได้

๒.๓) ปญั หา/อปุ สรรค
ครผู สู้ อนยงั ขาดความชำนาญในการใช้เพลดฟอรม์ ทางการศึกษา นักเรยี นบางคนขาดความพร้อมใน

การใช้เทคโนโลยเี พื่อการเรียนแบบออนไลน์ บางสถานทีไ่ มม่ ีสัญญาณเครอื ขา่ ยโทรศัพท์ หรือมีแตไ่ ม่เสถียร
๒.๔) ข้อเสนอแนะ
แจ้งกรอบภาระงานใหน้ ักเรยี นทราบตัง้ แต่เปิดเรียน เปิดช่องทางในการติดตอ่ กบั นักเรยี น

รูปแบบอื่นให้มากข้ึน

………………………………………. ผู้รายงาน
(นางพิมพน์ ำ้ ผึ้ง วรรณสาม)

ความเห็นของผ้บู งั คับบัญชา
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................
.................................................... ........................................................................................................ ......

ลงชื่อ...................................................
(นางอิสรีย์ อฐิ กอ)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นมาบอำมฤตวทิ ยา

ส่วนท่ี ๒ รายงานผลการปฏิบัติงานตามแบบประเมิน

ว.๒๓/๒๕๖๔

องค์ประกอบท่ี ๑

การประเมินประสิทธภิ าพและประสทิ ธิผลการปฏิบตั ิงาน ตามมาตรฐานตำแหน่ง

ตอนที่ ๑ : ระดับความสำเร็จในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง

1. ดา้ นการจัดการเรยี นรู้

การจัดทำหลกั สตู รและหรือพฒั นาหลักสตู รเพอ่ื พฒั นาผ้เู รยี นให้เป็นคนดี คนเกง่ มีปญั ญา มีศกั ยภาพ ใน
การศึกษาต่อและประกอบอาชีพตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตวั ชว้ี ัด สมรรถนะสำคัญ และคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ตามหลกั สตู รสถานศกึ ษา โดยจดั การเรยี นรดู้ ว้ ยรูปแบบทหี่ ลากหลาย และเหมาะสมเน้นผเู้ รยี นเป็นสำคัญใหผ้ ูเ้ รียนสืบ
เสาะหาความรแู้ ละสรา้ งองค์ความร้ดู ว้ ยตนเอง

๑.๑ การสร้างหรอื การพัฒนาหลักสตู ร
ขา้ พเจ้าไดศ้ ึกษาตวั ช้ีวดั และสาระการเรยี นรแู้ กนกลางตอ้ งรู้และควรรู้ ตามหลักสตู รแกนกลาง

การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรบั ปรุง 2560)สำหรับการจดั การเรยี นรู้ ภาคเรยี นท่ี 2 ปี
การศกึ ษา 2564 ภายใตส้ ถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรสั โคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) และใช้
ข้อมลู ในการจัดเรียนรู้ที่ส่งเสริมใหผ้ ้เู รียนสามารถพัฒนาตนเองตามธรรมชาติและเตม็ ตามศกั ยภาพ เปน็ คนดี มี
ความรู้ โดยคำนงึ ถึงความแตกต่างระหว่างบุคคล และความพร้อมของนักเรยี นว่าควรเรียนร้แู บบ Online On-
Demand หรือ On-Hand วัดและประเมนิ ผลทม่ี ุ่งเนน้ การพัฒนาการเรียนรู้ของผ้เู รยี นด้วยวธิ กี ารทหี่ ลากหลาย
ให้คำแนะนำ คำปรกึ ษา และแก้ไขปญั หาให้แก่ผู้เรียนทัง้ ทางด้านการเรยี นและคุณภาพชวี ติ ดว้ ยความเสมอ
ภาค

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นกั เรียนร้อยละ 91.50 มีความรตู้ รงตามหลักสตู รท่กี ำหนดอย่างมปี ระสทิ ธิภาพ
๑.๒ การออกแบบการจดั การเรียนรู้
ขา้ พเจา้ ดำเนินการจดั ทำและพฒั นาหน่วยการเรียนรทู้ ีส่ อดคลอ้ งกับคำอธบิ ายรายวิชา

ธรรมชาติของสาระการเรียนรู้ เหมาะสมกับผู้เรียน บรบิ ทของสถานศกึ ษาและท้องถ่นิ เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ
เพื่อใหผ้ ูเ้ รียนมคี วามรู้ ทักษะ คุณลักษณะประจำวิชา คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์และสมรรถนะที่สำคญั ตาม
หลกั สูตร โดยมกี ารออกแบบการจดั การเรียนร้ทู ่สี ามารถแกไ้ ขปัญหาในการจัดการเรยี นรู้ ทำให้ผ้เู รียนมี
กระบวนการคดิ และค้นพบองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง และสรา้ งแรงบันดาลใจ ตามภาระงานสอนที่ได้รบั มอบหมาย

โดยเลือกรปู แบบการจัดการเรียนรู้แบบกระบวนการเรยี นรู้ ๕E ทุกหนว่ ยการเรยี นรู้ โดยมีการ
ออกแบบสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยี และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ เพื่อให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาเต็ ม
ตามศกั ยภาพ บรรลุตามมาตรฐานการเรียนรู้ ตลอดจนดำเนินการประเมินผลการใชห้ นว่ ยการเรียนรู้และนำผล
การประเมินมาปรับปรงุ พัฒนาให้มีคณุ ภาพของหนว่ ยการเรียนร้ใู ห้สงู ขนึ้

ผลลัพธ์ (outcomes)
นกั เรยี นร้อยละ 91.50 มีความรตู้ รงตามหลกั สูตรท่กี ำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ และเป็น
พลวัตรที่ดใี นศตวรรษท่ี 21 มผี ลการประเมินคุณภาพพฒั นาการตามมาตรฐานคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์และตัว

บง่ ชี้อยใู่ นระดับ ดีและดีเยย่ี มร้อยละ 89.34
๑.๓ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ข้าพเจา้ มีการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบการจดั การเรยี นร้แู บบ ๕E ทีเ่ นน้ วิธกี าร

ปฏิบัติและมีความหลากหลาย สอดคลอ้ งกบั สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตัวช้วี ดั และจุดประสงค์การเรยี นร้ใู น
แผนการจดั การเรียนรู้ มีการอำนวยความสะดวกในการเรยี นรู้ และส่งเสรมิ ผ้เู รยี นได้พฒั นาเตม็ ตามศักยภาพ

เรยี นรแู้ ละทำงานรว่ มกัน โดยมกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ีสามารถแก้ไขปัญหาในการจดั การเรียนรู้ ทำให้
ผเู้ รียนมีกระบวนการคิดและค้นพบองค์ความรู้ด้วยตนเองและสร้างแรงบันดาลใจ

ใช้รปู แบบการสอนแบบ Online , On Demand และ Onsite เพอื่ ปรับประยุกตใ์ ห้เข้ากับ
สถานการณ์ในปจั จบุ ันเน่อื งจากสถานการณ์การแพรร่ ะบาดของเช้ือ COVID-๑๙ เชน่ Zoom , Line , Google
Meet , Google Form , Google Classroom , Google Drive , แอพพลเิ คชน่ั Pedlet , เป็นต้น

มกี ารวัดประเมนิ ผลผู้เรียนครอบคลุมทกุ ดา้ น ทั้งในดา้ นพุทธพิ สิ ัย หรอื ด้านความรู้ (K) , ดา้ น

ทกั ษะพิสยั หรือด้านทักษะ (P) , และดา้ นเจตพิสยั หรอื ด้านเจตคติ (A) โดยใช้แบบทดสอบกอ่ นเรียน ,

แบบทดสอบหลงั เรียน , แบบประเมินผลการปฏิบตั ิกจิ กรรม และแบบประเมินผลคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
ผลลัพธ์ (outcomes)
ผูเ้ รยี นมีผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนเฉลยี่ อยู่ในระดับมาตรฐานสงู กว่าคา่ เปา้ หมายทโ่ี รงเรยี น

กำหนด คอื มผี ลสัมฤทธท์ิ างการเรยี นต้ังแต่ 2.5 รอ้ ยละ 67.38 (ค่าเปา้ หมายร้อยละ 65)
๑.๔ สรา้ งและหรอื พัฒนาส่ือและนวัตกรรม เทคโนโลยีและแหล่งเรียนรู้
ขา้ พเจา้ นำเทคโนโลยที างการศึกษามาใชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน โดยใช้ Google

Classroom กระดานส่งงาน Pedlet มาใช้ในการจดั การเรยี นการสอน การส่งงาน การตรวจการบ้าน และการ
ทำแบบทดสอบโดยนกั เรียนสามารถเข้ามาดูงานผ่านระบบออนไลนบ์ นเวบ็ ไซต์ หรือบนแอพพลเิ คชนั่ บนสมาร์ท
โฟนได้ด้วยตนเอง ทั้งนี้ครูและนักเรียนยังสามารถแสดงความคิดเห็น แลกเปลี่ยนข้อคิดเห็นร่วมกันระหว่าง
ห้องเรียนได้ผ่าน Google Classroom ได้ โดยมุ่งหวังให้ผู้เรียนได้รับความรู้และวิธีการเรียนรู้ที่หลากหลาย
และเกิดผลสมั ฤทธต์ิ รงตามเปา้ หมายของสถานศึกษาอย่างสงู สุด

ผลิตสอื่ / นวัตกรรม ภาคเรยี นท่ี ๒ / ๒๕๖๔ ไดแ้ ก่

ชือ่ สื่อ/นวัตกรรม ประเภทสื่อ/ ประกอบ หน่วยงานท่ี เอกสารอา้ งอิง
กิจกรรม STEM : ภาพกิจกรรม
นวัตกรรม การสอนวิชา เผยแพร่

กจิ กรรมการจัดการ เคมี 4 เฟสบุ๊ค

Amazing Indicator เรยี นรู้

ศึกษา อินดิเคเตอร์

เร่อื ง กรด เบส วิชา

เคมี 4

กจิ กรรม STEM : ช่าง กิจกรรมการจดั การ เคมี 4 เฟสบคุ๊ ภาพกจิ กรรม

ทาสีนกั เคมี เรยี นรู้

ศึกษา การผุกร่อนของ

โลหะและการป้องกนั

ช่ือส่ือ/นวัตกรรม ประเภทสอื่ / ประกอบ หน่วยงานที่ เอกสารอ้างองิ
นวตั กรรม การสอนวิชา เผยแพร่

เร่อื ง ไฟฟา้ เคมี วชิ า

เคมี 4

กจิ กรรม STEM : กิจกรรมการจดั การ วิทยาศาสตร์ เฟสบ๊คุ ภาพกิจกรรม
Cupcake Soap by เรียนรู้ กายภาพเคมี

Saponification

ศึกษา ปฏกิ ริ ิยาสะปอ

นฟิ เิ คชนั เร่ือง สาร

ชีวโมเลกุล

กจิ กรรม STEM : กิจกรรมการจดั การ ชมุ นุม เฟสบคุ๊ , ยูทปู ภาพกจิ กรรม

Sublimation Ink สรา้ ง เรยี นรู้

รายได้ ในชุมนุม STEM

START UP 4.0

นวัตกรรมป้องกันโควดิ สง่ิ ประดษิ ฐ์ การเขยี น เฟสบคุ๊ , ยทู ปู ภาพกิจกรรม
ด้วยปญั ญาประดิษฐ์ โปรแกรมและ โรงเรียนท่ีสนใจเข้า
CiRA COORE เคมี ร่วมอบรมใน

รปู แบบออนไลน์

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นักเรียนสามารถสืบเสาะหาความรูจ้ ากการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีดิจิทลั STEM และ
โครงงานเป็นฐาน นกั เรียนร้อยละ 85.93 เกดิ ทักษะการเรียนรู้แบบสืบเสาะ (5E) สง่ ผลใหน้ ักเรียนมผี ลการ
ประเมินและสมรรถนะตรงตามหลกั สตู ร

๑.๕ วดั ผลและประเมินผลการเรยี นรู้
ขา้ พเจ้าดำเนนิ การสร้างและพฒั นาเครือ่ งมือเพ่ือใช้ในการวัดและประเมนิ ผลการเรียนรู้อย่าง

หลากหลาย และครอบคลุมทัง้ ด้านพุทธิพิสัยหรือดา้ นความรู้ (K) , ดา้ นทักษะพิสัยหรือดา้ นทักษะ (P) และด้าน
เจตพิสัยหรือด้านเจตคติ (A) โดยใช้แบบทดสอบก่อนเรียน , แบบทดสอบหลังเรียน , แบบประเมินผลการ
ปฏบิ ตั ิกจิ กรรม และแบบประเมนิ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ และประยุกต์ใชแ้ อปพลิเคชนั ตา่ ง ๆ สอดคล้องกับ
สาระ มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั หรือผลการเรียนรู้ และจดุ ประสงค์การเรียนรู้ ดำเนนิ การวัดปละประเมินผล
การเรียนรู้ตามสภาพจริง เพื่อปรับปรุง พัฒนา ตัดสินผลการเรียนรู้ ความก้าวหน้าและพัฒนาการของผูเ้ รยี นท่ี
สะท้อนระดับคุณภาพของผู้เรียน มีการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ด้วยวิธีการที่หลากหลายเหมาะสม และ
สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนพัฒนาการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ประเมินผลการเรียนรู้ตามสภาพ
จรงิ และนำผลการวัดและประเมินผลการเรียนรมู้ าใชแ้ ก้ไขปญั หาการจดั การเรยี นรู้

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นักเรยี นได้รับการวัดประเมนิ ผลโดยใชเ้ ครอ่ื งมือและแบบประเมินตามตวั ช้ีวัดทห่ี ลักสตู ร
กำหนดอยา่ งมปี ระสิทธภิ าพและน่าเชื่อถือ จดั เกบ็ ขอ้ มลู เป็นระบบ นกั เรียนร้อยละ 91.50 มผี ลสมั ฤทธผ์ิ ่าน
ตามเกณฑท์ ีส่ ถานศึกษากำหนดไวท้ ุกตวั ช้วี ดั

๑.๖ ศกึ ษา วเิ คราะห์ และสงั เคราะห์ เพอื่ แก้ปัญหา หรือพัฒนาการเรียนรู้
ขา้ พเจา้ ได้ศกึ ษา วิเคราะห์ สังเคราะห์ ปญั หาทเ่ี กดิ จากการจัดการเรียนการสอน หรือการ

เรยี นรู้ของผเู้ รียน โดยการสังเกต สอบถาม สัมภาษณ์ เพ่ือแก้ไขปัญหาหรือพฒั นาการเรยี นรู้ที่ส่งผลต่อคุณภาพ
ผเู้ รียน และนำผลการศกึ ษา วิเคราะห์ และสงั เคราะหม์ าใช้แก้ไขปญั หาหรอื พฒั นาการจดั การเรียนรู้

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นกั เรยี นร้อยละ 97.99 มีผลสมั ฤทธผิ์ ่านตามเกณฑ์ทีส่ ถานศึกษากำหนดไวท้ ุกตวั ชี้วดั
๑.๗ จดั บรรยากาศทีส่ ่งเสริมและพัฒนาผเู้ รยี น
ข้าพเจา้ ไดด้ ำเนนิ การจัดสภาพแวดล้อม บรรยากาศในชน้ั เรยี นที่สง่ เสริมและเอื้อต่อการ
เรียนรู้ สอดคล้องกับความแตกต่างผู้เรียนเป็นรายบุคคล สามารถแก้ไขปัญหาการเรียนรู้ สร้างแรงบันดาลใจ
ส่งเสริมและพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กดิ กระบวนการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการทำงาน ทักษะการเรียนรู้และนวัตกรรม
ทักษะด้านสารสนเทศ สื่อ และเทคโนโลยี กระตุ้นความสนใจใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา อบรมบ่มนิสัย ตลอดจนส่งเสริมให้
ผู้เรียนเกิดกระบวนการคิด จากการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ทักษะชีวิตจากการให้ผู้เรียนได้ลงมือทำ
ปฏิบัติจริง ดำเนินกิจกรรม และแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น ทักษะการทำงาน จากการปฏิบัติกิจกรรมที่มอบหมายท้ัง
ลักษณะงานเด่ยี วและกระบวนการทำงานเป็นกลุ่ม เพื่อส่งเสริมใหผ้ ู้เรยี นเกดิ ทักษะและกระบวนการคิด ในการ
เรียนร้อู ย่างสูงสดุ
ผลลัพธ์ (outcomes)
นักเรียนมีความสุขในการเรียนรู้และเข้าเรียนออนไลน์เพิ่มขึ้น ส่งผลให้นักเรียนมีผลสัมฤทธิ์ผ่าน
ตามเกณฑข์ องสถานศกึ ษารอ้ ยละ 91.50 และมีผลการเรียนต้งั แต่ 2.5 สงู กวา่ คา่ เปา้ หมายท่ตี ้งั ไว้
๑.๘ อบรมและพฒั นาคณุ ลักษณะทด่ี ขี องผเู้ รียน
ข้าพเจ้าปลูกฝงั คา่ นยิ ม และคณุ ลักษณะท่ีดี เหมาะสมกบั ผู้เรยี นใหเ้ กิดขนึ้ อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง โดย

คำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนเป็นรายบุคคล และสามารถแก้ไขปัญหาผู้เรียนได้ เพื่อให้ผู้เรียนมีค่านิยมที่ดี
งาม และปลูกฝังความเป็นประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ตลอดจน การส่งเสริมและเป็น
แบบอยา่ งให้ผูเ้ รยี นเขา้ ร่วมกจิ กรรมเน่ืองในวนั สำคัญต่างๆที่เกี่ยวขอ้ งกบั ศาสนาที่ตนนับถอื สถาบัน

พระมหากษัตริย์ ทั้งที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ตลอดจนสร้างแรงบันดาลใจและส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดความ
มั่นใจในการพัฒนาตนเองเต็มตามศักยภาพ เพื่อค้นหาความถนัดและความชอบของตน โดยคำนึงถึงความ
ปลอดภยั และความสุขของผูเ้ รยี นเปน็ สำคญั

ผลลัพธ์ (outcomes)
ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเป็นไทยที่ดีงาม และมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
มาตรฐานของโรงเรยี นร้อยละ 97.99

๒. ด้านการสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้

การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งอำนวยความสะดวกที่ส่งเสริมการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ช่วยให้การ
เรียนรู้ของผู้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล เป็นตัวเสริมแรงให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้เต็ม
ศกั ยภาพ

๒.๑ จัดทำข้อมูลสารสนเทศของผูเ้ รยี นและรายวชิ า
ขา้ พเจา้ มกี ารจัดทำขอ้ มลู สารสนเทศของผ้เู รยี นและรายวิชา ให้เปน็ ปัจจบุ นั เพอ่ื ใช้ในการ

ส่งเสริมและสนับสนุนการเรียนรู้และพัฒนาคุณภาพของผู้เรียนให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดกิจกรรมการ
เรียนการสอนในชั้นเรียน อาทิเช่น ข้อมูลการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล การจัดทำระบบดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน งานธุรการในหอ้ งเรียน แบบ ปพ.5 ทะเบยี นแสดงผลการเรยี น อ่นื ๆเป็นต้น และประสานความร่วมมือ

กับผู้มีส่วนเกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาและแก้ไขปัญหาผู้เรียน เพื่อใช้ในการส่งเสริมสนับสนุนการเรียนรู้ แก้ไขปัญหา
และพฒั นาคุณภาพผเู้ รยี น

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นักเรยี นมรี ะบบข้อมูลสารสนเทศทง้ั แบบออนไลน์และออฟไลน์ สะดวกต่อการใชง้ านและมี
ประสทิ ธภิ าพ และสามารถนำข้อมลู มาใช้ได้ทนั ทีนกั เรยี นร้อยละ 100 มีขอ้ มูลในระบบ สารสนเทศครบถว้ น
ในทุกดา้ นเปน็ ระบบและรายบุคคล
๒.๒ ดำเนนิ การตามระบบดูแลชว่ ยเหลือผูเ้ รียน
ข้าพเจา้ ดำเนินการดูแลชว่ ยเหลือผู้เรยี นอยา่ งเป็นระบบ โดยรวบรวมขอ้ มูลจากครูทีป่ รกึ ษา
แบบบันทึกข้อมูลผู้เรียนรายบุคคล วิเคราะห์ สังเคราะห์ ข้อมูลของผู้เรียน เพื่อแบ่งกลุ่มของผู้เรียน ตลอดจน
ออกเยยี่ มบ้านนกั เรียน เพอื่ จดั ทำและใชส้ ารสนเทศของผู้เรยี นรายบุคคล จัดกิจกรรมเชงิ สร้างสรรคด์ ้วยวิธีการ
ท่ีหลากหลาย เพือ่ ส่งเสริม ปอ้ งกนั และแก้ปัญหาของผู้เรยี นรายบคุ คล
งานครูทป่ี รึกษาช้ัน ม.3/2 ดแู ลนักเรยี นตามระบบดแู ลช่วยเหลอื นกั เรียน ดำเนนิ การเรื่อง
งานประจำช้ันตา่ งๆ ท่ีโรงเรยี นมอบหมายและสั่งการ ภายใต้สถานการณแ์ พร่ระบาดของโรคติดเช้ือไวรสั โคโรนา
๒๐๑๙ (Covid-19) ติดตามผลการเรียนของนักเรียน เยี่ยมบ้านแบบออนไลน์ และประชุมผู้ปกครอง
(Classroom Meeting) พบปะและสนทนากับผปู้ กครองเพอ่ื นำไปสู่การดแู ลและชว่ ยเหลือนักเรียน
ผลลพั ธ์ (outcomes)
นักเรยี นในระดบั ชนั้ ที่สอนและนักเรียนในที่ปรึกษา ไดร้ บั การดูแลช่วยเหลอื พร้อมทง้ั ส่งเสรมิ
ป้องกนั และแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบ และมีความสมั พันธ์อันดีกบั ผปู้ กครอง

๒.๓ ปฏิบัตงิ านวชิ าการและงานอนื่ ๆ ของสถานศึกษา
ข้าพเจ้าได้ ร่วมปฏิบตั ิงานทางวชิ าการ และงานอืน่ ๆ ของสถานศกึ ษาเพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพ

การจดั การศกึ ษาของสถานศกึ ษา รับผดิ ชอบเก่ียวกบั งานวิจยั พฒั นาส่อื และนวตั กรรม หอ้ งเรยี นออไลน์
ระบบรบั สมคั รออนไลน์ เวบ็ ไซต์เศรษฐกจิ พอเพยี ง

ผลลพั ธ์ (outcomes)
มีเว็บไซต์งานพัฒนางานวจิ ัย พฒั นาสอ่ื และนวัตกรรม หอ้ งเรยี นออไลน์ ระบบรบั สมัครออนไลน์
การแก้ไขปัญหาผลการเรยี น และเกดิ การเรียนรูท้ ่ีจะอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนในสังคมภายใต้สถานการณแ์ พร่ระบาดของ
โรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19)

.

๒.๔ ประสานความร่วมมือกับผู้ปกครอง ภาคีเครอื ขา่ ยและหรอื สถานประกอบการ
ข้าพเจา้ ใชห้ ลักกลั ยาณมิตร ประสานความรว่ มมอื กบั ผปู้ กครอง ภาคีเครือข่าย และหรอื
สถานประกอบการ เพ่ือร่วมกันแกไ้ ขปัญหาและพัฒนาผ้เู รยี น สามารถทำงานรว่ มกบั ผ้อู น่ื ได้ทกุ กลมุ่ ทุกเพศ
และทุกวยั จึงได้รบั การยอมรับจากผบู้ ริหารโรงเรียน ผรู้ ว่ มงาน เด็ก ผ้ปู กครองและประชาชนท่วั ไป อีกทงั้ มี
ความเอื้อเฟ้ือเผ่ือแผ่ มเี หตผุ ลสามารถแก้ปัญหาต่างๆ ได้ ทำงานร่วมกับผูอ้ ืน่ โดยสามารถวางตัวในการเปน็ ผนู้ ำ
ผ้ตู าม และเปน็ ผู้ให้ ผู้รบั ที่ดี มหี ลกั ในการทำงาน มีความบริสุทธย์ิ ุติธรรมและทำงานอย่างโปร่งใส ปราศจาก
อคติ ยดึ ประโยชนข์ องเด็ก และสว่ นรวมเป็นทตี่ ้งั จึงประสบความสำเร็จในการทำงานเป็นทีมไดร้ ับการยอมรับ
จากทุกฝา่ ยท่ีเกีย่ วข้อง เปน็ แบบอย่างท่ีดตี อ่ ผู้ปกครอง และนกั เรยี น

ผลลพั ธ์ (outcomes)
นกั เรยี นได้รบั ความช่วยเหลอื จากผปู้ กครอง หน่วยงานอ่ืนทเ่ี กยี่ วข้องและมขี ้อมลู ในระบบ
สารสนเทศของโรงเรียนอยา่ งถูกต้อง ตรวจสอบได้ นักเรียนมีคณุ ภาพชวี ติ ท่ีดขี นึ้ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สูงขึ้น

๓. ด้านการพฒั นาตนเอง และวชิ าชพี

๓.๑ การพัฒนาตนเองอย่างเป็นระบบและต่อเน่ือง

ข้าพเจา้ ได้พัฒนาตนเองตามโอกาส และสอดคล้องกบั สภาพการปฏิบตั งิ าน ภายใต้

สถานการณ์แพรร่ ะบาดของโรคติดเชอ้ื ไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (Covid-19) ความต้องการจำเปน็ ตามนโยบายดว้ ย

การเขา้ รบั การอบรมเชงิ ปฏิบตั ิการพฒั นาทักษะการจดั การเรยี นรู้รูปแบบออนไลน์ สำหรับครสู งั กดั สำนักงาน

คณะกรรมการการศึกษาขน้ั พื้นฐาน และนำความรทู้ ่ีได้มาใช้ในการพฒั นาการจัดการเรยี นรู้ทสี่ ่งผลต่อคุณภาพ

ผู้เรียนหรืองานท่ีไดร้ บั มอบหมายให้เกิดการพัฒนาอย่างมีประสทิ ธภิ าพ และเกดิ ประสิทธิผล

ผลลพั ธ์ (Outcomes)

นักเรยี นไดร้ บั การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ (5E) ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็

สำคญั มีกิจกรรมท่หี ลากหลายเหมาะสมตามความแตกต่างระหว่างบุคคล ทำใหน้ กั เรยี นร้อยละ 91.50 มี

ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนสูงขนึ้

หลักสตู รทใี่ ช้อบรมพฒั นาตวั เอง

วนั เดือนปี เรอ่ื ง หนว่ ยงานที่จัด สถานท่ี จำนวน เอกสาร
ชม. อา้ งอิง

การอบรมพฒั นาครสู ู่

4 ตลุ าคม ความกา้ วหนา้ เพื่อขอมี สพม.สรุ าษฎรธ์ านี ออนไลน์ 8 เกียรติบัตร

2564 ขอเลอ่ื นวทิ ยฐานะ ตาม ชมุ พร

หลกั เกณฑ์ กคศ.(วPA)

23-24 การอบรมเชงิ สพม.สุราษฎรธ์ านี ออนไลน์ 16 วฒุ ิบตั ร

ตลุ าคม ปฏบิ ัตกิ ารส่งเสรมิ ชมุ พร

2564 สมรรถนะดิจิทัลสำหรับ

ครแู ละการประยุกต์ใช้

แอปพลิเคช่ันในการ

จัดการเรียนรู้ออนไลน์

วนั เดอื นปี เร่ือง หนว่ ยงานทจี่ ดั สถานที่ จำนวน เอกสาร
สพฐ. สสวท. ออนไลน์ ชม. อา้ งอิง
20 ตลุ าคม การอบรมหลักสตู รการ
2564 เขียนโปรแกรม 16 วุฒบิ ตั ร
Scratch (Coding for
Teacher Plus : C4T
Plus-Scrath)

8 ธนั วาคม การวจิ ัยเพ่ือพฒั นา มหาวทิ ยาลัยราชภัฎ ออนไลน์ 8 เกยี รติบัตร

2564 นวัตกรรมทาง นครศรธี รรมราช

การศกึ ษา สำหรบั สร้าง

ศักยภาพขา้ ราชการครู

และบคุ ลากรทางการ

ศกึ ษา สคู่ วามก้าวหน้า

ทางอาชีพ

มกราคม - โครงการบม่ เพาะครู สจล. กทม. ออนไลน์ 40 ภาพกิจกรรม
เมษายน เพือ่ เด็ก ด้วยการอบรม
สสวท. สจล. Depa ออนไลน์ ยังไมแ่ ลว้ เสรจ็
12-13 ปัญญาประดิษฐ์
มีนาคม 16 เกียรตบิ ตั ร
2565

๓.๒ มสี ่วนร่วมในการแลกเปลีย่ นเรียนร้ทู างวิชาชีพ
ขา้ พเจ้ามกี ารแลกเปลยี่ นเรียนรรู้ ะหวา่ งเพื่อนร่วมวิชาชีพทั้งภายในและนอกสถานศกึ ษา ทัง้

ในรปู แบบเครือข่ายทางวชิ าการ หรือชมุ ชนการเรยี นรู้ทางวิชาชีพ ผ่านทางส่ือสงั คมออนไลน์ เชน่ แอพพลิเคชั่น
ไลน์ (Line) หรอื เฟสบุค๊ (Facebook) zoom meet เป็นต้น เพอ่ื แลกเปลย่ี นเรยี นรปู้ ระสบการณ์ในการ
ปฏบิ ัติงานท้ังดา้ นภาระงานสอน ภาระงานอ่ืนๆ ที่ได้รับมอบหมาย

ผลลพั ธ์ (Outcomes)
นักเรยี นในระดับช้ันท่สี อนได้รับการแก้ไขปัญหาในการเรยี น ไดเ้ หมาะสมตามศกั ยภาพของ
ผ้เู รียน นกั เรียนรอ้ ยละ 99.50 ได้รบั การแกไ้ ขเม่ือเกิดปัญหาทางการเรียนรู้และปัญหาอื่นๆ ท่ีพบเหน็ อยา่ ง
ตอ่ เน่อื ง เป็นระบบ มีสมรรถนะตามเกณฑม์ าตรฐานของโรงเรยี น

การมสี ว่ นร่วมในการแลกเปล่ียนเรยี นรทู้ างวชิ าชพี PLC

คร้งั ที่ วนั /เดอื น/ปี เรอื่ งท่ีแลกเปล่ียนเรียนรู้ หนว่ ยงานสถานที่ หลกั ฐาน
จัด เกียรติบัตร
คิวอารโ์ คด้ กจิ กรรม
๑ 4 ตลุ าคม 2564 การอบรมพฒั นาครูสู่ ออนไลน์
ภาพถ่าย
ความก้าวหน้าเพ่ือขอมี ขอ ภาพถา่ ย

เลอ่ื นวทิ ยฐานะ ตาม

หลกั เกณฑ์ กคศ.(วPA)

๒ 10 ตุลาคม 2564 การจดั การเรยี นรดู้ ้วยฐาน ออนไลน์

สมรรถนะ

๓ 26-27 กมุ ภาพนั ธ์ แลกเปลี่ยนเรยี นรู้ CiRA ทีมครูไทยเมคเกอร์

2565 CORE ปัญญาประดิษฐ์ เพื่อ ครผู ู้นำนวตั กรรม

ไปตอ่ สร้างสรรค์นวตั กรรม แห่งประเทศไทย

ปญั ญาประดิษฐ์ ด้วย ออนไลน์

แพลตฟอร์ม CiRA CORE

4 วันที่ 22 Googel Sheet สุดชคิ กับ จัดโดย GEG

กุมภาพนั ธ์ 2565 การสอนเคมีแบบชิลๆ Thailand

ออนไลน์

๓.๓ นำความรู้ความสามารถ ทกั ษะ ทไ่ี ด้จากการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพมาใช้
ข้าพเจา้ ไดน้ ำความรู้ความสามารถ ทักษะ ทไ่ี ด้จากการพฒั นาตนเองและวชิ าชีพมาใชใ้ นการ

พัฒนาการจัดการเรียนรู้ การพัฒนาคุณภาพผู้เรียน และการพัฒนานวัตกรรมเพื่อการจัดการเรียนรู้ ให้เกิด
ประโยชน์สงู สุดแก่ผ้เู รียน และเพ่ือเป็นการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง

ผลลพั ธ์ (Outcomes)
นักเรียนได้รับการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพจากการนำความรู้ ความสามารถ ทักษะ ที่ได้จาก
การพัฒนาตนเองตนเองและวชิ าชีพมาใช้ในการพัฒนาการจดั การเรียนรู้ นกั เรยี นร้อยละ 67.38 มผี ลการเรยี น
ต้งั แต่ 2.5 สูงกว่าคา่ เปา้ หมายทโ่ี รงเรียนกำหนด (ผลการเรียน 2.5 รอ้ ยละ 65 ข้ึนไป)

ตอนท่ี ๒ : การพัฒนางานทเี่ สนอเปน็ ประเด็นท้าทายในการพฒั นาผลลพั ธ์การเรยี นรู้ของ
ผู้เรยี น (เรม่ิ ดำเนนิ การในภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศึกษา 2565)

ประเดน็ ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การ เรียนรขู้ องผู้เรียน
เรือ่ ง การพัฒนาการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง เคมีอินทรีย์ โดยทฤษฎี 5E ดว้ ย เทคโนโลยีดิจทิ ลั สู่สมรรถนะทาง
วิทยาศาสตร์ รายวชิ า เคมี 5 ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี 6

1. สภาพปญั หาการจัดการเรียนรแู้ ละคุณภาพการเรยี นรขู้ องผู้เรียน
จากการสอน Onsite ในภาคเรยี นท่ี 1/2563 และการสอน Online ในภาคเรียนท่ี

1/2564 พบวา่ ผูเ้ รยี นระดบั ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 มผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นไม่เปน็ ไปตามเป้าหมายท่ี
สถานศึกษากำหนด ผเู้ รยี นส่วนใหญ่ขาดความสามารถในการสรา้ งองค์ความรดู้ ้วยตนเอง จงึ เปน็ ประเดน็ ท้า

ทายใหข้ ้าพเจ้าทำขอ้ ตกลงเพ่ือพฒั นาการจัดเรยี นรู้ เรื่อง เคมีอินทรีย์ โดยทฤษฎี 5E ดว้ ย เทคโนโลยีดจิ ิทลั สู่
สมรรถนะทาง วทิ ยาศาสตร์ รายวิชา เคมี 5 ระดับชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรใู้ ห้
น่าสนใจมากย่งิ ขึ้น เพื่อพัฒนาและสง่ เสริมการสร้างองค์ความรดู้ ้วยตนเอง
2. วธิ ีการดำเนนิ การใหบ้ รรลุผล

2.1 วเิ คราะห์หลกั สตู รแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษาในส่วนของตัวชี้วัดทจ่ี ะ
พฒั นาผู้เรียน

2.2 ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ให้สอดคลอ้ งกับหลักสตู รสถานศกึ ษาและหลกั สตู ร
แกนกลางการศึกษาขนั้ พนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรบั ปรงุ 2560) ในรูปแบบแผนการจัดการเรยี นรู้
หน้าเดยี ว โดยใช้ทฤษฎี 5E ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัลท่ีส่งเสรมิ การสร้างองคค์ วามรดู้ ้วยตนเอง

2.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนการจดั การเรยี นรู้หนา้ เดียว โดยใช้ทฤษฎี 5E และเทคโนโลยี
ดจิ ทิ ัลที่ส่งเสรมิ การสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง

2.4 สรา้ งและหรือพัฒนาส่ือ นวตั กรรม เทคโนโลยี และแหลง่ เรียนรู้ในรูปแบบท่หี ลากหลาย โดยนำ
เทคโนโลยีดจิ ิทัลเพื่อการเรียนรู้มาใชส้ ร้างแหล่งเรยี นรใู้ หแ้ ก่ผเู้ รยี น เช่น Wordwall Canva Gitmind Padlet
เพอ่ื สง่ เสริมการสร้างองค์ความรูด้ ้วยตนเองของผู้เรียน

2.5 นำส่อื นวตั กรรมทสี่ รา้ งขนึ้ ใหผ้ ู้เชีย่ วชาญในกลุ่มสาระการเรียนรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยหี รือ
ชมุ ชนการเรียนร้ทู างวชิ าชพี PLC ตรวจสอบความถกู ต้อง และพจิ ารณาความเหมาะสมด้านเนอื้ หาและการ
นำไปใช้

2.6 นำไปใช้กับผู้เรยี นชน้ั ม.6/1 ภาคเรยี นที่ 1/2565 รายวิชาเคมี 5 ทง้ั ในรูปแบบ Online หรือ
Onsite หรือ On demand ตามสถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19

2.7 ประเมินผลการใช้ส่ือ นวัตกรรมท่สี ร้างขน้ึ ตามแผนการจดั การเรยี นรู้ บันทึก
การเรียนรู้ของผเู้ รียนเปน็ ระยะเพ่ือจดั เก็บข้อมูลสารสนเทศและนำไปใชใ้ นการตดิ ตามแก้ไขผเู้ รยี นที่มีปัญหาใน
การเรยี นรู้

3. ผลลพั ธ์การพฒั นาทีค่ าดหวงั
3.1 เชิงปริมาณ
1. ผู้เรียนชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ 6/1 รอ้ ยละ 70 มีผลสัมฤทธทิ์ างการ เรียน เรอื่ ง เคมีอินทรยี ์

หลงั เรยี น ผา่ นเกณฑ์ รอ้ ยละ 65 ข้นึ ไป
2. ผู้เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 6/1 รอ้ ยละ 60 มีสมรรถนะทาง วิทยาศาสตร์ ผา่ น เกณฑ์

ระดบั ดี ขนึ้ ไป
3.2 เชิงคุณภาพ
1. ผเู้ รยี นมผี ลงานทแ่ี สดงถึงความสามารถในการสรา้ งองค์ความรูด้ ว้ ยตนเอง

นำไปใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจำวัน ในระดับดขี น้ึ ไป
2. ผเู้ รยี นมผี ลการ ประเมินคุณลักษณะ อันพงึ ประสงค์ ตาม หลกั สูตร ซ่งึ พิจารณา ไดจ้ าก

ผ่านเกณฑ์ ในระดบั ดีขนึ้ ไป

องคป์ ระกอบที่ ๒

การมีสว่ นร่วมในการพัฒนาการศกึ ษา

๑. ภาระงาน จะมภี าระงานเป็นไปตามที่ ก.ค.ศ. กำหนด
ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศึกษา 2564
1. ภาระงาน จะมภี าระงานเปน็ ไปตามทก่ี .ค.ศ. กำหนด
1.1 ชว่ั โมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 19.16 ชั่วโมง/สปั ดาหด์ ังนี้ กลุ่มสาระการเรียนรู้

วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
- รายวชิ าเคมี 2 รหสั วชิ า ว31222 ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ 4/1 จำนวน 2.5 ชว่ั โมง/สปั ดาห์
- รายวิชาเคมี 4 รหัสวชิ า ว31222 ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 5/1 จำนวน 2.5 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- รายวิชาวทิ ยาศาสตรก์ ายภาพเคมี รหสั วชิ า ว30182 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 5/2 จำนวน 1.67

ชว่ั โมง/สปั ดาห์
- รายวชิ าเคมีในชวี ติ ประจำวัน รหสั วิชา ว30226 ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 5/2 จำนวน 0.83 ช่ัวโมง/

สปั ดาห์
- รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพเคมี รหัสวชิ า ว30182 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 6/1 จำนวน 1.67

ชัว่ โมง/สัปดาห์
- รายวิชาวทิ ยาการคำนวณ รหสั วชิ า ว23104 ชั้น ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 3/1-4 จำนวน 3.33 ชวั่ โมง/

สัปดาห์ PA 1/ส
- รายวิชาการเขียนโปรแกรมด้วยคอมพิวเตอร์ รหัสวชิ า ว23210 ชนั้ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีที่ 3/1-4

จำนวน 3.33 ช่วั โมง/สัปดาห์
- รายวิชาวิทยาศาสตร์กายภาพเคมี รหัสวิชา ว30182 ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6/1 จำนวน 1.67

ชว่ั โมง/สปั ดาห์
กิจกรรมพฒั นาผเู้ รยี น
- รายวิชาลกู เสือ-เนตรนารี ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 0.83 ชวั่ โมง/สปั ดาห์
- กจิ กรรมชมุ นมุ STEM Startup 4.0 จำนวน 0.83 ชว่ั โมง/สัปดาห์
1.2 งานสง่ เสรมิ และสนับสนนุ การจดั การเรียนรู้ จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 5 ชวั่ โมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเนน้ จำนวน 1 ช่ัวโมง/สัปดาห์

ผลการดำเนินงานตามมาตรฐานการศกึ ษา ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๔

การใหค้ ะแนนระดับคุณภาพตัวบ่งชี้

๕ หมายถึง มผี ลการปฏิบตั ิอย่ใู นระดบั ยอดเยยี่ ม ๔ หมายถึง มีผลการปฏบิ ัติอยใู่ นระดับดีเลิศ

๓ หมายถงึ มผี ลการปฏิบัติอยู่ในระดับดี ๒ หมายถงึ มีผลการปฏิบัตอิ ยใู่ นระดบั ปานกลาง

๑ หมายถึง มผี ลการปฏบิ ตั ิอยู่ในระดบั กำลังพัฒนา

มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผู้เรยี น

ประเด็นพิจารณา ระดบั คุณภาพ
๕ ๔ ๓๒๑
ผลสัมฤทธท์ิ างวิชาการของผู้เรยี น
๑. ผูเ้ รียนมีความสามารถในการอ่าน การเขียน การสอื่ สาร และการคิดคำนวณ 
๒. ผูเ้ รยี นมผี ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา 
๓. ผู้เรยี นความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ อภิปราย 

แลกเปลี่ยนความคดิ เห็น โดยใชเ้ หตุผลประกอบการตดั สินใจ และ 
แกป้ ัญหาได้ 
๔. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในการสรา้ งนวตั กรรม มีการนำไปใชแ้ ละเผยแพร่
๕. ผูเ้ รียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร 
เพ่ือพฒั นาตนเองและสังคมในดา้ นการเรียนรู้ การสอื่ สาร การทำงาน
อยา่ งสรา้ งสรรค์ และมีคณุ ธรรม 
๖. ผเู้ รียนมคี วามรู้ ทกั ษะพนื้ ฐานและเจตคติทด่ี ี พร้อมทีจ่ ะศึกษาต่อใน 
ระดบั ชั้นทส่ี ูงข้นึ และการทำงานหรืองานอาชีพ
คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงค์ของผู้เรยี น 
๗. ผู้เรยี นมีคุณลักษณะและค่านิยมทีด่ ี 
๘. ผู้เรียนมคี วามภูมิใจในท้องถ่ิน เหน็ คุณค่าความเป็นไทย มีส่วนร่วม 64
ในการอนุรกั ษ์ วัฒนธรรม ประเพณีและภมู ิปัญญาไทย
๙. ผู้เรยี นสามารถอย่รู ว่ มกนั บนความแตกต่างและหลากหลาย 36
๑๐. ผู้เรียนมีสุขภาวะทางรา่ งกาย และจติ สงั คม 3.6

ความถ่ี
รวมคะแนนท้งั หมด

สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๑ (รวมคะแนนทั้งหมด ÷ ๕๐) x ๕

มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ ระดับคณุ ภาพ ๑
๕๔๓๒
ประเดน็ พิจารณา

๑. มีเป้าหมายวสิ ัยทัศน์และพันธกิจทส่ี ถานศึกษากำหนดชัดเจน สอดคลอ้ งกบั
บรบิ ทของสถานศกึ ษา ความต้องการชมุ ชน นโยบายรัฐบาล แผนการศกึ ษา 
แห่งชาติ เปน็ ไปไดใ้ นการปฏิบตั ิ ทันต่อการเปล่ยี นแปลง

๒. มีระบบบรหิ ารจดั การคุณภาพของสถานศึกษาทชี่ ดั เจน มีประสทิ ธิภาพ
สง่ ผลต่อคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา โดยความร่วมมอื ของผูเ้ กี่ยวข้อง 
ทกุ ฝา่ ย มีการนำข้อมูลมาใชใ้ นการปรบั ปรงุ พฒั นางานอยา่ งต่อเนื่อง และ
เปน็ แบบอยา่ งได้ 

๓. ดำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเนน้ คุณภาพผูเ้ รียนรอบด้านตามหลักสตู ร
สถานศึกษา และทุกกลุ่มเปา้ หมาย เช่อื มโยงกบั ชีวติ จริง และเปน็ แบบอย่าง 51
ได้ 23
3.83
๔. พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเช่ียวชาญทางวชิ าชีพตรงตามความ
ตอ้ งการของครูและสถานศกึ ษา และจัดให้มีชุมชนการเรียนรู้ทางวชิ าชีพ
เพื่อพฒั นางาน

๕. จดั สภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมทเ่ี อื้อต่อการจัดการเรยี นร้อู ย่างมี
คณุ ภาพ และมีความปลอดภัย

๖. จดั ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนบั สนุนการบรหิ ารจดั การและ
การจัดการเรียนรทู้ เี่ หมาะสมกับสภาพของสถานศึกษา
ความถ่ี
รวมคะแนนทั้งหมด
สรปุ ผลการประเมนิ มาตรฐานที่ ๒ (รวมคะแนนทั้งหมด ÷ ๓๐) x ๕

มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรยี นการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั

ประเดน็ พจิ ารณา ๕ ระดบั คณุ ภาพ ๑
๔๓ ๒
๑. จัดการเรียนรู้ผา่ นกระบวนการคดิ และปฏบิ ัติจริงตามมาตรฐาน 
25
การเรยี นรู้ ตัวชี้วัดของหลักสูตรสถานศึกษา มีแผนการจดั การเรยี นรู้ 5

ท่สี ามารถนำไปจัดกิจกรรมได้จรงิ และสามารถนำไปประยกุ ตใ์ ช้

ในชีวิตได้ มนี วตั กรรมในการจดั การเรียนรู้และ มีการเผยแพร่

๒. ใชส้ ือ่ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหลง่ เรียนรู้ รวมทั้งภมู ิปญั ญาท้องถิ่นที่ 

เออ้ื ต่อการเรยี นรู้ โดยสรา้ งโอกาสใหผ้ ้เู รียนได้แสวงหาความรู้ด้วยตนเอง

๓. ตรวจสอบและประเมนิ ผูเ้ รียนอย่างเปน็ ระบบ มีขนั้ ตอน โดยใช้ 

เครอื่ งมือและวธิ กี ารวดั ผลและประเมนิ ผลทเี่ หมาะสมกับเปา้ หมาย

ในการจดั การเรียนรู้ ใหข้ ้อมลู ยอ้ นกลับแก่ผเู้ รยี น และนำผลมาพัฒนา

ผู้เรียน

๔. มกี ารบรหิ ารจัดการช้ันเรียนเชงิ บวก เด็กรักทจี่ ะเรียนรู้ และเรียนรู้ 

ร่วมกันอยา่ งมคี วามสุข

๕. มีชุมชนแห่งการเรยี นร้ทู างวิชาการระหว่างครูและผเู้ ก่ยี วข้อง 

เพอื่ พฒั นาและปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้ ครูและผู้เกี่ยวขอ้ ง

มกี ารแลกเปล่ยี นเรียนรู้และใหข้ ้อมลู สะท้อนกลับเพ่ือพัฒนาและ

ปรับปรงุ การจัดการเรียนรู้

ความถี่ 5

รวมคะแนนท้ังหมด

สรุปผลการประเมนิ มาตรฐานท่ี ๓ (รวมคะแนนท้งั หมด ÷ ๒๕) x ๕

การรับรองรายงานการประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR)

ลงช่ือ.........................................................ผู้รายงาน

(นางพิมพ์นำ้ ผ้งึ วรรณสาม)

ตำแหนง่ ครู

16 / มนี าคม / 2565

ลงชือ่ .........................................................ผรู้ บั รองรายงาน
(นางพมิ พน์ ำ้ ผง้ึ วรรณสาม)

หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
........../................/...........

ลงช่ือ.........................................................ผู้รับรองรายงาน
(นายสุพิมล โพธจิ นั ทร์)

รองผู้อำนวยการกลุ่มบรหิ ารงานวิชาการ
........../................/...........

ลงชอ่ื .........................................................ผู้รบั รองรายงาน
(นางอสิ รีย์ อิฐกอ)

ผอู้ ำนวยการโรงเรยี นมาบอำมฤตวทิ ยา
........../................/...........

องคป์ ระกอบที่ ๓

การประเมนิ การปฏิบัตติ นในการรกั ษาวนิ ัย คุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณวชิ าชพี

๑. ยึดม่นั ในสถาบันหลักของประเทศ อันไดแ้ ก่ ชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์ และการปกครอง
ระบอบประชาธปิ ไตยอัน

ข้าพเจ้าสง่ เสริม สนับสนุนและพิทกั ษ์รักษาสถาบนั หลักของประเทศ อันได้แก่การรกั ษา
ผลประโยชน์และช่อื เสยี งของประเทศชาติ การปฏิบัตติ นตามหลกั ของศาสนา การเทดิ ทูนสถาบัน
พระมหากษัตริย์ รวมท้ัง ไม่ต่อตา้ นการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ ทรงเปน็ ประมขุ
มีความเปน็ กลางทางการเมือง และไม่ใช้อำนาจหน้าทเี่ อ้ือประโยชนต์ ่อพรรค การเมืองใดพรรคการเมอื งหนงึ่
เปน็ การเฉพาะ

๒. มีความซื่อสัตย์ สุจริต มีจิตสำนึกที่ดี มีความรับผิดชอบต่อหน้าที่และต่อผู้เก่ียวข้องในฐานะ
ข้าราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา

ข้าพเจา้ พึงปฏิบัตหิ น้าที่ด้วยความซื่อสัตยส์ ุจรติ ถกู ต้องตามกฎหมายและ หลกั จรยิ ธรรม มี
จติ สำนกึ ทีถ่ ูกต้องในการปฏบิ ตั ิหน้าท่ี ดว้ ยความรับผดิ ชอบต่อสังคม ส่งิ แวดลอ้ ม และคำนึงถึงหลักสากล ใน
การปฏบิ ัติตามหลักสทิ ธิมนุษยชน การเปดิ เผยขอ้ มลู ข่าวสารทถ่ี กู ต้อง และการใช้เทคโนโลยีส่ือ สังคมอย่าง
เหมาะสม โดยมีความสจุ รติ ใจเป็นที่ต้งั และมคี วามพรอ้ มที่จะรับผิดชอบต่อผลของการปฏิบัติงาน

๓. มคี วามกล้าคดิ กลา้ ตัดสินใจ กลา้ แสดงออก และกระทำในส่ิงท่ถี กู ต้องชอบธรรม
ข้าพเจา้ พงึ มีความกลา้ ในการตัดสนิ ใจปฏิบตั ิหนา้ ท่ดี ้วยความถูกต้องชอบธรรม และกลา้ แสดง

ความคดิ เห็นหรือคัดค้านในสิ่งที่ไม่ถกู ต้อง ไม่หลกี เลย่ี งกฎหมายหรือใชช้ ่องวา่ งทางกฎหมายเพ่อื เอื้อประโยชน์
ให้แกต่ นเองหรือผู้อื่น

๔. มีจิตอาสา จติ สาธารณะ มุง่ ประโยชนส์ ว่ นรวม โดยคำนงึ ถงึ ประโยชน์ส่วนตนหรือพวกพ้อง
ขา้ พเจ้าพึงปฏบิ ตั หิ น้าท่โี ดยคำนึงถงึ ประโยชนส์ ่วนรวมอันไดแ้ ก่ประโยชน์ของประเทศชาติ

และประชาชนเปน็ ท่ีตั้ง มคี วามเสยี สละ และมจี ติ สาธารณะในการปฏบิ ตั หิ น้าท่ีเพอ่ื อำนวย ประโยชนส์ ุขแก่
ประชาชน รวมทั้งไม่กระทำการอนั มลี กั ษณะเป็นการแสวงหาประโยชนท์ ับซอ้ น มจี ติ บริการที่จะปฏิบตั หิ น้าท่ี
โดยคำนึงถงึ ความผาสกุ และประโยชน์ของสว่ นรวม

๕. มุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน มุ่งมั่นในการปฏิบัติงานอย่างเต็มกำลังความสามารถโดยคำนึงถึง
คุณภาพการศกึ ษาเป็นสำคญั

ข้าพเจา้ พงึ ปฏิบตั หิ น้าที่โดยคำนึงถงึ เปา้ หมาย ประโยชน์ และความคุ้มค่าในการใชท้ รัพยากร
ของหน่วยงาน ด้วยการมุง่ ถงึ ความเป็นเลศิ ของงาน ใหบ้ ริการและอำนวยความสะดวกแก่ประชาชนด้วยความ
รวดเร็วและเตม็ ใจ มงุ่ พัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง รักษาและพัฒนามาตรฐานการทำงานท่ีดี รับฟังความคดิ เห็น
พรอ้ มที่จะตอบชแ้ี จง และอธิบายเหตุผลให้แกผ่ ู้รว่ มงานและ ผมู้ ีสว่ นเกย่ี วขอ้ ง

๖. ปฏบิ ตั ิหนา้ ที่อยา่ งเปน็ ธรรมและไมเ่ ลือกปฏบิ ตั ิ
ข้าพเจา้ พงึ ปฏิบัติหนา้ ที่ด้วยความเท่ยี งธรรม ปราศจากอคติ ไมน่ ำความรู้สึกส่วนตวั ได้แก่

ความรัก ความโกรธ ความกลัว ความหลง มาใชใ้ นการตัดสินใจปฏบิ ตั หิ น้าทใ่ี นเร่อื งต่าง ๆ ไม่เลอื กปฏบิ ตั ิด้วย
เหตผุ ลของความแตกตา่ งในเรื่อง เชือ้ ชาติ ศาสนา เพศ อายุ สภาพรา่ งกาย หรือสถานะทางเศรษฐกิจสงั คม
และความเชื่อทางการเมือง

๗. ดำรงตนเป็นแบบอยา่ งท่ีดแี ละรักษาภาพลักษณ์ของข้าราชการครแู ละบุคลากรทางการศกึ ษา
ข้าพเจ้าพงึ วางตวั เป็นแบบอย่างท่ีดีในการปฏิบตั หิ น้าท่ี ในการดำรงตนและการดำเนินชีวิต

ดว้ ยการรกั ษาเกยี รติศักด์ขิ องความเป็นขา้ ราชการและเจ้าหนา้ ทีข่ องรัฐ รักษาจรรยาบรรณวชิ าชพี ปฏบิ ตั ิตน
เปน็ พลเมืองที่ดีตามระบอบประชาธิปไตย ไม่กระทำการใด ๆ อันอาจนำความเสือ่ มเสียแก่องค์กรหรือทาง
ราชการ

๘. เคารพศักดศ์ิ รคี วามเป็นมนุษย์ คำนึงสิทธเิ ดก็ และยอมรบั ความแตกตา่ งของบคุ คล
. ข้าพเจ้าไดป้ ฏิบตั ิตนเกยี่ วกบั การเอาใจใส่ช่วยเหลือผู้เรยี นและผรู้ บั บริการเต็มความสามารถ
ตามหลกั วิชาชพี อย่างสมำ่ เสมอ เทา่ เทยี มกัน ประสานงานกับผ้ปู กครองของนกั เรียน สำหรบั แจง้ ข้อมลู ต่างๆ
เพ่อื ติดตาม แก้ไขปญั หา เรอ่ื งการเรียนหรอื พฤติกรรม จดั กิจกรรมการเรยี นรู้อยา่ งหลายเพ่อื พัฒนาศักยภาพ
ของผเู้ รียนให้เกดิ การเรียนรตู้ ามสมรรถนะและเป็นพลเมืองทด่ี ใี นศตวรรษท่ี 21

๙. ยดึ ถือและปฏบิ ตั ติ ามจรรยาบรรณวิชาชีพ
ข้าพเจ้าได้ปฏิบัติตนเกย่ี วกับการประพฤตติ นตามจรรยาบรรณของวชิ าชีพและแบบแผน

พฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ปฏบิ ตั งิ านตามทไี่ ด้รับมอบหมายจนสำเร็จลุลว่ งตามเป้าหมายทวี่ างไว้
อย่างมีประสทิ ธิภาพ ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางานและสะสมผลงานอย่างต่อเนอื่ งและ
สม่ำเสมอ เอาใจใส่ดแู ลและช่วยเหลือนกั เรียน ด้วยกัลยาณมติ รอย่างเตม็ ความสามารถเท่าเทยี มกัน สอดแทรก
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมและปลกู ฝังความเปน็ ระเบียบ มวี นิ ยั และความกระตือรอื ร้นในหน้าทีร่ ับผิดชอบตอ่ การ
เรยี น โดยใชเ้ ทคโนโลยดี จิ ทิ ัลเพือ่ ให้ผู้เรียนเกดิ การพัฒนาสูงสดุ ตามศักยภาพ

๑๐. มวี นิ ยั และการรกั ษาวนิ ัย
ขา้ พเจา้ ไดป้ ฏบิ ัติตนเก่ียวกับการมวี ินยั ในตนเอง ยอมรบั และถือปฏิบัติตามกฎ กติกา

มารยาท ขนบธรรมเนียมและแบบแผนอันดีงามของสังคม ตรงตอ่ เวลา เขา้ รว่ มและปฏบิ ัติหน้าทค่ี รทู ่ีปรึกษาใน
กจิ กรรมหนา้ เสาธงชว่ งเช้าทุกวันโดยการพบปะนักเรียนท่ีปรึกษา เพื่อตรวจสอบความเรยี บรอ้ ยในการแตง่ กาย
สอบถามปัญหา แนะนำ ตกั เตือน และแจง้ ขา่ วสาร แต่งกายถูกต้องตามข้อกำหนดของสถานศึกษา เชน่ สวมชุด
ขา้ ราชการในวนั จนั ทร์ , สวมชดุ ลูกเสอื ในวนั พุธ และสวมเส้ือสี/เส้ือทีม่ ีสญั ลักษณ์เนอ่ื งในโอกาสตา่ งๆ
ปฏบิ ตั งิ านอน่ื ๆ ตามท่ไี ด้รบั มอบหมายอยา่ งสมำ่ เสมอและเกิดผลดแี ก่ทางราชการ

ขอรับรองว่ารายงานดงั กลา่ วขา้ งต้นเป็นความจรงิ ทุกประการ

(ลงช่อื )…………………………………………………………
( นางพมิ พ์น้ำผึ้ง วรรณสาม )
ตำแหนง่ ครู

วันที่ 16 เดือน มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๕

การตรวจสอบและรับรองของผ้บู งั คับบัญชาชนั้ ต้น
………………………………………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

(ลงชอื่ ) ………………………………………………..
( นางอิสรีย์ อฐิ กอ)

ผู้อำนวยการโรงเรยี นมาบอำมฤตวทิ ยา
วนั ท.่ี .............เดือน.......................... พ.ศ. ๒๕๖๕

ภาคผนวก



เกยี รตบิ ตั ร



การนาเสนอโครงงาน การประยกุ ตแ์ ละบรู ณาการระบบการเรียนรู้เชิงลึกบน CiRA CORE โครงการ Kammalasai AI Robotics
Thailand Championship

12 – 13 กมุ ภาพนั ธ์ 2565
การนำเสนอโครงงาน การประยุกต์และบูรณาการระบบการเรยี นร้เู ชงิ ลึกบน CiRA CORE
โครงการKammalasai AI Robotics Thailand Championship

ภาพกิจกรรม

การมสี ว่ นรว่ มในการแลกเปลีย่ นเรยี นรทู้ างวิชาชีพ PLC
10 ตลุ าคม 2564 การจัดการเรยี นรดู้ ้วยฐานสมรรถนะ

26-27/2/65
แลกเปลย่ี นเรียนรู้ CiRA CORE ปัญญาประดิษฐ์ เพ่ือไปต่อ สร้างสรรค์นวตั กรรมปญั ญาประดษิ ฐ์ ด้วย
แพลตฟอร์ม CiRA CORE กับทมี ครไู ทยเมคเกอร์ ครผู ู้นำนวตั กรรมแหง่ ประเทศไทย

วนั ท่ี 22 กุมภาพันธ์ 2565
Googel Sheet สุดชคิ กับการสอนเคมีแบบชลิ ๆ

จัดโดย GEG Thailand

12-13 มนี าคม 2565
ปฏบิ ตั ิหนา้ ทีว่ ิทยากรและกรรมการตัดสนิ การแขง่ ขัน โครงการนักประดษิ ฐห์ ุ่นยนตร์ ุ่นเยาว์
ปัญญาประดิษฐแ์ ละเทคโนโลยี รายการ CIRA Core รุ่นอายุไมเ่ กนิ 15 ปี

การใชเ้ ทคโนโลยใี นการจดั การเรยี นรู้


Click to View FlipBook Version