The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เซย์มัวร์ ปาเปิร์ต (Seymour Papert ) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักการศึกษาที่สถาบันเอ็มไอที เขาเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกปัญญาประดิษฐ์โดยเสนอแนวคิดเรื่องความรู้ของเครื่องจักร และได้สร้างภาษาโลโกในปี 1968 ซึ่งเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับเด็กในการฝึกหัดเขียนโปรแกรม โดยสามารถระดมสมอง ร่วมกันคิดเพื่อสร้างโปรแกรม เขายังคิดเพื่อการศึกษานั่นคือ การนำเอาแนวคิดการเรียนรู้ของ ฌอง เพียเจต์ (Jean Piaget) มาใช้ในโรงเรียนได้อย่างไร และได้เน้นผลกระทบของเทคโนโลยีในการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและในชีวิตประจำวัน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Kittisak Uppaphong, 2020-08-07 03:03:59

ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง (Constructionism)

เซย์มัวร์ ปาเปิร์ต (Seymour Papert ) เป็นนักคณิตศาสตร์และนักการศึกษาที่สถาบันเอ็มไอที เขาเป็นหนึ่งในผู้บุกเบิกปัญญาประดิษฐ์โดยเสนอแนวคิดเรื่องความรู้ของเครื่องจักร และได้สร้างภาษาโลโกในปี 1968 ซึ่งเป็นภาษาที่เหมาะสำหรับเด็กในการฝึกหัดเขียนโปรแกรม โดยสามารถระดมสมอง ร่วมกันคิดเพื่อสร้างโปรแกรม เขายังคิดเพื่อการศึกษานั่นคือ การนำเอาแนวคิดการเรียนรู้ของ ฌอง เพียเจต์ (Jean Piaget) มาใช้ในโรงเรียนได้อย่างไร และได้เน้นผลกระทบของเทคโนโลยีในการเรียนรู้ทั้งในโรงเรียนและในชีวิตประจำวัน

Keywords: ทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง,Constructionism,การสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง,เซย์มัวร์ ปาเปิร์ต,Seymour Papert,Seymour,Papert,เซย์มัวร์,ปาเปิร์ต

ÃÒÂÇªÔ Ò¾ÄµÔ¡ÃÃÁ¡ÒÃÊ͹¤ÍÁ¾ÔÇàµÍÏÃдºÑ »ÃжÁÈÖ¡ÉÒ (21023903)

ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÔÇàµÍÃȏ ¡Ö ÉÒ ¤³Ð¤ÃØÈÒʵÏ
ÁËÒÇ·Ô ÂÒÅÑÂÃÒªÀ¯Ñ ʡŹ¤Ã
ÍÒ¨Òü ÙÊŒ ͹ ¼ªŒÙ Ç‹ ÂÈÒʵÃÒ¨ÒÏ ´Ã.Àѷôà ¨Ñé¹Çѹ´Õ

Seymour Papert

·ÄɮաÒÃÊÌҧͧ¤¤ ÇÒÁÃÙŒ´ŒÇµ¹àͧ
(Constructionism)

¹Ò¡ԵµÔÈ¡Ñ ´ìÔ ÍØ»¾§É ÃËÑʹ¡Ñ È¡Ö ÉÒ 60101209120
ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃȏ ¡Ö ÉÒ ¤³Ð¤ÃÈØ ÒʵÏ ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÂÑ ÃÒªÀ¯Ñ ʡŹ¤Ã

1 ·ÄɮաÒÃÊÌҧͧ¤¤ÇÒÁÌٴnj µ¹àͧ (Constructionism)

ทฤษฎกี ารสรางองคความรูด วยตนเอง (Constructionism)

เซยมัวร ปาเปรต (Seymour Papert ) เปนนกั คณิตศาสตรและนักการศึกษาท่ี
สถาบนั เอม็ ไอที เขาเปน หน่ึงในผบู ุกเบกิ ปญ ญาประดิษฐโดยเสนอแนวคดิ เรอื่ งความรู
ของเครื่องจกั ร และไดสรางภาษาโลโกในป 1968 ซ่งึ เปน ภาษาที่เหมาะสำหรบั เดก็ ใน
การฝกหัดเขยี นโปรแกรม โดยสามารถระดมสมอง รวมกนั คิดเพื่อสรา งโปรแกรม เขา
ยงั คิดเพ่ือการศึกษาน่นั คือ การนำเอาแนวคิดการเรียนรขู อง ฌอง เพยี เจต (Jean
Piaget) มาใชในโรงเรียนไดอยา งไร และไดเนน ผลกระทบของเทคโนโลยใี นการเรยี นรู
ทั้งในโรงเรยี นและในชวี ติ ประจำวนั

ประสบการณใหม / ความรูใหม + ประสบการณเดมิ / ความรูเดิม = องคความรูใหม

ซมี ัวร พารเ พิรท (Seymour Papert) ไดใหค วามเห็นวา ทฤษฎีการศกึ ษาการ
เรยี นรู ท่มี ีพ้นื ฐานอยูบนกระบวนการการสราง 2 กระบวนการดวยกัน

สง่ิ แรก คือ ผูเรียนเรยี นรดู ว ยการสรา งความรูใหมขึ้นดว ยตนเอง ไมใชร บั แต
ขอ มลู ที่หล่ังไหลเขามาในสมองของผเู รยี นเทานน้ั โดยความรจู ะเกดิ ขึน้ จากการแปล
ความหมายของประสบการณท ไ่ี ดรับ สังเกตวา ในขณะท่เี รา สนใจทำสง่ิ ใดส่งิ หนึง่ อยู
อยาง ตั้งใจเราจะไมลดละความพยายาม เราจะคิดหาวธิ กี ารแกไขปญหานน้ั จนได

สง่ิ ที่สอง คอื กระบวนการการเรียนรจู ะมปี ระสทิ ธิภาพมากท่ีสดุ หากกระบวนการ
นัน้ มคี วามหมายกับผูเ รยี นคนน้นั จากท่กี ลา วมาสามารถสรุปใหเปน หลกั การตา ง ๆ ท่ี
มคี วามสมั พันธซ่ึงกันและกนั ไดด ังน้ี

1. หลักการที่ผูเรียนไดสรา งองคค วามรูดว ยตนเอง หลกั การเรียนรูตาม
ทฤษฎี Constructionism คอื การสรางองคค วามรูดว ยตนเอง โดยใหผเู รยี นลงมือ
ประกอบกิจกรรมการเรยี นรูดว ยตนเองหรอื ไดป ฏสิ มั พนั ธก บั ส่งิ แวดลอมภายนอกท่มี ี
ความหมาย ซงึ่ จะรวมถงึ ปฏกิ ริ ยิ าระหวา งความรูในตัวของผเู รยี นเอง ประสบการณ
และสงิ่ แวดลอมภายนอก การเรยี นรูจะไดผลดถี า หากวาผเู รียนเขา ใจในตนเอง มองเห็น
ความสำคัญในสง่ิ ทีเ่ รยี นรแู ละสามารถเชอ่ื มโยงความรูร ะหวางความรูใหมกับความรู
เกา (รวู าตนเองไดเ รยี นรูอะไรบาง) และสรางเปน องคค วามรูใหมข ้นึ มา

¹Ò¡µÔ µÔÈ¡Ñ ´ìÔ Í»Ø ¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÔÇàµÍÃȏ Ö¡ÉÒ

·ÄɮաÒÃÊÃÒŒ §Í§¤¤ÇÒÁôŒÙ ÇŒ µ¹àͧ (Constructionism) 2

2. หลกั การทีย่ ดึ ผเู รยี นเปนศูนยกลางการเรียนรู โดยครูควรพยายามจดั
บรรยากาศการเรียนการสอน ที่เปด โอกาสใหผ เู รียนลงมอื ปฏบิ ตั กิ จิ กรรมการเรียน
ดวยตนเองโดยมีทางเลอื กในการเรยี นรทู ีห่ ลากหลาย (Many Choice) และเรยี นรูอ ยาง
มคี วามสุขสามารถเชื่อมโยงความรรู ะหวา งความรูใหมก บั ความรูเกาได สวนครูเปนผู
ชวยเหลอื และคอยอำนวยความสะดวก

3. หลกั การเรียนรจู ากประสบการณและสง่ิ แวดลอม หลกั การนี้เนน ใหเ ห็น
ความสำคัญของการเรยี นรูรว มกนั (Social value) ทำใหผ เู รียนเหน็ วาคนเปน แหลง
ความรูอีกแหลง หนึ่งทส่ี ำคญั การสอนตามทฤษฎี Constructionism เปนการจดั
ประสบการณเพอ่ื เตรยี มคนออกไปเผชญิ โลก ถาผเู รยี นเห็นวา คนเปนแหลง ความรู
สำคัญและสามารถแลกเปลย่ี นความรกู ันได เมือ่ เขาจบออกไปก็จะปรับตัวไดง ายและ
ทำงานรวมกับผอู ่นื อยางมปี ระสทิ ธิภาพ

4. หลักการที่ใชเทคโนโลยีเปนเครอ่ื งมือการรจู กั แสวงหาคำตอบจากแหลง
ความรูตา ง ๆ ดวยตนเองเปนผลใหเ กดิ พฤตกิ รรมทฝี่ งแนน เม่อื ผเู รยี น
“เรยี นรูวา จะเรียนรูไดอยางไร (Learn how to Learn)”

แนวคดิ สำคญั ของทฤษฎี (Constructionism)
1. เร่ิมทผ่ี เู รยี นตอ งอยากจะรู อยากจะเรียน จงึ จะเปนตัวเรง ใหเขาขับเคลื่อน

(ownership)
2. ใชค วามผิดพลาดเปนบทเรยี นเปนแรงจงู ใจ (internal motivation) ใหเกิด

การสรา งสรรคค วามรู
3. การเรยี นรูเปนทมี (team learning) จะดีกวา การเรียนรคู นเดยี ว
4. เปนการเรียนรวู ธิ ีการเรียนรู (Learning to learn) ไมใ ชก ารสอน

¹Ò¡ԵµÔÈÑ¡´Ôì Í»Ø ¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃÈ¡Ö ÉÒ

3 ·ÄɮաÒÃÊÃÒŒ §Í§¤¤ ÇÒÁôٌ ÇŒ µ¹àͧ (Constructionism)

หลกั การของทฤษฎี Constructionism
มีหลกั การสำคัญดงั นี้ (สชุ นิ เพช็ รกั ษ, 2548 : 31 – 34)
1. หลักการท่ผี ูเ รียนสรา งองคความรูดวยตนเอง หลกั การเรยี นรูต ามทฤษฎี

Constructionism คอื การใหผ เู รียนลงมอื สรา งสิ่งของหรือประกอบกจิ กรรมการเรียน
รดู ว ยตนเอง ไดป ฏิสัมพันธก ับสง่ิ แวดลอมภายนอกทมี่ ีความหมาย ซึ่งจะรวมถงึ
ปฏิกิริยาระหวา งความรูในตัวของผูเ รียนเองกับประสบการณและสิ่งแวดลอมภายนอก
สามารถเชื่อมโยงและสรางเปน องคความรูใหม

2. หลกั การทีย่ ึดผูเรยี นเปนศนู ยกลางของการเรยี นรู หลักการตามทฤษฎี
Constructionism ครูตองจัดบรรยากาศการเรียนการสอนทีเ่ ปด โอกาสใหผเู รยี น
ลงมอื ปฏบิ ัตกิ ิจกรรมการเรยี นดวยตนเอง โดยมีทางเลอื กทีห่ ลากหลายและเรยี นรู
อยา งมคี วามสุข สามารถเชอื่ มโยงความรรู ะหวางความรูใหมกับความรเู กาได สว นครู
ทำหนาท่เี ปนผชู วยและคอยอำนวยความสะดวก

3. หลักการเรยี นรูจากประสบการณและสงิ่ แวดลอม หลกั การน้ีเนนใหเ ห็นความ
สำคัญของการเรยี นรูรว มกนั ทำใหผ เู รียนเหน็ วา คนเปน แหลงความรอู ีกแหลง หนงึ่ ท่ี
สำคญั การสอนตามทฤษฎี Constructionism เปน การจดั ประสบการณเพ่อื เตรยี ม
คนออกไปเผชิญโลก ถาผเู รียนเห็นวา คนเปนแหลงความรูสำคัญและสามารถแลกเปลี่ยน
ความรูก ันได เมอ่ื จบการศึกษาออกไปกจ็ ะปรบั ตัวและทำงานรว มกบั ผอู นื่ ไดอยางมี
ประสทิ ธภิ าพ

4. หลกั การใชเทคโนโลยเี ปนเครือ่ งมือ หลกั การน้ีเนนการใชเ ทคโนโลยีแสวงหา
ความรูจากแหลง ความรตู าง ๆ ดว ยตนเอง เปนผลใหเ กดิ พฤตกิ รรมท่ฝี งแนนเมื่อผู
เรยี น เรียนรวู าจะเรยี นรูไดอยา งไร (Learning how to Learn)

การสรา งองคค วามรูดว ยตนเองได แบง เปน 4 ข้นั ตอนหลัก ๆ คอื
1. Explore คือ การสำรวจตรวจคน ในข้ันตอนนบี้ ุคคลจะเร่ิมสำรวจตรวจคน

หรอื พยายามทำความเขา ใจกับสงิ่ ใหม (assimilation) ซึง่ เกิดขึ้นเมื่อไดพ บหรือ
ปฏสิ มั พันธก บั สงิ่ แวดลอมใหมๆ ทีไ่ มมอี ยใู นสมองของตน ก็จะพยายามรับหรือดดู ซึม
เกบ็ เขา ไปเปน ความรูใหม พฤตกิ รรมเหลา นี้หลายทานอาจจะเคยสมั ผสั ดว ยตนเองหรือ
เคยสังเกตเหน็ จากการเขารวมกจิ กรรมการตอเลโก & โลโก จะเห็นวาในวนั แรกทีไ่ ด

¹Ò¡µÔ µÔÈ¡Ñ ´ìÔ ÍØ»¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃȏ Ö¡ÉÒ

·ÄÉ®¡Õ ÒÃÊÃÒŒ §Í§¤¤ÇÒÁÃÙŒ´ÇŒ µ¹àͧ (Constructionism) 4

พบกับอุปกรณทีเ่ ปนตัวตอ หลายๆคนทไี่ มมปี ระสบการณเ ลยอาจจะเริม่ จากสำรวจชน้ิ
สว นตาง ๆ วา มีอะไรบางและแตละตวั ใชท ำงานอะไร หรือนง่ั มองคนอืน่ ๆ ตอ ไปกอ น
อาจจะสอบถามจากเพ่ือนท่ีนงั่ ใกล ๆ หรือบางคนอาจจะดจู ากคูมือทีม่ ีอยเู พ่อื พยายาม
ทำความเขาใจกับส่งิ ใหมน นั้

2. Experiment คอื การทดลอง ในข้ันตอนนี้จะเปน การทดลองทำภายหลังจาก
ทมี่ กี ารสำรวจไปแลว เปน การปรับความแตกตาง (accommodation) เมื่อไดพ บหรือ
ปฏิสมั พันธกบั สงิ่ แวดลอมใหมๆ ท่ีสมั พนั ธกบั ความคดิ เดมิ ทีม่ ีอยใู นสมอง นน่ั
หมายความวา เรม่ิ จะปรบั ความแตกตา งระหวา งของใหมกับของเดิมจนเกิดความเขา ใจ
วาควรจะทำอยางไรกบั สง่ิ ใหมน ้ี เชน ในการตอเลโก & โลโก หลงั จากท่ีสำรวจชน้ิ สวน
ตา ง ๆ และเกบ็ เปนความรูไวในสมองแลว ตอ ไปอาจจะเปนการทดลองสรา งโดยอาจจะ
สรา งตามตัวอยา งในคูมอื หรอื อาจจะทดลองตอ เปน ชิน้ งานท่ตี นเองอยากจะทำ หรือ
อาจจะทดลองตอ ตามเพือ่ นๆก็ได แตบ างคนกพ็ ยายามทีจ่ ะปรับตนเองโดยการ
สอบถามเพือ่ นที่สามารถทำได
(ซง่ึ จุดน้ีเองเปนจดุ เรม่ิ ตนของการทำใหทราบวาคนเปนแหลงความรทู ีส่ ำคัญอยา งหนึ่
งและการแสวงหาความรูจ ากส่ิงแวดลอมรอบ ๆตัว) ในข้ันตอนนอี้ าจจะมีลองผดิ ลองถกู
บา งเพื่อจะเกบ็ เกยี่ วเปนประสบการณและสรา งเปน องคความรูเ กบ็ ไวในสมองของ
ตนเอง อยางไรกต็ ามในข้นั ตอนนจี้ ะเกิดทงั้ การดดู ซมึ (assimilation) และ การปรบั
ความแตกตา ง (accommodation) ผสมผสานกนั ไป

3. Learning by doingคอื การเรียนรูจากการกระทำ ขั้นนีเ้ ปน การลงมือปฏบิ ัติ
กจิ กรรมอยางใดอยางหน่งึ หรือการไดปฏิสมั พนั ธกบั สงิ่ แวดลอมทมี่ คี วามหมายตอ
ตนเอง แลวสรา งเปน องคความรขู องตนเองขน้ึ มา ซึ่งจะคาบเกีย่ วกับขัน้ ตอนท่ีผานมา
ขั้นน้จี ะเกดิ ท้ังการดูดซึม (assimilation) และ การปรับความแตกตาง (accommoda-
tion) ผสมผสานกนั ไป เชน เดยี วกนั

4. Doing by learningคอื การทำเพอื่ ทจ่ี ะทำใหเ กดิ การเรยี นรู ข้ันตอนนจี้ ะตอ ง
ผา นข้นั ตอนท้งั 3 จนประจักษแกใจตนเองวา การลงมือปฏิบัติกจิ กรรมอยางใดอยาง
หนงึ่ หรอื การไดป ฏสิ ัมพันธก ับสงิ่ แวดลอมท่มี คี วามหมายน้นั สามารถทำใหเกดิ การ
เรียนรูไดและเมือ่ เขาใจแลว กจ็ ะเกิดพฤตกิ รรมในการเรียนรทู ีด่ ี รูจ กั คิดแกป ญหา รจู กั
การแสวงหาความรู การปรับตนเองใหเขากับส่ิงแวดลอ มใหมๆ ฯลฯ นนั่ กค็ ือเกดิ ภาวะ

¹Ò¡ԵµÔÈ¡Ñ ´ìÔ ÍØ»¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃȏ Ö¡ÉÒ

5 ·ÄɮաÒÃÊÌҧͧ¤¤ ÇÒÁÃÙ´Œ ŒÇµ¹àͧ (Constructionism)

ที่เรียกวา”Powerful learning” ซงึ่ กค็ ือเกิดการเรียนรทู จ่ี ะดูดซมึ (assimilation) และ
การปรับความแตกตาง(accommodation) อยตู ลอดเวลาอันจะนำไปสคู ำกลา วทีว่ า
”คดิ เปน ทำเปน แกปญหาเปน” นนั่ เอง

อยา งไรก็ตามข้นั ตอนท่กี ลาวมาทัง้ 4 ขน้ั จะเหน็ ไดว า มคี วามสมั พันธซึ่งกันและ
กัน จนบางทไี มส ามารถแยกออกวา พฤตกิ รรมทเ่ี หน็ นัน้ อยใู นขน้ั ตอนไหนเพราะมีการ
ผสมผสานกันอยตู ลอดเวลา และในการเร่ิมตน ของแตล ะบุคคลน้ันอาจมคี วามแตกตาง
กันออกไป บางคนอาจจะเริม่ ท่ี Experiment หรอื อาจจะเริม่ ที่ Learning by doing เลย
กไ็ ด ทัง้ นขี้ น้ึ อยกู ับความรเู ดมิ ทีม่ ีอยใู นสมองของแตล ะบคุ คลน้ันไมเทา กัน

บาทบาทและหนาทข่ี องครผู ูสอน
ครผู สู อนจะตอ งสรางใหเ กิดองคป ระกอบครบทง้ั 3 ประการ คือ
1. ใหผูเรยี นไดลงมือประกอบกจิ กรรมดวยตนเอง (ไดส รางงาน) ตามความ

สนใจ ตามความชอบหรอื ความถนดั ของแตล ะบุคคล
2. ใหผ ูเรยี นไดเ รยี นรภู ายใตบ รรยากาศและสภาพแวดลอมในการเรยี นรูที่ดี
3. มเี ครือ่ งมืออปุ กรณในการประกอบกิจกรรมการเรียนรูท ่ีเหมาะสม
ในการดำเนนิ กิจกรรมการสอน ครคู วรรจู ักบทบาทของตนเองอยางแจม แจง

ครูนบั วาเปน บุคคลสำคญั ทีจ่ ะทำใหก ารสอนสำเรจ็ ผล ดังนั้นจึงควรรจู กั บทบาทของ
ตน ดงั นี้ คอื

1. จดั บรรยากาศการเรยี นรูใหเหมาะสม โดยควบคุมกระบวนการการเรยี นรูให
บรรลุเปาหมายตามท่ีกำหนดไวแ ละคอยอำนวยความสะดวกใหผ เู รยี นดำเนินงานไปได
อยางราบรนื่

2. แสดงความคดิ เหน็ และใหข อ มูลท่เี ปน ประโยชนแกผูเรียนตามโอกาสทีเ่ หมาะสม
(ตองคอยสงั เกตพฤติกรรมการเรียนรขู องผเู รียนและบรรยากาศการเรียนทีเ่ กิดขนึ้ อ
ยตู ลอดเวลา)

3. เปด โอกาสใหผเู รียนไดเรียนรูต ามแนวทางของทฤษฎี Constructionism โดย
เนนใหผ เู รยี นสรางองคความรดู ว ยตนเอง เปน ผูจ ุดประกายความคดิ และกระตุนใหผู
เรยี นไดมสี ว นรวมในกิจกรรมการเรียนโดยท่วั ถงึ กัน ตลอดจนรับฟง และสนับสนุนสง
เสรมิ ใหก ำลงั ใจแกผูเรยี นท่จี ะเรียนรเู พ่ือประจกั ษแกใ จดวยตนเอง

¹Ò¡µÔ µÔÈ¡Ñ ´Ôì ÍØ»¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃȏ ¡Ö ÉÒ

·ÄÉ®¡Õ ÒÃÊÃÒŒ §Í§¤¤ÇÒÁÃŒ´Ù ÇŒ µ¹àͧ (Constructionism) 6

4. ชว ยเชอื่ มโยงความคดิ เหน็ ของผเู รยี นและสรปุ ผลการเรียนรู ตลอดจนสง เสริม
และนำทางใหผ เู รียนไดรวู ิธีวิเคราะหพฤติกรรมการเรยี นรู เพื่อผูเรียนจะไดน ำไปใชใหเ กดิ
ประโยชนได

ในการจัดการเรยี นรตู ามทฤษฎี Constructionism ครเู ปนบคุ คลสำคัญท่ีตอ งมี
การเปล่ยี นแปลงทัศนคติ ความเช่อื ดงั น้ี

1. ตองไมถือวา ครเู ปนผรู แู ตผูเ ดยี ว ผเู รยี นตองเชอ่ื ตามที่ครูบอก แตครตู อง
ตระหนักวาตนเองมคี วามรูทจ่ี ะชว ยเหลอื นักเรียนเทา ท่ีจะชวยได ดงั น้ันครูจึงไมอับอาย
ผเู รียนท่จี ะพดู วา “ครกู ็ยงั ไมทราบ พวกเรามาชว ยกนั หาคำตอบดูซ”ิ

2. ตองพยายามใหผูเรยี นเกิดการเรยี นรูดว ยตนเองมากที่สดุ อดทนและปลอ ย
ใหนกั เรียนประกอบกิจกรรมดว ยตนเอง อยา รบี บอกคำตอบ ควรชวยเหลอื แนะนำผู
เรยี นทเ่ี รียนชาและเรียนเรว็ ใหสามารถเรียนไปตามความสามารถของตนเองใหม าก
ทส่ี ุด

3. ไมค วรถอื วา “ผเู รียนทดี่ ีตองเงยี บ” แตค รคู วรเปดโอกาสใหผ เู รียนไดพูดคุย
แลกเปลีย่ นความคดิ เห็นซงึ่ กันและกนั

4. ตอ งไมถ ือวาการท่ผี ูเรียนเดินไปเดินมาในการทำกิจกรรมการเรยี นรูเ ปน การ
แสดงถึงความไมมีระเบียบวินัย แตต องคิดวาการเดนิ ไปเดินมาเปน กระบวนการหนงึ่ ที่
ชวยใหการเรียนรเู ปนไปอยา งตอ เน่อื ง และชว ยทำใหผูเ รียนไมเ บ่อื หนายตอ การเรยี น

5. ไมควรยดึ ติดกบั หลกั สูตรมากเกินไป ไมควรจะยดั เยียดเนอื้ หาทีไ่ มจ ำเปน ใหกับ
ผูเรียน ควรคิดวา การใหเ นอื้ หาท่จี ำเปน แมจ ะนอยอยา งก็ยงั ดกี วาสอนหลายๆอยา ง
แตผ เู รียนเกดิ การเรียนรนู อยมากหรอื นำความรทู ี่เรยี นไปประยกุ ตใชไมไ ด

6. การจัดตารางสอนควรจดั ใหย ืดหยุน เหมาะสมกับเวลาทีเ่ ปด โอกาสใหผ เู รียน
ไดล งมอื ปฏิบัตกิ จิ กรรมภายในเวลาท่ีเหมาะสมไมมากหรือนอยไป

บทบาทของผูเรียน
ในการเรยี นตามทฤษฎี Constructionism ผเู รยี นจะมบี ทบาทเปนผปู ฏิบัติและ

สรางความรูไปพรอม ๆ กันดว ยตัวของเขาเอง (ทำไปและเรยี นรูไปพรอ ม ๆ กนั ) บทบาท
ท่คี าดหวงั จากผูเรยี น คือ

1. มีความยนิ ดรี วมกจิ กรรมทุกครงั้ ดวยความสมัครใจ

¹Ò¡ԵµÔÈÑ¡´Ôì ÍØ»¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÔÇàµÍÃÈ¡Ö ÉÒ

7 ·ÄɮաÒÃÊÌҧͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ´ÇŒ µ¹àͧ (Constructionism)

3. ตดั สนิ ปญหาตาง ๆ อยา งมีเหตุผล
4. ความรูสกึ และความคิดเปนของตนเอง
5. วเิ คราะหพฤติกรรมของตนเองและผอู นื่ ได
6. ใหค วามชว ยเหลอื กันและกัน รจู ักรบั ผิดชอบงานทต่ี นเองทำอยแู ละที่ไดร บั มอบ
หมาย
7. นำสิง่ ท่เี รียนรูไปประยุกตใชป ระโยชนในชีวิตจรงิ ไดน น้ั

การนำทฤษฎี Constructionism มาประยกุ ตใชกบั การเรียนการสอน
ประยุกตใชบ างสวน กลา วคือ นำทฤษฎี Constructionism มาประยุกตใชเปน

คร้งั คราว โดยเลือกใหเ หมาะสมกับวตั ถปุ ระสงคแ ละเนอ้ื หา
ประยุกตใชในชว่ั โมงปฏิบตั ิเตม็ เวลา กลา วคือ นำทฤษฎี Constructionism มา

ประยกุ ตใชในชวั่ โมงปฏิบัติทงั้ หมดของวชิ านนั้ โดยครใู หผ เู รียนลงมอื ปฏบิ ัติและเช่ือม
โยงความรูใหสัมพันธกับทฤษฎที ่ีเรียน

ประยุกตใชทั้งวิชา กลาวคือ นำทฤษฎี Constructionism มาประยุกตใชในการ
เรียนการสอนทง้ั วชิ า ซึ่งนบั วา เปนวิธที ่ีดหี ากปฏิบตั ไิ ดจ รงิ เพราะการเปล่ยี นแปลงความ
คดิ และทัศนคตขิ องผเู รียนน้นั จะตองอาศยั ระยะเวลานานพอสมควรและจะตอ งทำอยาง
ตอ เนือ่ งจงึ จะเหน็ ผล

ดังนั้น ทฤษฎี Constructionism จงึ ใหความสำคัญกับโอกาสและวสั ดทุ ี่จะใชใน
การเรียนการสอนที่ผูเ รยี นสามารถนำไปสรางความรูใหเ กดิ ขน้ึ ภายในตวั ผูเรยี นเองได
ไมใ ชมุงการสอนท่ีเปน การปอนความรูใหกับผูเรยี น แตผูเรยี นจะตองเรียนรูจ ากการ
ลงมือทำผูสอนควรเปดโอกาสใหผ ูเรียนไดดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนดวยตนเองมีทาง
เลือกทีม่ ากขึน้ โดยการลงมือปฏบิ ตั หิ รอื สรา งงานทตี่ นเองสนใจ และสรา งองคความรู
ขึน้ มาเองโดยการผสมผสานระหวางความรูเดิมกับความรูใหม

¹Ò¡ԵµÔÈ¡Ñ ´ìÔ Í»Ø ¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹Çѵ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÔÇàµÍÏÈÖ¡ÉÒ

·ÄɮաÒÃÊÃÒŒ §Í§¤¤ ÇÒÁÃŒ´Ù ŒÇµ¹àͧ (Constructionism) 8

เอกสารอางอิง

เลศิ ฤทธ์ิ ดา นกระโทก. (2558). ครูไทยหัวใจบานนอก. เรียกใชเมอื่ 4 สิงหาคม 2563
จาก https://kruaum.wordress.com/เมนูสว นที-่ 5/การสรา งองคความรู
ดว

องคการบริหารสวนตำบลทบั น้ำ. (2558). องคก ารบรหิ ารสว นตำบลทับนำ้ .
เรียกใชเม่อื 6 สิงหาคม 2563 จาก http://tubnum.go.th/UserFiles/
File/136.pdf

nattarika010339. (2559). NATTARIKABLOG. เรยี กใชเ มอ่ื 4 สิงหาคม 2563
จาก https://nattarikablog.wordpress.com/2016/02/15/
ทฤษฎกี ารสรา งองคค วามร/

NovaBizz. (2561). NovaBizz. เรยี กใชเมื่อ 5 สงิ หาคม 2563 จาก
https://www.novabizz.com/NovaAce/Learning.htm

ThirayutG22. (2557). ThirayutG22. เรยี กใชเ ม่อื 5 สิงหาคม 2563 จาก
https://sites.google.com/site/thirayutg22/thvsdi-kar-rei
yn-ru/thvsdi-kar-srang-xngkh-khwam-ru-dwy-tnxeng

¹Ò¡µÔ µÔÈÑ¡´ìÔ Í»Ø ¾§É ÊÒ¢ÒÇÔªÒ¹ÇµÑ ¡ÃÃÁáÅФÍÁ¾ÇÔ àµÍÃȏ Ö¡ÉÒ


Click to View FlipBook Version