The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

บทที่2 ประวัติและควาสำคัญของพระพุทธศาสนา

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by parita601, 2022-05-24 00:08:41

บทที่2 ประวัติและควาสำคัญของพระพุทธศาสนา

บทที่2 ประวัติและควาสำคัญของพระพุทธศาสนา

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2

ประวัตแิ ละความสาคญั
ของพระพทุ ธศาสนา

สาระการเรียนรู้

❖ ลักษณะสงั คมของชมพูทวีป
❖ การพฒั นาศรัทธาและปญั ญาทางพระพุทธศาสนา
❖ ทฤษฎแี ละวธิ กี ารท่เี ปน็ สากลในพระพทุ ธศาสนา
❖ พระพุทธศาสนามขี อ้ ปฏิบัตทิ ่ีเป็นทางสายกลาง

ลกั ษณะสงั คมชมพูทวปี

ลักษณะสงั คมชมพูทวปี

คาว่า “ชมพูทวีป” มีความหมายว่า “ทวีปแห่งไม้หว้า” เป็นดินแดน
ที่พระพุทธศาสนากาเนิดข้ึน เพราะฉะน้ันการศึกษาพระพุทธศาสนา จึงต้อง
เร่ิมจากการศึกษาภูมิหลังของพระพุทธศาสนาก่อน ซึ่งก็คือการศึกษาลักษณะ
สงั คมของชมพูทวปี นั่นเอง

ชมพูทวีปใน
สมัยก่อนพุทธกาล

พื้นฐานทางการปกครอง

ชนชาติเดิมท่ีอาศัยอยู่ในชมพูทวีป คือ ชนชาติดราวิเดียน
แต่ต่อมาได้ถูกชนชาติอารยัน ซ่ึงเป็นนักรบท่ีอพยพมา เข้ามา
รุกราน จนต้องถอยไปทางตอนใต้ ชนชาติอารยัน เป็นชนชาติที่
เจริญด้วยขนบธรรมเนียมประเพณีและวฒั นธรรมมากกวา่ นอกจาก
จะเข้ามาตั้งถ่ินฐานแทนที่แล้วนั้น ยังได้รวมความเชื่อของทั้ง 2 เชื้อ
ชาติเข้าด้วยกัน เป็นการผสานลัทธิการบูชายัญของชนชาติดราวิ
เดยี น เขา้ กบั ความเช่ือในการนับถอื เทพเจา้ ต่างๆของชนชาตอิ ารยัน
ไดอ้ ย่างกลมกลนื

พื้นฐานทางศาสนา

❖ สมัยพระเวท

เป็นสมัยแรกท่ีชนชาติอารยันเข้ามาปกครองชมพูทวีป
ประชากรบางส่วนมีการนับถือลัทธิเทวนิยม หรือการบูชาเทพเจ้า
มีการรวบรวมบทสวดไว้เป็นหมวดหมู่ จัดเป็นคัมภีร์ เรียกว่า
“คมั ภรี ์พระเวท” หรอื ไตรเวท

❖ สมยั พราหมณะ

เปน็ สมัยทีช่ นชาติอารยันไดเ้ คล่อื นมาทางตอนเหนือของ
ชมพูทวีป และครอบครอบภาคเหนือของชมพูทวีปเกือบทั้งหมด
ในสมัยน้ีพราหมณ์ได้รับการยกย่องเป็นอย่างสูง เป็นผู้ประกอบ
พธิ กี รรม และเปน็ ส่ือกลางระหว่างมนษุ ยก์ บั พระเจ้า

พืน้ ฐานทางศาสนา

❖ สมยั พราหมณะ
ในสมัยน้ีพระพรหมได้รับการยกย่องว่าเป็นเทพเจ้าสูงสุด เป็นผู้สร้างทุกสิ่งทุกอย่าง เป็นท่ีมาของคาว่า

“พรหมลิขิต” นั่นเอง ต่อมาจึงมีการนับถือเทพเจ้าเพ่ิมอีก2องค์ คือ พระวิษณุ และ พระศิวะ โดยพวกพราหมณ์ได้
กาหนดหน้าทีข่ องเทพต่างๆ ดงั น้ี

พระศวิ ะหรอื พระอิศวร : ผทู้ าลาย พระพรหม : ผสู้ ร้าง

พระวิษณุหรือพระนารายณ์ : ผรู้ กั ษา
เนอ่ื งจากพราหมณเ์ ปน็ ผผู้ ูกขาดในพธิ ีกรรม ลทั ธนิ ีจ้ งึ นิยมเรียกวา่ “ลัทธพิ ราหมณ์”

พ้นื ฐานทางการศึกษาและทางสงั คม

ในคัมภีร์พระเวท ได้สอนวา่ พระพรหมสร้างมนุษย์ 4 พวก จากอวยั วะต่างๆของพระองค์เอง คือ

1. วรรณะพราหมณ์ ถูกสรา้ งมาจากพระโอษฐ์ (ปาก) ถอื เป็นชนชน้ั สงู
2. วรรณะกษตั รยิ ห์ รือนักปกครอง ถกู สรา้ งมาจากพระหตั ถ์ (แขน) ถอื เปน็ ชนช้ันสงู
3. วรรณะแพศยห์ รอื กลมุ่ นกั ธุรกจิ ถกู สรา้ งมาจากตะโพก ถอื เปน็ ชนช้ันสามญั
4. วรรณะสุดทา้ ยคือ ศูทรหรอื กลมุ่ คนใช้ กรรมกรถกู สร้างมาจากพระบาท ถือเป็นชนชน้ั ตา่

หากมีการแตง่ งานข้ามวรรณะและมลี กู ลูกจะถกู เรียกว่าจัณฑาล เปน็ ผ้ทู ี่ไม่มีวรรณะ ในสังคมชมพทู วปี จะ
ถือว่าเป็นคนเลว

ปจั จบุ ันแมต้ ามนิตินัยหรือทางกฎหมายจะมีการยกเลิกระบบวรรณะน้ีไปแล้ว แต่ประชากรท่ียงั ยึดถือระบบ
วรรณะยังมีอยู่ เพราะความเชือ่ ทยี่ ังฝังแนน่

การแบง่ หน้าทีแ่ ละการศกึ ษาตามวรรณะ

วรรณะ หนา้ ที่ การศึกษา
1. พราหมณ์ ฝกึ สอนและทาพธิ ีกรรม ศกึ ษาทางศาสนาและวทิ ยากร
2. กษตั รยิ ์
รกั ษาบา้ นเมือง ศึกษาวชิ ายุทธวธิ ี
3. แพศย์ ทานา คา้ ขาย ศึกษากสกิ รรมและพาณชิ ยกรรม
4. ศูทร ศกึ ษาในงานทท่ี าดว้ ยแรงงาน
รับจ้าง

ชมพูทวปี
ในสมยั พุทธกาล

พื้นฐานทางการปกครอง

“ชมพูทวีป” คือ อาณาเขตที่เป็นประเทศอินเดีย ปากีสถาน อัฟกานิสสถาน
ศรีลังกา บังคลาเทศ และเนปาลในปัจจุบัน (ในปัจจุบันเลิกใช้ช่ือชมพูทวีปนี้
แลว้ ) ในสมยั พุทธกาล ชมพูทวีปนอกจากแบ่งเปน็ 2 เขต คือ
➢ เขตภาคกลาง เรียกว่า มัชฉิมชนบทหรือมัธยมประเทศ เป็นที่อยู่ของชน

ชาตอิ รยิ กะ หรอื อารยัน แปลวา่ ผเู้ จริญเป็นดนิ แดนของชนผวิ ขาว
➢ เขตรอบนอก เรียกว่า ประจันตชนบทหรือประจันตประเทศ คือ ประเทศ

ปลายเขตเป็นทอ่ี ยู่ของชนชาตมิ ลิ ักขะ หรืออนารยชน เป็นดินแดนของชน
พ้ืนเมือง หรอื ชนชาตดิ ราวิเดยี น

ในพระไตรปิฎก เล่มท่ี 20 ได้ระบุไว้ว่า มัชฌิมชนบท ประกอบด้วยแคว้นใหญ่ๆ
16 แคว้น และแคว้นเล็กแคว้นน้อยท่ีเป็นเมืองขึ้นของแคว้นใหญ่อีก 5 แคว้น รวมเป็น 21
แคว้น ดังหนังสือหน้าที่27-28 โดยมีแคว้นที่สาคัญ 6 แคว้น คือ แคว้นมคธ แคว้นวังสะ
แคว้นอวนั ตี แคว้นกาสี แคว้นสกั กะ และแคว้นโกศล

โดยทกี่ ารปกครองของแต่ละแคว้นกจ็ ะต่างกันออกไป

➢ ปกครองในระบอบสมบูรณาญาสทิ ธิราชย์ หรอื การปกครองแบบราชาธิปไตย
การปกครองรูปแบบนี้มีพระมหากษัตริย์มีอานาจสูงสุด แคว้นท่ีปกครองใน
ระบอบน้ี เช่น แคว้นมคธ แคว้นโกศล แควน้ อวนั ตี แคว้นวังสะ

➢ ปกครองในระบอบสามัคคธี รรม การปกครองในระบอบนี้ จะบริหารประเทศ
แบบอาศัยรัฐสภา และมีประมุขสภาดารงตาแหน่งตามระยะเวลาท่ีกาหนด
การปกครองในระบอบน้ี คลา้ ยกบั การปกครองแบบประชาธิปไตยในปัจจุบัน
แควน้ ทปี่ กครองในระบอบน้ี เช่น แควน้ วัชชี แคว้นมัลละ

พนื้ ฐานทางศาสนา

ศาสนาพราหมณ์ในสมัยพุทธกาล ได้มีการพัฒนา
ความเช่ือเกี่ยวกับการเวียนว่ายตายเกิด มีการสอนกันอย่าง
แพร่หลายในชาวอารยัน ในยุคน้ีได้ถูกเรียกว่า ฮินดู ลัทธิท่ี
ชาวฮินดูนับถือ จึงถูกเรียกว่า ศาสนาฮินดู มีคัมภีร์สาคัญใน
การใช้เผยแผ่ศาสนา เรียกว่า “คัมภีร์อุปนิษัท”ส่วนใหญ่เป็น
ความเช่ือเรื่องวิญญาณ มีการนับถือพระพรหมว่าเป็น
ปรมาตมัน (ต้นกาเนิดและเป็นท่ีรวมของทุกส่ิงทุกอยา่ ง) เป็น
ปฐมวิญญาณศาสนาพราหมณ์-ฮินดูในยุคน้ีจึงถูกเรียนว่า
“ยุคอุปนิษทั ”

นอกจากพวกพราหมณ์แล้วยังมีนักบวชจานวนมาก
ไดป้ ระกาศลทั ธติ า่ งๆ ไดแ้ ก่

ลัทธิ เจ้าลัทธิ ความเช่ือ
❖ ลทั ธิอกิริยทิฎฐิ ปรู ณกัสสป ไม่มบี ญุ บาป กรรม และผลของกรรม
คนเราตอ้ งเวยี นว่ายตายเกดิ 8.4 ล้านชาติจึงจะพน้
❖ ลทั ธอิ เหตุกทฏิ ❖ฐิ ลทั ธิอกิริยทฎิ ฐิ ปูรณกสั สปมเกั ปข็นลเจิโค้าลศทั าธลิ
ทุกข์
❖ ลัทธิอเหตุกทฏิ ฐิ รา่ งกายเกิดจาก4ธาตุรวมกัน เม่อื ตายแล้วดบั สนิ้

❖ ลัทธนิ ัตถิกทฏิ ฐ❖ิ ลทั ธินตั ถกิ ทิฏฐิ อชิตเกสกมั พล ไม่มกี ารเกดิ อกี จึงไมย่ อมรบั กฎแหง่ กรรม
ร่างกายเกดิ จาก7ธาตรุ วมกนั จึงไมย่ อมรบั อนัตตา
❖ ลัทธอิ มราวิกเขปทฏิ ฐิ
หรือความไม่มีตวั ตน
❖ ลัทธอิ มราวิกเข❖❖ปทฏิ ลลฐัททั ิธธัตจิ ตถยุกิ าทมฏิ สฐังิแวลระอุจเฉทปทกิฏุธฐกิ ัจจายนะ
ไมย่ อมรบั หรอื ยนื ยนั ความเหน็ อะไรทง้ั สน้ิ
❖ ลัทธตั ถิกทฏิ ฐแิ ละอจุ เฉท สญั ชยั เวลฏั ฐบุตร
ทิฏฐิ ปฏบิ ัติอย่างเขม้ งวด เวน้ จากการทาบาป กาจดั
บาปด้วยตบะ ผปู้ ฏบิ ตั ิได้ จะถอื ว่าหมดกิเลส
❖ ลัทธิจตยุ ามสังวร นิครนถ์นาฏบตุ ร ปจั จุบนั เป็น หน่งึ ในคาสอนของศาสนาเชน ท่ียงั คง

มผี ้นู บั ถืออย่ใู นประเทศอนิ เดยี

ลทั ธติ ่างๆทแี่ พร่หลายในชมพทู วีปทงั้ ก่อนและสมยั พุทธกาล สามารถแยกออกเป็น 2 ฝ่าย คือ

❖ ฝ่ายอตั ตกิลมถานโุ ยค ❖ ฝา่ ยกามสขุ ัลลกิ านโุ ยค

เ ป็ น ลั ท ธิ ที่ เ น้ น ก า ร เ ป็ น ลั ท ธิ ท่ี ส อ น ใ ห้
ประพฤติปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ประพฤติตนหมกหมุ่นมัวเมาอญุ่
บาเพ็ญเพียรโดยการสร้างความ ในกามสุข โดยถือว่ากามสุขเป็น
ลาบากให้ตนเอง เช่น เป็นชี เคร่ือง หลุดพ้น จัดเป็นพวก
เปลือย ทรมาณตนตามแบบโยคี “หยอ่ นเกนิ ไป”
จัดเปน็ พวก “ตงึ เกินไป”

พระพุทธเจ้าจึงพบว่าการปฏิบัติในลักษณะสุดโต่งทั้งสองฝ่ายนั้นไม่สามารถช่วยให้หลุด
พ้นจากทุกข์ได้ จึงทรบพบว่าการปฏิบัติตามทางสายกลาง หือ มัชณิมาปฏิปทา เท่านั้นท่ีจะแก้ไข
ปญั หาในสงั คมได้ไม่ว่าจะอยู่ในสถานะใดกต็ าม

พ้นื ฐานทางการศึกษาและทางสังคม

ในสมัยน้ีพราหมณ์มีอิทธิพลมาก ถือว่าพวกตนเป็นวรรณะสูงสุดจึงมีการพัฒนาคาสอนต่างๆ
เช่น การกาหนดใหค้ นในวรรณะศทู รไมม่ ีสทิ ธิจะฟังจะกล่าวความในพระเวทที่เป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์ กาหนด
วา่ พวกจณั ฑาลหรอื พวกวรรณะไม่มสี ทิ ธิได้รับการศึกษา ผู้ฝ่าฝืนจะได้รับบทลงโทษอยา่ งรุนแรง คือผ่าร่าง
ออกเปน็ 2 ซกี

เม่ือพระพุทธศาสนาถือกาเนิดขึ้นพระพุทธเจ้าได้ปฏิวัติความเชื่อส่วนใหญ่ของคนยุคนั้นคือ ความ
เชื่อถือในความย่งิ ใหญ่ของพระเจ้า (เทวนิยม) พระพุทธศาสนาจัดอยู่ในประเภท (อเทวนิยม) คือไม่นับถือพระ
เจ้า ทั้งยังเปิดโอกาสให้คนทุกชั้นวรรณะสามารถบวชได้ พระพุทธศาสนาจึงถือเป็นศูนย์รวมความเป็นอันหนึ่ง
อันเดยี วกัน ตอ่ มาพระพทุ ธศาสนาจงึ เจรญิ และแผข่ ยายไปทว่ั ชมพูทวปี

การพฒั นาศรัทธาและปญั ญา
ทางพระพทุ ธศาสนา

การพัฒนาศรทั ธา

“ศรัทธา” แปลว่า ความเช่ือ ความเชื่อท่ีประกอบไปด้วย
เหตุผล หรือเชื่อในส่ิงท่ีควรเช่ือ ความเช่ือน้ันมักจะมาคู่กับ ปสาทะ
แปลว่า ความเล่ือมใส ซึ่งชาวพุทธจะนิยมพูดกันว่า ศรัทธาปสาทะ
ซ่ึงหมายถึง การท่ีมีความเช่ือ ความเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา
นั่นเอง แต่อย่างไรก็ตามพระพุทธศาสนานอกจะให้ความสาคัญกับ
ความศรัทธาแล้วน้ัน เวลากล่าวถึงศรัทธาก็มักจะกล่าวถึงปัญญา
ควบคู่ด้วยเสมอ สรุปส้ันๆก็คือ เร่ิมต้นด้วยศรัทธา และจบท่ีปัญญา
พูดงา่ ยๆก็คือ การเชือ่ อย่างมเี หตุมีผล

ในพระสูตรชื่อ “เกสปุตติสูตร” หรือที่เรียกกันว่า “กาลามสูตร” ได้อธิบายว่าควร
เชื่ออย่างไรและไม่ควรเชื่อเพราะอะไรบ้าง กล่าวคือให้ดารงตนเป็นผู้เป็นผู้มีปัญญา มีความ
เป็นผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ไม่ควรเช่ือสิ่งใด เพียงเพราะเหตุผลส่วนตัว โดยมี 10 ประเด็นหลัก
คือ 1) อยา่ ปลงใจเชื่อเพียงเพราะ...ได้ฟังตามกนั มา

2) อยา่ ปลงใจเช่ือเพียงเพราะ...ถอื ปฏบิ ตั ิกันสบื มา
3) อยา่ ปลงใจเชื่อเพียงเพราะ...การเล่าลือกนั ตอ่ ๆมา
4) อยา่ ปลงใจเชื่อเพียงเพราะ...การอ้างองิ ตารา
5) อย่าปลงใจเชื่อเพยี งเพราะ...ยดึ ตามหลกั ตรรกะ
6) อย่าปลงใจเชื่อเพียงเพราะ...การอนุมานเอง
7) อย่าปลงใจเชอ่ื เพียงเพราะ...อาศยั การตรกึ ตรอง
8) อย่าปลงใจเชอ่ื เพยี งเพราะ...สอดคลอ้ งกับทฤษฎีตน
9) อยา่ ปลงใจเชอ่ื เพยี งเพราะ...มลี ักษณะท่ีน่าเชือ่ ถือ
10) อย่าปลงใจเชื่อเพยี งเพราะ...ผู้นนั้ เปน็ ครอู าจารยข์ องเรา

พระสูตรน้ีเตือนสติว่า ก่อนจะเชื่ออะไร เชื่อสิ่งใด
เช่ือใคร จะต้องพิจารณาอย่างรอบคอบด้วยสติปัญญาแล้วจึง
เชอ่ื ความเชื่อนั้นจึงจะไม่ก่อให้เกิดโทษ ไม่นาไปสู่ความเสื่อม
สามารถนาความสุขและคุณประโยชน์แก่ตนเองและคนอื่น
หลักศรัทธาในทางพระพทุ ธศาสนาน้ันมี 4 อย่างคือ

หลกั ศรัทธา

❖ กัมมสัทธา

คือ ความเช่ือในเร่ืองกรรม กฎแห่งกรรม เช่ือว่ากรรมมี
อยู่จริง คือ เชื่อว่าเม่ือทาอะไรโดยมีเจตนา คือจงใจทายอ่ มถือเป็น
กรรม เป็นความดีหรือความชั่วที่เกิดข้ึนในตน เป็นผลของกรรม
สืบเน่อื งต่อไป ไมม่ ีการกระทาใดวา่ งเปล่าไมม่ ผี ลของกรรม

❖ วปิ ากสทั ธา

คือ ความเช่ือเร่ืองวิบากคือผลของกรรม เช่ือว่าผลของ
กรรมมีจริง คือเช่ือว่ากรรมท่ีทาแล้วต้องมีผล และผลจะต้องมา
จากสาเหตุ ผลดเี กิดจากกรรมดี ผลชัว่ เกดิ จากกรรมช่วั

หลกั ศรทั ธา

❖ กัมมสั สกตาสัทธา
คือ เช่ือว่าคนแต่ละคนมีกรรมเป็นของตนตามลักษณะท่ี

ได้กระทาไป ทุกคนเป็นเจ้าของและจะต้องรับผิดชอบผลกรรมท่ี
เกดิ จากการกระทาของตนเอง

❖ ตถาคตโพธิสทั ธา

คือ ความเชื่อม่ันในพระพุทธเจ้าว่าเป็นผู้ได้ตรัสรู้สัจ
ธรรมจริง(ความจริงแท้) และทรงเป็นผู้ชี้ทางพ้นทุกข์ให้กับมนุษย์
ทุกคน

การพฒั นาปัญญา

“ปัญญา” แปลว่า “รู้ทั่ว” คือรอบรู้ในสิ่งต่างๆ อย่างแจ่ม
แจ้งและชัดเจนทุกแง่ทุกมุมตามที่เป็นจริง การรอบรู้หรือการรู้ส่ิง
ต่างๆ ตามท่ีเป็นจริง เป็นเป้าหมายของพระพุทธศสานา ส่งผลให้
เราตัดสินใจไดถ้ กู ต้อง ปญั ญาน้ันเปรียบเสมือนแสงสว่างที่ส่องไปใน
ทม่ี ืด

ปัญญาเป็นส่ิงที่เราสามารถปลูกฝังหรือสร้างให้มีในตนได้
โดย 3 วิธี คอื

ปัญญาเป็นส่งิ ท่เี ราสามารถปลูกฝงั หรือสร้างให้มใี นตนไดโ้ ดย 3 วิธี คอื

❖ สตุ มยปญั ญา ❖ ภาวนามยปัญญา ❖ จินตามยปัญญา

ปัญญาท่ีเกิดจากการฟัง การอ่าน ปัญญาที่เกิดจากการคิด พินิจ
การค้นคว้าจากตารา ผู้ท่ีได้ฟังมามาก อ่าน พิจารณาโดยถูกไตรตองโดยถูกวิธี เป็น
มาก ย่อมมีความรู้มาก ปัญญาประเภทนี้ หนทางก่อให้เกิดความรู้แจ่มแจ้งได้ ปัญญา
ถือว่าเป็นระดับข้ันข้อมูลในการดาเนินชีวิต ประเภทน้ีเกิดจากการนาเอาความรู้ที่ได้
ในสังคม ผู้ที่มีข้อมูลมากกว่าย่อมได้เปรียบ จากสุตมยปัญญา มาไตร่ตรองโดยจิต
สุตมยปญั ญา จัดเปน็ ปรโตโฆสะ คอื ความรู้ วิธีการน้ีเรียกว่าโยโสมนสิการ คือการ
จากภายนอก (ตา หู จมกู ลิ้น กาย) ไตร่ตรองพิจารณาอย่างรอบคอบ เกิดจาก
ปจั จยั ภายในคอื ใจ

ปัญญาที่เปน็ ผลจาการนาเอาปญั ญาทั้ง 2 ระดับข้างต้น มาวิเคราะห์และสังเคราะห์ โดยปฏิบัติตาม
หลักไตรสิกขา กล่าวคือ เปน็ ปัญญาท่ีเกดิ ขน้ึ จากขัน้ ตอนของการปฏบิ ัติ หรือผลของการลงมอื ปฏบิ ตั จิ ริง

ลกั ษณะแห่งปัญญา

ลั ก ษ ณ ะ แ ห่ ง ค ว า ม รู้ ห รื อ ปั ญ ญ า ใ น ท า ง
พระพุทธศาสนา แบ่งได้ 3 ประเภท ดงั น้ี

1. รู้จักเหตุแห่งความเสื่อม (อปายโกศล) คือ รู้จัก
มองจากผล คือความเส่ือมแลว้ สาวไปหาวา่ เหตุเกิดขึ้นจากอะไร
เช่น ความเส่ือมทรัพย์เกิดจากการเล่นการพนัน หรือการดื่ม
สรุ าจนขาดสติ

ลักษณะแห่งปัญญา

2. รู้จักเหตุแห่งความเจริญ (อายโกศล) คือรู้จัก
มองจากผลแล้วสาวไปหาสาเหตุของความเจริญ เช่น มี
สุขภาพร่างกายแข็งแรง มีทรัพย์สินเงินทอง มีสาเหตุเกิด
จากอะไร

3. รู้จักหนทางหลีกเลี่ยงจากความเส่ือมและสรรค์
สร้างความเจรญิ (อุปายโกศล) เป็นปัญญาที่เกิดข้ึนจากการรู้วิธี
ซ่ึงลักษณะน้ีเป็นเน้ือแท้ของปัญญาที่แท้ คือมิใช่เพียงแค่ จา
และเข้าใจ เทา่ นน้ั แต่ตอ้ งสามารถปฏบิ ัติได้อกี ด้วย

ทฤษฎแี ละวิธกี ารท่ีเป็นสากลใน
พระพุทธศาสนา

ทฤษฎีและวิธกี ารที่เป็นสากลในพระพทุ ธศาสนา

พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาหน่ึงที่ถูกจัดให้เป็นศาสนาสากล เพราะ
เป็นศาสนาที่มีผู้นับถือจานวนมากกระจายกันอยู่ทั่วโลก และสืบเน่ืองกันมา
ยาวนาน เป็นศาสนาทน่ี กั ปราชญท์ ว่ั โลกใหก้ ารยอมรับวา่ ไม่มีเช้ือแหง่ สงคราม
แฝงอยู่ และยึดมั่นในแนวทางแห่งสันติ โดยมีหลักท่ีเป็นสัจธรรมสากลอันเป็น
หลกั แห่งเหตุและผล ซง่ึ มชี อ่ื วา่ “อรยิ สจั 4”

อรยิ สัจ 4

อริยสัจ 4 คอื ความจริงที่นามาใช้ประโยชน์แก่ชีวิตได้ เป็นหลักธรรมที่สามารถนามาใช้เป็นวิธีการสาหรับ
แกไ้ ขปญั หาของมนษุ ย์ ซ่งึ ประกอบด้วย

1. ทุกข์ คือ ปัญหาต่างๆ ของมนุษย์ พระพุทธเจ้าทรงแสดงอริยสัจ 4 เพื่อนเป็นการสอนที่เร่ิมจาก
ปัญหา คือ การสอนให้รู้จกั ทกุ ขแ์ ละยอมรับความจริงเกย่ี วกบั ทกุ ข์ทีเ่ ปน็ อยู่

2. สมทุ ัย คือ เหตุแห่งทุกข์ หรอื สาเหตุของปญั หา ซ่ึงหากทราบแลว้ ก็จะตอ้ งหาทางกาจัดเสยี

3. นโิ รธ คอื ความดบั ทกุ ข์ หรอื ภาวะทห่ี มดปัญหา รู้ว่าสาเหตุแหง่ ปัญหานั้นเป็นสิ่งที่กาจัดหรือทาให้
หมดสิ้นไป

4. มรรค คือ รู้ทางดบั ทกุ ข์ หรอื วิธปี ฏิบตั เิ พือ่ กาจัดสาเหตุแหง่ ปญั หา

ทกุ ข์ เหมือนของหนกั สมทุ ัย เหมือนการแบกของ นิโรธ เหมอื นอุบายวิธใี นการ มรรค เหมือนการวางของหนกั
หนักไว้ วางของหนกั ลง ลงได้

พระพุทธศาสนามีข้อปฏิบัติ
ท่ีเป็นทางสายกลาง

Thank You


Click to View FlipBook Version