ต ำแหน่ง ครูอำสำสมัครฯ กศน. ไตรมำส 1 - 2 (1 ตุลำคม 2565 - 31 มีนำคม 2566) ต ำแหน่ง ครูอำสำสมัคร กศน. นำงสำวนฤดี อุปกิจ รำยงำนผลกำรด ำเนินงำน ประจ ำปี พ.ศ.๒๕๖๖ ศูนย์กำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยอ ำเภอเมืองล ำพูน ส ำนักงำนส่งเสริมกำรศึกษำนอกระบบและกำรศึกษำตำมอัธยำศัยจังหวัดล ำพูน ส ำนักงำนปลัดกระทรวงศึกษำธิกำร กระทรวงศึกษำธิกำร
คำนำ เอกสารข้อมูลแบบประเมินแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานพนักงานราชการ ตำแหน่ง ครูอาสาสมัคร การศึกษานอกโรงเรียน เล่มนี้ เป็นเอกสารประกอบผลงานที่แสดงถึงผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานสถานศึกษา ประจำปี ๒๕๖๖ ที่จะเข้ารับการประเมินแบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงานพนักงานราชการ ตำแหน่ง ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ของศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมือง ของน.ส. นฤดี อุปกิจ ตำแหน่งครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ได้สรุปผลการปฏิบัติงาน การรายงานตามเกณฑ์ ตัวชี้วัดของแบบการประเมิน ประกอบการพิจารณาให้กับคณะกรรมการผู้ประเมินทุกระดับใช้เป็นเอกสารอ้างอิง ตามเกณฑ์การประเมิน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน โดยมีนายสมชาย ฟองศักดิ์ ตำแหน่งผู้อำนวยการศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน ได้เปิดโอกาสและ ส่งเสริมสนับสนุน ให้มีข้าพเจ้ามีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง การจัดทำเอกสารฉบับนี้ ได้รับความร่วมมือจาก ข้าราชการ ครู กศน.ตำบล ครูอาสาสมัครฯ เป็นอย่างดีที่ให้ข้อมูลครบถ้วน สมบูรณ์ เกิดความสำเร็จไปด้วยตาม เป้าหมาย ข้าพเจ้าขอขอบคุณ มา ณ โอกาสนี้ ( นางสาวนฤดี อุปกิจ) ตำแหน่ง ครู อาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน สังกัด กศน.อำเภอเมืองลำพูน มีนาคม ๒๕๖๖
สารบัญ เรื่อง หน้า แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน ตำแหน่งครูอาสาสมัครฯกศน. ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป ๑ ตอนที่ ๒ ข้อมูลการประเมิน ประกอบด้วยการประเมิน ตัวชี้วัดที่ ๑ ข้อมูลสารสนเทศ ตัวชี้วัดที่ ๒ ระดับความสำเร็จของการจัดทำแผนปฏิทินการปฏิบัติงาน ตัวชี้วัดที่ ๕ ร้อยละผู้จบหลักสูตรหลักสูตรการศึกษาพื้นฐาน ตัวชี้วัดที่ ๖ ร้อยละผู้เข้าสอบปลายภาค ตัวชี้วัดที่ ๗ จำนวน กิจกรรม/โครงการส่งเสริม สนับสนุนประสานงานและติดตามผล ตัวชี้วัดที่ ๘ จำนวนงานตามนโยบายเร่งด่วน ตัวชี้วัดที่ ๙ จำนวนงานอื่น ๆ ที่ได้รับมอบหมาย ตอนที่ ๓ ภาคผนวก
แบบประเมินผลสัมฤทธิ์ของงาน รอบการประเมิน ครั้งที่ 1 (1 ต.ค. 256๕ - 31 มี.ค. 256๖) ครั้งที่ 2 (1 เม.ย. 256๖ - 30 ก.ย. 256๖) ชื่อผู้รับการประเมิน นางสาวนฤดี อุปกิจ ตำแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนอำเภอเมืองลำพูน ตัวชี้วัด/ผลงานจริง เกณฑ์การให้คะแนน น้ำหนัก ผลการ รวม 1 2 3 4 5 ร้อยละ ดำเนิน คะแนน (ก) งาน (ค) = (ข) (ก*ข) 1. จำนวนข้อมูลสารสนเทศ มีข้อมูล มีข้อมูล มีข้อมูล มีข้อมูล มีข้อมูล 10 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4 รายการ 5 รายการ 2. ระดับความสำเร็จของการจัดทำ 1 2 3 4 5 10 แผนปฏิบัติการ/ปฏิทินการปฏิบัติงาน 3. ร้อยละของผู้จบหลักสูตรการ ต่ำกว่า ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 10** ศึกษาขั้นพื้นฐาน ร้อยละ50 50-59 60-69 70-79 80 ขึ้นไป 4. ร้อยละของผู้เข้าสอบ ต่ำกว่า ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ ร้อยละ 10** ปลายภาค** ร้อยละ50 50-59 60-69 70-79 80 ขึ้นไป ๗. จำนวนกิจกรรม/โครงการในการส่งเสริม สนับสนุน ประสานงานและติดตาม 1 กิจกรรม โครงการ 2 กิจกรร/ โครงการ 3 กิจกรรม/ โครงการ 4 กิจกรรม/ โครงการ มากกว่า 10 ๘. จำนวนงานตามนโยบายเร่งด่วน หรืองานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย 1-3 งาน/ โครงการ และมีผล สำเร็จตาม ค่า เป้าหมาย 4-5 งาน/ โครงการ และมีผล สำเร็จตาม ค่า เป้าหมาย 6-7 งาน/ โครงการ และมีผล สำเร็จตาม ค่า เป้าหมาย 8-9 งาน/ โครงการ และมีผล สำเร็จตาม ค่า เป้าหมาย 10 งาน/ โครงการ และมีผล สำเร็จตาม ค่า เป้าหมาย 30 ๒๐ ๙.จำนวนงานอืนๆ ที่ได้รับมอบหมาย ๑ งาน/ โครงการ และ บรรลุผล ๒ งาน/ โครงการ และ บรรลุผล ๓ งาน/ โครงการ และ บรรลุผล ๔ งาน/ โครงการ และ บรรลุผล ๕ งาน/ โครงการ และ บรรลุผล ๑๐ ค่าน้ำหนัก 80 คะแนน โดยนำผลรวมคะแนน หารด้วย 5 (80)
หมายเหตุ1. ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ที่ได้รับผิดชอบงานส่งเสริมการรู้หนังสือ ให้ประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3 และตัวชี้วัดที่ 4 2. ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน ที่รับผิดชอบงานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ให้ประเมินตามตัวชี้วัดที่ 3** และตัวชี้วัดที่ 4 ** 3. ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียนพื้นที่ใดที่ปฏิบัติงานเช่นเดียวกับ ครู กศน.ตำบล ให้ใช้แบบประเมินเดียวกับ ครู กศน.ตำบล
ตอนที่ ๑ ประวัติส่วนตัว ชื่อ นางสาวนฤดี ชื่อสกุล อุปกิจ สัญชาติ ไทย เชื้อชาติ ไทย ศาสนา พุทธ เกิดวันที่.....๑๑..... เดือน ตุลาคม พ.ศ.๒๕๑๓ ที่ภูมิลำเนาบ้านเลขที่ ...๘๘.... หมู่ ...๒..... ซอย .........-.........ถนน.............ตำบล.ต้นธง .อำเภอ ...เมือง..... จังหวัด ........ลำพูน......รหัสไปรษณีย์ .......๕๑๐๐๐............................. โทรศัพท์ .......๐๘๗ – ๑๗๓๖๗๕๒......................... เลขประจำตัวประชาชน ..๕ – ๕๔๐๖ – ๐๐๐๘ – ๗๒ -๑........... ชื่อบิดา ...........นายณรงค์ อุปกิจ อาชีพ .................ข้าราชการบำนาญ............ ชื่อมารดา ....นางอรจิต อุปกิจ.............. อาชีพ ............-................... การศึกษา...ปริญญาตรี.......สถาบัน วิทยาลัยครูอุตรดิตถ์... เริ่มรับราชการเมื่อวันที่ ..๑ กรกฎาคม ๒๕๔๑. เกษียณอายุราชการปี พ.ศ.........กันยายน ๒๕๗๔...... รับราชการตำแหน่งครั้งแรก ครูอาสาสมัครฯ กศน อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน กรม ....การศึกษานอกโรงเรียน........... กระทรวงศึกษาธิการ ปัจจุบัน ปฏิบัติหน้าที่ ครู อาสาสมัครฯกศน. ความรู้ความสามารถพิเศษ .....วิทยากรกระบวนการจัดกิจกรรมวิชาการ นันทนาการ พิธีกรงานต่าง ๆ ประวัติการศึกษา ที่ ระดับ การศึกษา ชื่อสถานศึกษา พ.ศ.ที่จบ การศึกษา วุฒิที่ได้รับ ระบุวิชาเอก หมายเหตุ/ หลักฐานอ้างอิง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ - ประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนต้น - ปวช. - ปวส. - ปริญญาตรี - ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู โรงเรียนเมธัง โรงเรียน โรงเรียนนารีรัตน์ วิทยาลัยอาชีวแพร่ วิทยาลัยอาชีวพิษณุโลก วิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏ มจร. ๒๕๒๕ ๒๕๒๗ ๒๕๒๘ ๒๕๓๑ ๒๕๓๗ ๒๕๕๒ - บัญชี บริหารธุรกิจ บริหารธุรกิจ พัฒนาชุมชน วิชาครู วุฒิบัตร - วุฒิบัตร วุฒิบัตร วุฒิบัตร วุฒิบัตร
ประวัติการรับราชการ (ตำแหน่งและอัตราเงินเดือน) ปี ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน เลื่อนค่าตอบแทน ๑ ก.ค ๒๕๔๑ ครูอาสาสมัคร กศน.ป่าซาง เลขที่ตำแหน่ง ๑๕๓๔ ๖,๓๖๐.- - ๑ ก.ค. ๒๕๔๘ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๘,๗๒๐.- ๑,๐๐๐.- ๑ ก.ค.๒๕๕๙ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๙,๑๖๐.- ๑,๐๐๐.- ๑ ก.ค.๒๕๕๐ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๐,๑๑๐.- ๓๙๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๕๑ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๐,๔๒๐.- ๖๕๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๕๒ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๑,๖๑๐.- ๙๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๕๓ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๖,๓๗๐.- ๙๕๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๕๕ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๗,๐๒๗๐.- ๙๕๐.- ๑ ต.ค ๒๕๕๕ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๑๒.๑๙๐.- ๑,๑๖๐.- ๑ ต.ค ๒๕๕๗ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๐,๗๑๐.- ๘๓๐.- ๑ ต.ค ๒๕๕๘ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๒,๓๗๐.- ๘๓๐.- ๑ ต.ค ๒๕๕๘ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๒,๓๗๐.- ๑,๒๐๐.- ๑ ต.ค ๒๕๕๙ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๓,๕๗๐.- ๑,๐๖๐.- ๑ ต.ค ๒๕๖๐ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๔,๔๕๐.- ๘๘๐.- ๑ ต.ค ๒๕๖๑ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๕,๕๑๐.- ๑,๐๖๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๖๒ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๖,๕๔๐.- ๑,๐๐๐.- ๑ ต.ค. ๒๕๖๓ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๗,๖๘๐.- ๑,๑๔๐.- ๑ ต.ค ๒๕๖๔ ครูอาสาสมัคร กศน.อ.เมืองลำพูน เลขที่ตำแหน่ง ๓๒๔๒ ๒๘,๘๒๐.- ประวัติการได้รับพระราชทานเครื่องราชอิสริยาภรณ์ วัน เดือน ปี ที่ได้รับพระราชทานฯ ชั้น เอกสารอ้างอิง/ราชกิจจานุเบกษา หมายเหตุ เลขที่ ตอนที่ หน้า ลงวันที่ หลักฐานอ้างอิง ๒๕๕๓ บ.ช ๑๐๒๒ ๑๖ ข ๑๒๘ ๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ ๒๕๕๘ บ.ม ๑๓๔ ๑๔ ข ๑๐๘ ๓๐ พฤษภาคม ๒๕๕๙
ประวัติการศึกษา ประวัติการศึกษา ที่ ระดับ การศึกษา ชื่อสถานศึกษา พ.ศ.ที่จบ การศึกษา วุฒิที่ได้รับ ระบุวิชาเอก หมายเหตุ/ หลักฐานอ้างอิง ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ - ประถมศึกษา - มัธยมศึกษาตอนต้น - ปวช. - ปวส. - ปริญญาตรี - ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู โรงเรียนเมธัง โรงเรียน โรงเรียนนารีรัตน์ วิทยาลัยอาชีวแพร่ วิทยาลัยอาชีวพิษณุโลก วิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏ มจร. ๒๕๒๕ ๒๕๒๗ ๒๕๒๘ ๒๕๓๑ ๒๕๓๗ ๒๕๕๒ - บัญชี บริหารธุรกิจ บริหารธุรกิจ พัฒนาชุมชน วิชาครู วุฒิบัตร - วุฒิบัตร วุฒิบัตร วุฒิบัตร วุฒิบัตร
ผลงานที่ภาคภูมิใจ วัน เดือน ปี รางวัลที่ได้รับ หน่วยงาน ที่มอบรางวัล ๑๒ กุมภาพันธ์๒๕๕๔ รางวัลผู้บังคับบัญชาลูกเสือด้านการการจัดกระบวนการ เรียนรู้ดีเด่น ระดับประเทศ ปี ๒๕๕๓ จากสำนักงานลูกเสือ แห่งชาติ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ ได้รับคัดเลือกครูอาสาดีเด่นระดับ โชนหล่ายดอย เข้ารับการ คัดเลือกระดับภาคเหนือ ปี๒๕๕๗ สำนักงาน กศน.จังหวัด ลำพูน ๔ มีนาคม ๒๕๕๔ ได้รับมอบเกรียติบัตรการปฏิบัติงานการศึกษานอกระบบและ การศึกษานอกอัธยาศัยต่อเนื่อง ด้วยความวิริยะอุตสาหะ จึง ได้มอบเข็มเงิน เพื่อเชิดชูเกียรติ สำนักงาน กศน. ๒ พฤษภาคม๒๕๕๙ ได้รับวุฒิบัตร และ เหรียญพระราชทานจากสมเด็จพระ กนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี การบริจาคโลหิต ครั้งที่ ๓๖ วันที่ ณ โรงแรม โลตัสปางสวนแก้ว สภากาชาดไทย ๑๐ สิงหาคม ๒๕๖๑ ได้รับเหรียญการฝึกอบรมหลักสูตรพนักงานเจ้าหน้าที่ส่งเสริม ความประพฤตินักเรียนและนักศึกษาตามพระราชบัญญัติ คุ้มครองเด็ก ผู้ว่าราชการจังหวัดลำพูน ๘ กันยายน ๒๕๕๙ ได้รับรางวัลที่ ๑ ครูอาสาสมัครดีเด่น ประจำปี ๒๕๕๙ สนง.กศน.จังหวัดลำพูน ๗พฤศจิกายน ๒๕๕๙ ได้มอบหนังสือสำคัญการแต่งตั้ง ให้มีคุณวุฒิผู้ช่วยหัวหน้าให้ การฝึกอบรมผู้กำกับลูกเสือ (A.L.T.) วูดแบดจ์๓ท่อน สำนักงานลูกเสือแห่งชาติ กระทรวงศึกษาธิการ ๑๕ พฤษภาคม๒๕๖๐ ได้รับคัดเลือกผลการปฏิบัติทีดี (Best practice) ระดับ จังหวัด ด้านการจัดกิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ ประจำปี ๒๕๖๐ สำนักงาน กศน.จังหวัด ลำพูน ๑๖ มกราคม ๒๕๖๒ ได้รับคัดเลือกผลการปฏิบัติงานดีเด่นด้านมนุษย์สัมพันธ์ จิต อาสา ประจำปี ๒๕๖๒ ในเนื่องวันครู สำนักงาน กศน.จังหวัด ลำพูน ๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๖๕ ได้รับเกียรติบัตร จากสำนักงาน กศน.ดำเนินงานองค์กร นักศึกษา ประจำปี ๒๕๖๔ ระดับประเทศ ยอดเยี่ยม สำนักงาน กศน. ๑๖ มกราคม ๒๕๖๖ ได้รับรางวัลที่ ๑ ครูอาสาสมัครดีเด่น ประจำปี ๒๕๖๕ สนง.กศน.จังหวัดลำพูน ๘ กันยายน ๒๕๖๖ ได้รับเกียรติบัตร ครูอาสาสมัครฯผลงานดีเด่นด้านการ ส่งเสริมกิจกรรมนักศึกษา และองค์กรนักศึกษา ประจำปี ๒๕๖๕ สนง.กศน.จังหวัดลำพูน
ตอนที่ ๒ รายละเอียดการประเมินตามตัวชี้วัด พนักงานราชการ ตำแหน่ง ครูอาสาสมัครการศึกษานอกโรงเรียน
ตัวชี้วัดที่ 1 : จำนวนข้อมูลสารสนเทศ หน่วยวัด : จำนวน น้ำหนัก : 10 คำอธิบาย : จำนวนข้อมูลสารสนเทศที่ได้จากการสำรวจข้อมูลของพื้นที่สำหรับนำไปใช้ในการจัดทำแผนปฏิบัติการ /แผนงาน และจัดกิจกรรมต่างๆ เกณฑ์การให้คะแนน ที่ รายละเอียด หลักฐานเอกสาร 1. ข้อมูลทั่วไปของตำบลที่รับผิดชอบ เช่น ข้อมูลประชากร จำแนกตามเพศ/พื้นที่ การปกครอง ฯลฯ รูปเล่มเอกสาร ที่ ศธ.๐๒๑๐.๖๘๐๑/๐๒๘๘ ลงวัน 2. ข้อมูลของผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ ที ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๕ 3. ข้อมูลภูมิปัญญา ภาคีเครือข่าย 4. ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ 5. ข้อมูลความต้องการเรียนรู้ของคนในชุมชน
ตัวชี้วัดที่ ๑ จำนวนวนข้อมูลสารสนเทศ ๑.ข้อมูลทั่วไปของตำบลที่รับผิดชอบ เช่นข้อมูลประชากรใน พื้นที่/พื้นที่การปกครองฯลฯ ๒.ข้อมูลของผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ ๓.ข้อมูลภูมิปัญญา ภาคี เครือข่าย ๔.ข้อมูลแหล่งเรียนรู้ ๕.ข้อมูลความต้องการเรียนรู้ของคนในชุมชน
๑.๑ สภาพทางกายของชุมชน ๑.๒ ประวัติความเป็นมา กศน.ตำบลหนองช้างคืน ศูนย์การเรียนชุมชนฯตำบลหนองช้างคืน ตั้งขึ้นโดยการประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๔๑ แต่เดิมตั้งอยู่ที่บริเวณหน้าวัดน้ำโค้ง โดยใช้ศาลาของวัดน้ำโค้ง ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูนปีงบประมาณ ๒๕๕๒ ได้ทำการย้ายศูนย์การเรียนชุมชนฯตำบลหนองช้างคืน ไปอยู่ที่องค์การบริหาร ส่วนตำบลหนองช้างคืน(เทศบาลตำบลหนองช้างคืนหลังเก่า) ต่อมาได้ขออนุญาตใช้อาคารเรียนของโรงเรียนวัดบ้าน หัวฝายจัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชนแหล่งเรียนรู้ราคาถูก และได้รับการประกาศตั้งเป็น กศน.ตำบลหนองช้างคืน:แหล่ง เรียนรู้ราคาถูกและได้ทำการเปิดป้ายอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่ ๘ สิงหาคม ๒๕๕๓ ในปีงบประมาณ ๒๕๕๔ ได้รับ งบประมาณสร้างอาคาร กศน.ตำบล ซึ่งสร้างในบริเวณพื้นที่ของเทศบาลตำบลหนองช้างคืนปัจจุบัน หมู่ที่ ๒ ตำบล หนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ทั้งนี้ได้รับความอนุเคราะห์อย่างดียิ่ง จากทุกภาคส่วน ผู้นำท้องถิ่น นายก เทศบาลตำบลหนองช้างคืน สมาชิกเทศบาลตำบลหนองช้างคืน ตลอดถึงพ่อค้าประชาชนตำบลหนองช้างคืน ดังนั้น จึงได้ทำการย้ายศูนย์การเรียนชุมชนฯตำบลหนองช้างคืน มาอยู่ที่อาคาร กศน.ตำบลหนองช้างคืน จนถึงปัจจุบัน เพื่อใช้เป็น เป็นศูนย์กลางการจัดและประสานงานการศึกษาตลอดชีวิต ให้กับประชาชนในชุมชน ใน เขตตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เป็นแหล่งเรียนรู้ราคาถูก กศน.ตำบลหนองช้างคืน ทั้งนี้โดยมี นายกฤษณพงษ์ มูลหงษ์ ตำแหน่ง ครูกศน.ตำบล เป็นผู้รับผิดชอบกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตาม อัธยาศัย ในเขตตำบลหนองช้างคืนจำนวน ๖ หมู่บ้าน ๑.๔ ที่ตั้ง ศูนย์การศึกษาตำบลหนองช้างคืน หมู่ที่ ๒ ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๕๑๑๕๐ โทรศัพท์๐๘๑-๐๒๔๐๕๓๔ E-mail : [email protected] ๑.๕ อาณาเขตติดต่อ - ทิศเหนือ ติดต่อกับ ตำบลท่ากว้าง , ตำบลหนองแฝก อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ - ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ตำบลประตูป่า , ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน - ทิศใต้ ติดต่อกับ ตำบลท่ากว้าง อำเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม่ - ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ตำบลเหมืองง่า , ตำบลอุโมงค์ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ๑.๖ การแบ่งเขตการปกครอง ตำบลหนองช้างคืน ตั้งอยู่ทางทิศเหนือของอำเภอเมือง อยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองอยู่ห่างจาก อำเภอ เมืองลำพูน ระยะทาง ๑๓ กิโลเมตร พื้นที่ทั้งหมด ๕.๗๖ ตารางกิโลเมตร หรือ ๓,๕๗๖ ไร่
แบ่งเขตการปกครองออกเป็น ๖ หมู่บ้าน ดังนี้ หมู่ที่ ๑ บ้านหัวฝาย มีพื้นที่ ๐.๗๑๖๘ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๔๔๘ ไร่ หมู่ที่ ๒ บ้านตลาดหนองช้างคืน มีพื้นที่ ๐.๖๑๔๔ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๓๘๔ ไร่ หมู่ที่ ๓ บ้านหัวฝาย มีพื้นที่ ๑.๑๘๒๔ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๗๓๙ ไร่ หมู่ที่ ๔ บ้านหนองช้างคืน มีพื้นที่ ๒.๑๕๐๐ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๑,๓๔๔ ไร่ หมู่ที่ ๕ บ้านน้ำโค้ง มีพื้นที่ ๐.๖๖๔๐ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๔๑๕ ไร่ หมู่ที่ ๖ บ้านริมเหมือง มีพื้นที่ ๐.๔๓๒๔ ตารางกิโลเมตร คิดเป็น ๒๔๖ ไร่ ๑.๗ ลักษณะภูมิประเทศ ตำบลหนองช้างคืน มีสภาพภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม ลำเหมืองชลประทาน พื้นดินเป็นดินปน ทรายเหมาะสำหรับการเพาะปลูกพืช ผัก และผลไม้ทุกชนิด โดยเฉพาะ ลำไย ลักษณะภูมิอากาศ มีลักษณะภูมิอากาศเป็นแบบมรสุม มี ๓ ฤดู คือ - ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนกรกฎาคม - ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน ๑.๘ ด้านศิลปวัฒนธรรมและประเพณี ตำบลหนองช้างคืนมีศิลปวัฒนธรรมประเพณี ดังนี้ จ้อย ซอ พิธีสืบชะตาในประเพณีต่าง ๆ งาน ประเพณีฟ้อนผี งานประเพณีผู้สูงอายุ ประเพณีตานก๋วยสลาก ประเพณีสรงน้ำพระธาตุ ประเพณีบวชต้นไม้ งานประเพณีวันสำคัญต่าง ๆ ๑.๙ สถานที่ท่องเที่ยวของตำบลหนองช้างคืน ตำบลหนองช้างคืนมีสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ ๑) วัด/สำนักสงฆ์ จำนวน ๔ แห่ง ดังนี้ - วัดหัวฝาย ตั้งอยู่หมู่ที่ ๓ - วัดหนองช้างคืน ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ - วัดศรีทรายมูล ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ - วัดน้ำโค้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๕ ๒) สวนลำไยต้นหมื่น ตั้งอยู่หมู่ที่ ๑ ๓) แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงผึ้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ ๔ ๔) แหล่งเรียนรู้ธนาคารสายพันธุ์ลำไยลำพูน ตั้งอยู่เทศบาลตำบลหนองช้างคืน ๑.๑๐ ประชากร ตำบลหนองช้างคืน ปัจจุบันมีประชากรรวมทั้งสิ้น ๓,๓๕๔ คน แยกเป็น ชาย ๑,๕๗๘ คน หญิง ๑,๗๗๖ คน ความหนาแน่นของประชากรโดยเฉลี่ยเท่ากับ ๖๕๗ คน ต่อพื้นที่ ๑ ตารางกิโลเมตร
ตารางแสดงรายละเอียดประชากรและครัวเรือนของตำบลหนองช้างคืน หมู่ที่ ชื่อบ้าน จำนวนประชากร จำนวน ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ครัวเรือน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ บ้านหัวฝาย บ้านหนองช้างคืน บ้านหัวฝาย – ศรีทรายมูล บ้านหนองช้างคืน บ้านน้ำโค้ง บ้านริมเหมือง ๒๖๔ ๑๗๒ ๒๗๒ ๓๙๓ ๒๗๑ ๒๐๖ ๓๑๕ ๒๐๕ ๒๙๙ ๔๒๕ ๓๐๖ ๒๒๖ ๕๗๙ ๓๗๗ ๕๗๑ ๘๑๘ ๕๗๗ ๔๓๒ ๑๙๗ ๑๔๐ ๑๘๖ ๒๙๒ ๑๙๓ ๑๓๙ รวมทั้งตำบล ๑,๕๗๘ ๑,๗๗๖ ๓,๓๕๔ ๑,๑๔๗
1. ศึกษาอยู่ในระบบ 1.1 ชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน 70 คน 2.2 ชั้น ป.1 - ม.3 จำนวน 535 คน 1.3 ชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 156 คน 1.4 อนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 139 คน 1.5 ปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 152 คน 1.6 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 21 คน 2. จบการศึกษาแล้ว และไม่ได้เรียนต่อ 2.1 จบภาคบังคับ จำนวน 1,708 คน 2.2 จบชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 405 คน 2.3 จบอนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 241 คน 2.4 จบปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 436 คน 2.5 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 59 คน 3. คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับหรือ เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.1) คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.2) คนอายุ 6-14 ปีที่เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (ออกกลางคัน) จำนวน 0 คน 4. คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 1 คน 4.1) คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ จำนวน 596 คน 5. คนพิการได้รับการศึกษา 5.1 คนพิการได้รับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 31 คน 5.2 คนพิการได้รับการฝึกอาชีพ จำนวน 1 คน 6. ผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ จำนวน 3 คน(พิการ) คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 3 คน คนอายุ 60 ขึ้น ปี ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่าง ง่ายไม่ได้ จำนวน 20 คน ข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ สำรวจปี ๒๕๖๕
แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ๑.๑ กศน.ตำบล ชื่อ กศน. ตำบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ กศน.ตำบลหนองช้างคืน อาคาร กศน.ตำบล ม.๒ ต.หนองช้างคืน อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน นายทินกร ตังแกละ ๑.๒ ภูมิปัญญาท้องถิ่น กศน.ตำบลหนองช้างคืน ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่/ผู้ดูแลรับผิดชอบ การทำบันไดจากไม้ไผ่ สามารถจำหน่ายได้ตลอดปีจาก ประสบการณ์ ๔๕-๕๐ปี หมู่ที่ ๒ ต.หนองช้างคืน นายอุ่นเรือน ไชยวงค์ เพาะชำพันธ์ไม้ สามารถจำหน่ายได้ตลอดปีจาก ประสบการณ์ ๔๕-๕๐ปี หมู่ที่ ๓ ต.หนองช้างคืน นายเมืองดี อุ่นแก้ว ปุ๋ยหมัก สามารถจำหน่ายได้ตลอดปีจาก ประสบการณ์ ๔๕-๕๐ปี หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน นายสมยศ ทรายตัน การทำสมุนไพร สามารถจำหน่ายได้ตลอดปีจาก ประสบการณ์ ๔๕ หมู่ที่ ๑ ต.หนองช้างคืน นายประพันธ์ ปินไชย ดนตรีพื้นเมือง สามารถจำหน่ายได้ตลอดปีจาก ประสบการณ์ ๔๕ หมู่ที่ ๑ ต.หนองช้างคืน นายอ้าย วันกันทา การเกษตร การเกษตรผสมผสาน โรงเรียนบ้านหนองช้างคืน นายเกษตร ศรีวรรณา การเลี้ยงผึ้ง การเลี้ยงผึ้ง/การแปรรูปผลิตภัณฑ์ จากผึ้ง หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน นางรัตนากร อินทะจักร นายศรีหมื่น วิบูลย์มา การเพาะเห็ดฟาง การเพาะเห็ดฟาง/การตอนกิ่งลำไย หมู่ที่ ๖ ต.หนองช้างคืน นายเฉลิม บุญมาธรรม ด้านศิลปะ/ศิลปะการฟ้อนรำ ด้านศิลปะ/ศิลปะการฟ้อนรำ หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน นางลำพินธ์ เมืองสุวรรณ ด้านศิลปะ/ศิลปะการฟ้อนรำ ด้านศิลปะ/ศิลปะการฟ้อนรำ หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน นางอนงค์ ใจสันติ ขนมจีน การทำขนมจีน หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน นางเสาร์คำ มาพิงค์
แหล่งเรียนรู้อื่น กศน.ตำบลหนองช้างคืน ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง บ้านลำไยต้นหมื่น เกษตรเชิงวิชาการ หมู่ที่ ๒ต.หนองช้างคืน ศูนย์แหล่งเรียนรู้ชุมชนตำบล หนองช้างคืน เกษตรกรรมเชิงวิชาการ หมู่ที่ ๒ ต.หนองช้างคืน แหล่งเรียนรู้กลุ่มวิสาหกิจชุมชน แปรรูปผลิตภัณฑ์จากผึ้ง วิสาหกิจอุตสาหกรรมขนาดชุมชน ต. หนองช้างคืน นายหมื่น วิบูลย์มา ร้านเครื่องเทศตรามะเขือพวง. ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SMEs) เกษตรกรรม/วิสาหกิจอุตสาหกรรม ขนาดชุมชน ๑๔๕หมู่ ๑บ้านหัวฝาย ต.หนองช้างคืน อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน ๕๑๑๕๐ กลุ่มแปรรูปลำไยอบแห้ง วิสาหกิจอุตสาหกรรมขนาดชุมชน/ เกษตรกรรม ๑๓๐หัวฝาย หมู่ ๑ ต.หนองช้างคืน อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน ๕๑๑๕๐ กลุ่มผู้ผลิตศูนย์แปรรูปผลผลิต ลำไยตำบล หนองช้างคืน วิสาหกิจอุตสาหกรรมขนาดชุมชน ๑๒๐หมู่ ๓ บ้านหัวฝาย ต.หนองช้างคืน อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน ๕๑๐๐๐ ศูนย์ไอซีทีเทศบาล สื่ออินเตอร์เน็ตเพื่อการศึกษาค้นคว้า โรงเรียนบ้านหนองช้างคืน หมู่ที่ ๒ ต. หนองช้างคืน ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ประจำตำบล ศูนย์เรียนรู้ กศน.ตำบลหนองช้างคืน ศูนย์ดิจิตัลชุมชน ประจำตำบล ศูนย์เรียนรู้ กศน.ตำบลหนองช้างคืน ภาคีเครือข่าย กศน.ตำบลหนองช้างคืน ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ สภาเด็กและเยาวชนตำบลหนองช้างคืน หมู่ที่ ๑ ต.หนองช้างคืน สหกรณ์ประจำตำบล หมู่ที่ ๓ ต.หนองช้างคืน วัดประจำตำบลหนองช้างคืนทุกหมู่บ้าน ตำบลหนองช้างคืน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลหนองช้างคืน หมู่ที่ ๒ ต.หนองช้างคืน โรงเรียนบ้านหนองช้างคืน หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน เทศบาลตำบลหนองช้างคืน หมู่ที่ ๔ ต.หนองช้างคืน
ข้อมูลความต้องการเรียนรู้ของคนในชุมชน ในการจัดกิจกรรมไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 256๖ ตำบลหนองช้างคืน ที่ โครงการ/กิจกรรม วัน/เดือน/ปี 1 โครงการฝึกอาชีพชุมชนระยะสั้น หลักสูตรการทำไส้อั่วสมุนไพร 5 ชั่วโมง 10 มกราคม 2566 ที่ทำการแม่บ้าน หมู่ 2 บ้านหนองช้างคืน ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 2 โครงการฝึกอาชีพชุมชนระยะสั้น หลักสูตรการทำไส้กรอกอีสาน 5 ชั่วโมง 11 มกราคม 2566 ที่ทำการแม่บ้าน หมู่ 2 บ้านหนองช้างคืน ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 3 โครงการฝึกอาชีพชุมชนระยะสั้น หลักสูตรการทำแหนมหมู 3 ชั่วโมง 20 มกราคม 2566 ลานเอนกประสงค์ หมู่ 3 บ้านหัวฝาย ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 4 โครงการจัดกระบวนการเรียนรู้ตาม ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง (การทำไข่เค็ม 3 สี) จำนวน 3 ชั่วโมง 28 มกราคม 2566 ศาลาเอนกประสงค์ หมู่ 6 บ้านริมเหมือง ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพ 3๑ ชั่วโมงขึ้นไป ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ โครงการจักสานตระกร้าจากเส้นพลาสติก กุมภาพันธ์ 2566 กศน.ตำบลหนองช้างคืน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ โครงการอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กุมภาพันธ์ 2566 รพสต.ตำบลหนองช้างคืน
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรใกล้ตัว กุมภาพันธ์ 2566 ร่วมกับต.เหมืองง่า กิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงงการปลูกพืชผักสวนครัวตามแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียง มกราคม 2566 กศน.ตำบลหนองช้างคืน กิจกรรมการจักการศึกษาพื้นฐาน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการสอนเสริม โครงการติว n-net มกราคม 2566 กศน.ตำบลหนองช้างคืน กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 2 3 4 5 6 ห้องสมุดชาวตลาด รถโมบาย ส่งเสริมการอ่าน หมุนเวียนสื่อ ทำพวงกุญแจ คิวอาร์โค้ดสื่อส่งเสริมการอ่าน ปีงบประมาณ 2566 ในพื้นที่ตำบลหนองช้างคืน
ข้อมูลทั่วไปตำบลเหมืองง่า ชื่อ กศน.ตำบลเหมืองง่า ที่ตั้ง เลขที่ ๑๐๐/๒ หมู่ที่ ๒ บ้านเหมืองง่า ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน 51000 สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลำพูน ประวัติความเป็นมา กศน.ตำบลเหมืองง่า ตั้งอยู่ที่เลขที่ ๑๐๐/๒ หมู่ที่ ๒ บ้านเหมืองง่า ตำบลเหมืองง่า โดยได้รับการ อนุเคราะห์ให้ใช้อาคารหลังเก่าของเทศบาลตำบลเหมืองง่า เพื่อใช้เป็นสถานที่ตั้งกศน.ตำบลเหมืองง่า ซึ่งได้รับการ ประกาศตั้งเป็นกศน.ตำบลเหมืองง่า:แหล่งเรียนรู้ราคาถูกและได้ทำการเปิดป้ายอย่างเป็นทางการเมื่อวันที่๘ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๕๓ กศน.ตำบลเหมืองง่า ตั้งขึ้นโดยประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อใช้เป็นแหล่งเรียนรู้และเป็น ศูนย์กลางการจัดกิจกรรมกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย ในเขตตำบลเหมืองง่าอำเภอ เมือง จังหวัดลำพูนโดยมีนางสาวธวัลพร ศรีมันตะ ตำแหน่ง ครู กศน.ตำบลเหมืองง่า เป็นผู้รับผิดชอบ สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ปัจจุบัน กศน.ตำบล เหมืองง่า ได้ใช้อาคารดังกล่าวเป็นศูนย์กลางในการจัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย โดยใช้เป็นสถานที่พบกลุ่มนักศึกษาการศึกษาขั้นพื้นฐานและเป็นศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนฯ ตำบลเหมืองง่าและจัด กิจกรรมอื่นๆของชุมชนและหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ ในเขตตำบลเหมืองง่า จำนวน ๑๐ หมู่บ้าน สภาพทั่วไป เทศบาลตำบลเหมืองง่า ได้รับการยกฐานะจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลขึ้นเป็นเทศบาล ตาม ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องจัดตั้งองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นเทศบาลตำบล ลงวันที่ ๙ กรกฎาคม ๒๕๕๐ ซึ่งมีผลบังคับใช้ตามประกาศกระทรวงมหาดไทยตั้งแต่วันที่ ๒๔ สิงหาคม ๒๕๕๐ ที่ตั้ง เทศบาลตำบลเหมืองง่า อยู่ในเขตตำบลเหมืองง่า ตั้งอยู่เลขที่ ๘๘๘ หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า อำเภอ เมือง จังหวัดลำพูน ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองลำพูน ประมาณ ๕ กิโลเมตร มีอาณาเขตติดต่อกับ ตำบลใกล้เคียง ดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อกับ ต.อุโมงค์ และ ต.หนองช้างคืน อ.เมืองลำพูนจ.ลำพูน ทิศใต้ ติดต่อกับ ต.ต้นธง และ ต.ในเมือง อ.เมืองลำพูนจ.ลำพูน ทิศตะวันออก ติดต่อกับ ต.มะเขือแจ้ และ ต.บ้านกลาง อ.เมืองลำพูนจ.ลำพูน ทิศตะวันตก ติดต่อกับ ต.ประตูป่า และ ต.ริมปิงอ.เมืองลำพูนจ.ลำพูน เนื้อที่เนื้อที่ทั้งหมดของเทศบาลตำบลเหมืองง่า จำนวน ๒๐.๗๒ ตารางกิโลเมตร หรือจำนวน ๑๓,๖๓๖ ไร่ เนื้อที่ทางการเกษตรกรรมประมาณ ๙,๕๔๑ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๖๙.๖๙ ภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่สำคัญ ได้แก่แม่น้ำกวงและ ลำเหมืองสาธารณะ คือ ลำเหมืองปิงห่าง ลำเหมืองกลาง ลำเหมืองไม้แดง เป็นต้น
ภูมิอากาศสภาพภูมิอากาศของตำบลเหมืองง่า จะมี ๓ ฤดู คือ - ฤดูหนาว เริ่มตั้งแต่เดือนตุลาคม - กุมภาพันธ์ อุณหภูมิเฉลี่ย ๑๘ °c - ฤดูร้อน เริ่มตั้งแต่เดือนมีนาคม - พฤษภาคม อุณหภูมิเฉลี่ย ๓๘ °c - ฤดูฝน เริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายน - กันยายน อุณหภูมิเฉลี่ย ๒๘ °c จำนวนหมู่บ้านเทศบาลตำบลเหมืองง่า มีพื้นที่รับผิดชอบทั้งหมด ๑๐ หมู่บ้าน มี 4,414 ครัวเรือน (ข้อมูลจาก จปฐ.ปี 2560 ) ได้แก่ ๑. บ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ ๑ จำนวนครัวเรือน 569 ครัวเรือน ๒. บ้านเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ จำนวนครัวเรือน 390 ครัวเรือน ๓. บ้านศรีบุญยืน หมู่ที่ ๓ จำนวนครัวเรือน 466 ครัวเรือน ๔. บ้านวังทอง หมู่ที่ ๔ จำนวนครัวเรือน 320 ครัวเรือน ๕. บ้านป่าขาม หมู่ที่ ๕ จำนวนครัวเรือน 460 ครัวเรือน ๖. บ้านทุ่ง หมู่ที่ ๖ จำนวนครัวเรือน 901 ครัวเรือน ๗. บ้านป่าแขม หมู่ที่ ๗ จำนวนครัวเรือน 122 ครัวเรือน ๘. บ้านหลุก หมู่ที่ ๘ จำนวนครัวเรือน 415 ครัวเรือน ๙. บ้านหัวยาง หมู่ที่ ๙ จำนวนครัวเรือน 324 ครัวเรือน ๑๐. บ้านศรีสองเมือง หมู่ที่ ๑๐ จำนวนครัวเรือน 447 ครัวเรือน ตาราง ๑ แสดงเนื้อที่แยกรายหมู่บ้าน หมู่ที่ ชื่อหมู่บ้าน เนื้อที่(ไร่) เนื้อที่ตารางกิโลเมตร เนื้อที่การเกษตร(ไร่) ๑ บ้านต้นผึ้ง ๒,๑๑๘ ๓.๓๙ ๑,๖๔๘ ๒ บ้านเหมืองง่า ๑,๑๑๕ ๑.๗๘ ๘๑๓ ๓ บ้านศรีบุญยืน ๘๗๐ ๑.๓๙ ๓๘๕ ๔ บ้านวังทอง ๑,๐๕๐ ๑.๖๘ ๕๑๕ ๕ บ้านป่าขาม ๑,๙๕๐ ๓.๑๒ ๑,๕๒๐ ๖ บ้านทุ่ง ๑,๖๐๐ ๒.๕๖ ๑,๑๙๕ ๗ บ้านป่าแขม ๑,๑๓๐ ๑.๘๑ ๗๔๒ ๘ บ้านหลุก ๑,๖๐๐ ๒.๕๖ ๑,๓๑๕ ๙ บ้านหัวยาง ๑,๑๓๕ ๑.๘๒ ๘๓๐ ๑๐ บ้านศรีสองเมือง ๑,๐๖๘ ๑.๗๑ ๕๗๘ รวม ๑๓,๖๓๖ ๒๐.๗๒ ๙,๕๔๑
ตารางที่ ๒ แสดงจำนวนประชากรตำบลเหมืองง่าและจำนวนครัวเรือน (ปี 2560) หมู่ ชื่อหมู่บ้าน ประชากรรวม(คน) แยกรายหมู่บ้าน จำนวนครัวเรือน (ครัวเรือน) ๑ บ้านต้นผึ้ง 1,773 569 ๒ บ้านเหมืองง่า 1,178 390 ๓ บ้านศรีบุญยืน 1,445 466 ๔ บ้านวังทอง 930 320 ๕ บ้านป่าขาม 1,301 460 ๖ บ้านทุ่ง 1,616 901 ๗ บ้านป่าแขม 366 122 ๘ บ้านหลุก 1,188 415 ๙ บ้านหัวยาง 654 324 ๑๐ บ้านศรีสองเมือง 1,307 447 รวม 12,361 4,414 ข้อมูลจาก สำนักงานพัฒนาชุมชนอำเภอเมืองลำพูน มีประชากรแฝงประมาณ ๑๐,๐๐๐ คน เป็นผู้มาทำงานตามโรงงานและรับจ้างต่าง ๆ ที่เกิดจากนิคม อุตสาหกรรมภาคเหนือ และได้เช่าห้องแบ่งให้เช่าในเขตเทศบาลตำบลเหมืองง่า เทศบาลตำบลเหมืองง่า ได้ประกาศจัดตั้งชุมชน จำนวน ๑๔ ชุมชน คือ ๑. ชุมชนบ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๒. ชุมชนป่าไม้แดง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๓. ชุมชนบ้านเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๔. ชุมชนบ้านศรีบุญยืน หมู่ที่ ๓ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๕. ชุมชนบ้านวังทอง หมู่ที่ ๔ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๖. ชุมชนบ้านป่าขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๗. ชุมชนอารามใหม่ หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๘. ชุมชนบ้านทุ่ง หมู่ที่ ๖ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๙. ชุมชนบ้านเอื้ออาทร หมู่ที่ ๖ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๑๐. ชุมชนป่าแขมพัฒนา หมู่ที่ ๗ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๑๑. ชุมชนบ้านหลุก หมู่ที่ ๘ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๑๒. ชุมชนบ้านห้างนาจุม หมู่ที่ ๘ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๑๓. ชุมชนบ้านหัวยาง หมู่ที่ ๙ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ๑๔. ชุมชนบ้านศรีสองเมือง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ผู้สูงอายุในตำบลเหมือง่า - ชาย จำนวน 1,082 คน - หญิง จำนวน ๑,399 คน
ผู้ด้อยโอกาสที่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้หรือมีฐานะยากจน - คนชรา จำนวน ๑๖๒ คน - คนพิการ จำนวน 327 คน - ผู้ป่วยเอดส์และผู้ที่ได้รับผลกระทบจากเอดส์ จำนวน ๔๐ คน สภาพเศรษฐกิจ ๑. อาชีพของประชากรในพื้นที่ของ เทศบาลตำบลเหมืองง่า มีอาชีพต่าง ๆ ดังนี้ - อาชีพด้านการเกษตรกรรม (สวนลำไย, ปลูกผัก, ปลูกข้าว, เลี้ยงสัตว์, เพาะเห็ด ฯลฯ) ๒. อาชีพค้าขาย ๓. อาชีพรับจ้างในโรงงานนิคมอุตสาหกรรม ๔. อาชีพประกอบกิจการบริการต่าง ๆ เช่น เสริมสวย, ตัดผม, นวดแผนโบราณ, ร้านเช่าซีดี, คาราโอเกะ, ร้านอาหาร , เช่าหนังสือ, ซัก อบ รีด, จ้างเหมาทำอาหาร, นักดนตรี, นักร้อง เป็นต้น ๕. อาชีพนักธุรกิจ ๖. อาชีพข้าราชการและรัฐวิสาหกิจ ๗. รับจ้างทั่วไป หน่วยธุรกิจในเขตเทศบาลตำบลเหมืองง่า ๑. ปั๊มน้ำมันขนาดใหญ่ จำนวน ๓ แห่ง ๒. ร้านขายรถยนต์, จักรยานยนต์ จำนวน ๓ แห่ง ๓. ตลาด จำนวน ๓ แห่ง ๔. โรงแรม จำนวน ๒ แห่ง ๕. โรงงานอุตสาหกรรม จำนวน ๕ แห่ง ๖. ห้องเช่า จำนวน ๓๔๖ แห่ง ๗. ร้านค้า จำนวน ๔๘๘ แห่ง ๘. สถานีเครือข่ายโทรศัพท์ จำนวน ๓ แห่ง สภาพทางสังคม ๑. การศึกษา - โรงเรียนการประถมศึกษา จำนวน 4 แห่งได้แก่ ๑) โรงเรียนบ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า ๒) โรงเรียนวัดเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า ๓) โรงเรียนบ้านศรีบุญยืน-วังทอง หมู่ที่ ๓ ตำบลเหมืองง่า ๔) โรงเรียนบ้านป่าขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า - โรงเรียนพุทธศาสนาวันอาทิตย์ จำนวน ๓ แห่งได้แก่ ๑) วัดป่าไม้แดง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า ๒) วัดเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า ๓) วัดบ้านหลุก หมู่ที่ ๓ ตำบลเหมืองง่า - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กที่เทศบาลรับผิดชอบ จำนวน ๑ แห่งได้แก่ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบล เหมืองง่า
๒. สถาบันและองค์กรทางศาสนา - วัด จำนวน ๘แห่งได้แก่ ๑) วัดต้นผึ้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า ๒) วัดป่าไม้แดง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า ๓) วัดเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า ๔) วัดศรีบุญยืน หมู่ที่ ๓ ตำบลเหมืองง่า ๕) วัดวังทอง หมู่ที่ ๔ ตำบลเหมืองง่า ๖) วัดป่าขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า ๗) วัดบ้านหลุก หมู่ที่ ๘ ตำบลเหมืองง่า ๘) วัดศรีสองเมือง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลเหมืองง่า - สำนักสงฆ์ จำนวน ๒ แห่งได้แก่ ๑) สำนักอารามใหม่ป่าขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า ๒) สำนักปฏิบัติธรรมสวนลำไย หมู่ที่ ๑๐ ตำบลเหมืองง่า - โบสถ์คริสต์ จำนวน - แห่ง ๓. การสาธารณสุข - สถานีอนามัย จำนวน ๑ แห่งได้แก่ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลเหมืองง่า - ศูนย์สาธารณสุขมูลฐาน จำนวน ๑๐ แห่งได้แก่ ๑) บ้านต้นผึ้ง หมู่ที่ ๑ ตำบลเหมืองง่า ๒) บ้านเหมืองง่า หมู่ที่ ๒ ตำบลเหมืองง่า ๓) บ้านศรีบุญยืนหมู่ที่ ๓ ตำบลเหมืองง่า ๔) บ้านวังทอง หมู่ที่ ๔ ตำบลเหมืองง่า ๕) บ้านป่าขาม หมู่ที่ ๕ ตำบลเหมืองง่า ๖) บ้านทุ่ง หมู่ที่ ๖ ตำบลเหมืองง่า ๗) บ้านป่าแขม หมู่ที่ ๗ ตำบลเหมืองง่า ๘) บ้านหลุก หมู่ที่ ๘ ตำบลเหมืองง่า ๙) บ้านหัวยาง หมู่ที่ ๙ ตำบลเหมืองง่า ๑๐) บ้านศรีสองเมือง หมู่ที่ ๑๐ ตำบลเหมืองง่า ๔. หน่วยราชการในเขตเทศบาลตำบล - สำนักงานเทศบาลตำบลเหมืองง่า กระทรวงมหาดไทย - สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดลำพูน กระทรวงสาธารณสุข - สถานีอนามัยตำบลเหมืองง่า กระทรวงสาธารณสุข - โรงเรียนประถมศึกษา หมู่ที่ ๑ , ๒ , ๓ , ๕ กระทรวงศึกษาธิกา การบริการพื้นฐาน ๑. คมนาคม - ถนนเชื่อมตำบลและอำเภอ จำนวน ๖ สาย ๑) ถนนสายเลียบลำเหมืองจ่าแส้ ตำบลเหมืองง่า - ตำบลหนองช้างคืน ๒) ถนนสายบ้านศรีบุญยืน - เขตนิคมอุตสาหกรรม
๓) ถนนสายตรงข้ามโรงเรียนจักรคำคณาทร ลำพูน - ตำบลประตูป่า ๔) ถนนสายเลียบลำเหมืองกลาง ๕) ถนนสายบ้านต้นผึ้ง ตำบลเหมืองง่า - บ้านชัยสถาน ตำบลอุโมงค์ ๖) ถนนสายบ้านหลุก- ตำบลประตูป่า - ถนน คสล.,คสม.,ลาดยาง ในพื้นที่หมู่ที่ ๑-๑๐ ตำบลเหมืองง่า ประมาณจำนวน ๑๐๐สาย - ถนนลูกรัง, ดินเข้าพื้นที่การเกษตร ในพื้นที่หมู่ที่ ๑-๑๐ ตำบลเหมืองง่า จำนวน ๕๐ สาย ๒. การโทรคมนาคม - ตู้โทรศัพท์สาธารณะ ในพื้นที่หมู่ที่ ๑ - ๑๐ ตำบลเหมืองง่า จำนวน ๓๐ แห่ง ๓. การไฟฟ้า - ตำบลเหมืองง่ามีไฟฟ้าใช้ครบทุกหมู่บ้าน ๔. แหล่งน้ำธรรมชาติ - แหล่งน้ำ (แม่น้ำกวง) จำนวน ๑ สาย - ลำเหมือง (ปิงห่าง , เหมืองกลาง , จ่าแส้ , เหมืองไม้แดง ) ๕. แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น - ระบบประปาหมู่บ้าน จำนวน ๑๒ แห่ง ๑) หมู่ที่ ๑, ๒, ๓, ๕, ๖, ๗, ๙ และหมู่ที่ ๑๐ ตำบลเหมืองง่า หมู่บ้านละ ๑ แห่ง ๒) หมู่ที่ ๔ และหมู่ที่ ๘ ตำบลเหมืองง่า หมู่บ้านละ ๒ แห่ง
1. ศึกษาอยู่ในระบบ 1.1 ชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน 70 คน 2.2 ชั้น ป.1 - ม.3 จำนวน 400 คน 1.3 ชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 136 คน 1.4 อนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 120 คน 1.5 ปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 180 คน 1.6 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 21 คน 2. จบการศึกษาแล้ว และไม่ได้เรียนต่อ 2.1 จบภาคบังคับ จำนวน 1,708 คน 2.2 จบชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 405 คน 2.3 จบอนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 241 คน 2.4 จบปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 436 คน 2.5 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 59 คน 3. คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับหรือ เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.1) คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.2) คนอายุ 6-14 ปีที่เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (ออกกลางคัน) จำนวน 0 คน 4. คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 1 คน 4.1) คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ จำนวน 596 คน 5. คนพิการได้รับการศึกษา 5.1 คนพิการได้รับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 31 คน 5.2 คนพิการได้รับการฝึกอาชีพ จำนวน 1 คน 6. ผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ จำนวน ไม่มี คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 11 คน คนอายุ 60 ขึ้น ปี ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่าง ง่ายไม่ได้ จำนวน 22 คน ข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ สำรวจปี ๒๕๖๕
แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย แหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อ กศน. ตำบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ กศน.ตำบลเหมืองง่า เทศบาลตำบลเหมืองง่า (เก่า) อ. เมืองลำพูน จ.ลำพูน นางสาวธวัลพร ศรีมันตะ ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่/ผู้ดูแลรับผิดชอบ ศิลปะประดิษฐ์ ศิลปะประดิษฐ์(การจัดดอกไม้สดแห้ง) หมู่ที่ ๖ บ้านทุ่ง ต.เหมืองง่า นายจักรกฤษณ์ มุขแก้ว จักสาน จักสานผลิตภัณฑ์จากไม้ไผ่ หมู่ที่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า นายเนียม จิตรำพึง วัฒนธรรม เครื่องสืบชะตา หมู่ที่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า นางบัวนำ กันสิทธิ์ อาหาร แปรรูปผลิตภัณฑ์ลำไย หมู่ที่ ๑ บ้านต้นผึ้ง ต.อุโมงค์ นางยุพิน อนุใจ เกษตร ปุ๋ยหมักชีวภาพ หมู่ที่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า นายมงคล ทองกลาง ศิลปะประดิษฐ์ การตัดตุง หมู่ที่ ๒ บ้านเหมืองง่า ต.เหมืองง่า แม่อุ๊ยสุข ธนาขันธรรม วัฒนธรรม เครื่องสืบชาตา หมู่ที่ ๓ บ้านศรีบุญยืน ต.เหมืองง่า นางบุญมี โปธาวิชัย วัฒนธรรม จ๊อย/ค่าวร่ำ หมู่ที่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า นางนวล กาวินา อาหาร น้ำพริกแกง หมู่ที่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า นางจันทร์หอม จะนะดัง ศิลปะประดิษฐ์ การเย็บที่นอน หมูที่ ๕ บ้านป่าขาม ต.เหมืองง่า นางสุธรรม ใจสวน จักสาน หมู่ที่ ๔ บ้านวังทอง ต.เหมืองง่า นายดวงจันทร์ ขาหน่อทอง
ชื่อ กศน. ตำบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ แหล่งเรียนรู้ ภาคีเครือข่าย ชื่อ ภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง/ที่อยู่ เทศบาลตำบลเหมืองง่า หมู่ ๒ บ้านเหมืองง่า ต.เหมืองง่า โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพประจำตำบลเหมืองง่า หมู่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ตำบลเหมืองง่า หมู่ ๒ บ้านเหมืองง่า ต.เหมืองง่า โรงเรียนบ้านศรีบุญยืน – วังทอง หมู่ 3 บ้านศรีบุญยืน อ.เมืองลำพูน โรงเรียนบ้านต้นผึ้ง หมู่ ๑ บ้านเหมืองง่า ต.เหมืองง่า วัดบ้านหลุก หมู่ ๘ บ้านเหมืองง่า ต.เหมืองง่า นางศรีพรรณ ปิ่นคำพิชัย สนง.เกษตรอำเภอเมืองลำพูน นางทรงพร สินธุปัน สนง.เกษตรอำเภอเมืองลำพูน ชื่อแหล่งเรียนรู้อื่น ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง ศูนย์ O – TOP วิสาหกิจ ชุมชนบ้านต้นผึ้ง พานิชยกรรม ๔๐ หมู่ ๑ บ้านต้นผึ้งต.เหมือง ง่า กลุ่มปุ๋ยหมักอินทรีชีวภาพ ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า กลุ่มจักสานและสิ่งประดิษฐ์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า หอธรรมวัดบ้านหลุก ศิลปวัฒธรรม หมู่ ๘ บ้านหลุก ต.เหมืองง่า กลุ่มเย็บที่นอน ภูมิปัญญาท้องถิ่น หมู่ ๕ ป่าขาม ต.เหมืองง่า หอศิลปะบ้านบัวแก้ว ศิลปะการวาดภาพ หมู่ ๑๐ บ้านศรีสองเมือง ต.เหมืองง่า วังมัฉฉา แหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติ หมู่ ๓ บ้านศรีบุญยืน
ข้อมูลความต้องการการเรียนรู้ของคนในชุมชน ในการจัดกิจกรรมการศึกษาไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 256๖ ตำบลเหมืองง่า กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 2. โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น การทำไม้กวาด ทางมะพร้าว (จำนวน 6 ชั่วโมง) โครงการแต่งแต้มสีสัน ให้ผลิตภัณฑ์มีชีวิต (หลักสูตร การปักลวดลาย จำนวน 15 ชั่วโมง) - กลุ่มที่ 1 7 – 8 กุมภาพันธ์ 2566 - กลุ่มที่ 2 9 – 10 กุมภาพันธ์ 2566 - กลุ่มที่ 1 16 -18 มกราคม 2566 - กลุ่มที่ 2 19 – 21 มกราคม 2566 ศูนย์อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 6 บ้านทุ่ง ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพ 3๑ ชั่วโมงขึ้นไป ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการฝึกอาชีพหลักสูตรการตัดเย็บชุดพื้นเมือง จำนวน 45 ชั่วโมง 5 – 13 มกราคม 2566 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1. โครงการ อบรมเสริมสร้างสุขอนามัย ใส่ใจสุขภาพของ ผู้สูงอายุ (กิจกรรมการทำยาอเนกประสงค์) 1 กุมภาพันธ์ 2566 ห้องประชุมเทศบาลตำบล เหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ โครงการอบรมประชาธิปไตย กุมภาพันธ์ 2566 โรงเรียนผู้สูงอายุบ้านเหมืองง่า กิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการปลูกผักแบ่งปัน นำความรู้ สู่ชุมชน 25 ธันวาคม 2565 ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพู กิจกรรมการจักการศึกษาพื้นฐาน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการสอนเสริมรายวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 23 – 26 มกราคม 2566 กศน.ตำบลเหมืองง่า กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปี งบประมาณ 2566 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 พื้นที่อำเภอเมืองลำพูน
ข้อมูลทั่วไปตำบลประตูป่า ๑. กศน.ตำบล ประตูป่า ๒. สถานที่ตั้ง อบต.หลังเก่า บ้านท่ากว้าง หมู่ที่ ๕ ตำบล ประตูป่า อำเภอ/เขต..เมือง .จังหวัด..ลำพูน. โทรศัพท์...๐๘๖-๑๙๗๕๓๖๑..โทรสาร...................................................... E-mail…[email protected] ๓. ลักษณะอาคาร เอกเทศ อาศัยแต่มีสัดส่วนชัดเจน(ระบุ)............................. อาศัยแต่ไม่มีสัดส่วนชัดเจน(ระบุ).................................................... ๔. พื้นที่ ใช้สอย ของ กศน.ตำบล มีขนาด กว้าง........๑๕.......เมตร ยาว..............๑๕................เมตร ๕. หัวหน้า กศน.ตำบล ชื่อ นางสาวจุฑาทิพย์ วิจิตร์ วุฒิการศึกษา.ปริญญาโท โทรศัพท์...๐๘๖-๑๙๗๕๓๖๑……โทรสาร............ E-mail.. [email protected] อาณาเขตที่ตั้ง กศน.ตำบล ที่ตั้ง ตำบลประตูป่าตั้งอยู่ทางทิศตะวันตกของที่ว่าการอำเภอเมืองลำพูน ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองลำพูน ประมาณ ๑๒ กิโลเมตร ห่างจากศาลากลางจังหวัดลำพูน ประมาณ ๙ กิโลเมตร เนื้อที่ โดยประมาณทั้งตำบล ๗,๖๖๗ ไร่หรือ๑๒.๒๖ ตารางกิโลเมตรมีอาณาเขตดังนี้ ทิศเหนือ ติดต่อหมู่ที่ ๖ ตำบลหนองช้างคืน อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ทิศใต้ ติดต่อหมู่ที่ ๑,๒,๓ เทศบาลตำบลริมปิง อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ทิศตะวันออก ติดต่อหมู่ที่ ๖,๙ ตำบลประตูป่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน ทิศตะวันตก ติดต่อหมู่ที่ ๔ ตำบลท่ากว้าง และหมู่ที่ ๖,๗,๘ ตำบลสันทราย อำเภอสารภี ภูมิประเทศ พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ดอนและราบลุ่ม ลักษณะดินเป็นดินร่วนปนทรายพื้นที่เกษตรกรรมเป็นพื้นที่ที่อยู่ ใน เขตชลประทานแม่ปิงเก่าเหมาะสมต่อการเกษตร จำนวนหมู่บ้าน ตำบลประตูป่ามีหมู่บ้านทั้งหมด ๙ หมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบลประตูป่า หมู่ที่ ๑ บ้านวังมุย หมู่ที่ ๒ บ้านล้องเดื่อ หมู่ที่ ๓ บ้านล่ามช้าง หมู่ที่ ๔ บ้านหนองมูล(ประตูป่า) หมู่ที่ ๖ บ้านท่ากว้าง หมู่ที่ ๖ บ้านศรีสุพรรณ หมู่ที่ ๗ บ้านร่องเชี่ยว หมู่ที่ ๘ บ้านสันหัววัว หมู่ที่ ๙ บ้านต้นแงะ
ด้านสังคม ประชากรทั้งสิ้น ๕,๕๓๒ คน แยกเป็นชาย ๒,๖๔๔ คน แยกเป็นหญิง ๒,๗๗๘ คน ความหนาแน่นของประชากร โดยเฉลี่ยเท่ากับ ๔๓๔ คน ต่อพื้นที่ ๑ ตารางกิโลเมตร ตารางแสดงรายละเอียดประชากรและครัวเรือนของเทศบาลตำบลประตูป่า หมู่ที่ ชื่อ-หมู่บ้าน จำนวนประชากร จำนวน ชาย (คน) หญิง (คน) รวม (คน) ครัวเรือน ๑ บ้านวังมุย ๒๘๐ ๓๓๕ ๖๑๕ ๒๕๖ ๒ บ้านล้องเดื่อ ๓๐๖ ๓๗๑ ๖๗๗ ๒๘๔ ๓ บ้านล่ามช้าง ๒๓๒ ๓๐๖ ๕๓๘ ๑๙๖ ๔ บ้านหนองมูล(ประตูป่า) ๔๕๑ ๔๘๙ ๙๔๐ ๓๙๐ ๕ บ้านท่ากว้าง ๑๙๗ ๒๐๘ ๔๐๕ ๑๖๒ ๖ บ้านศรีสุพรรณ ๒๕๖ ๓๒๐ ๕๗๖ ๒๑๖ ๗ บ้านร่องเชี่ยว ๑๒๐ ๑๔๖ ๒๖๖ ๑๐๗ ๘ บ้านสันหัววัง ๑๘๙ ๒๓๕ ๔๒๔ ๑๖๘ ๙ บ้านต้นแงะ ๕๓๙ ๕๖๑ ๑,๐๙๑ ๔๒๖ รวมทั้งตำบล ๒,๕๖๑ ๒,๙๗๑ ๕,๕๓๒ ๒,๒๐๕ ประวัติความเป็นมาตั้งแต่ก่อตั้ง กศน.ตำบล ถึงปัจจุบัน ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน ได้ส่งเสริมให้มีการจัดตั้ง ศูนย์การ เรียนชุมชนขึ้น ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. ๒๕๔๔ เดิม ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลประตูป่า ได้อาศัยอยู่ที่อ่านหนังสือพิมพ์ ประจำหมู่ที่ ๕ บ้านท่ากว้าง ปัจจุบันได้ย้ายศูนย์การเรียนชุมชนมาอยู่ที่อาคารเทศบาลตำบล (หลังเดิม) หมู่ที่ ๕ บ้านท่ากว้าง ติดกับสถานีอนามัยตำบลประตูป่า ศูนย์การเรียนชุมชนได้รับการสนับสนุนจากเทศบาลตำบลประตูป่า ให้ใช้สถานที่ในการจัดกิจกรรมการ เรียนการสอนและเป็นแหล่งเรียนรู้ของตำบล ในปี พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๔๕ มี นางสาวนันทวดี ศรีโยยอด เป็นครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๔๕ - ๒๕๕๐ มี นางสาวปิยพร เขียวธง เป็นครูประจำศูนย์การเรียนชุมชน ในปี พ.ศ. ๒๕๕๑ – ๒๕๕๘ มี นายไฉน ศรีบุญเรือง เป็นครู กศน. ตำบลประตูป่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๘ – ๒๕๕๙ มี นางสุวรินทร์ นันทมิตร เป็นครู กศน.ตำบลประตูป่า ในปี พ.ศ. ๒๕๕๙ – ปัจจุบัน มี นางสาวจุฑาทิพย์ วิจิตร์ เป็นครู กศน.ตำบลประตูป่า (คนปัจจุบัน)
สภาพการปกครอง เทศบาลตำบลประตูป่า มีจำนวนหมู่บ้าน ตำบลประตูป่ามีหมู่บ้านทั้งหมด ๙ หมู่บ้านในเขตเทศบาลตำบล ประตูป่า หมู่ที่ ๑ บ้านวังมุย หมู่ที่ ๒ บ้านล้องเดื่อ หมู่ที่ ๓ บ้านล่ามช้าง หมู่ที่ ๔ บ้านหนองมูล(ประตูป่า) หมู่ที่ ๕ บ้านท่ากว้าง หมู่ที่ ๖ บ้านศรีสุพรรณ หมู่ที่ ๗ บ้านร่องเชี่ยว หมู่ที่ ๘ บ้านสันหัววัว หมู่ที่ ๙ บ้านต้นแงะ ประชากรทั้งสิ้น ๕,๕๓๒ คน แยกเป็นชาย ๒,๕๖๑ คน แยกเป็นหญิง ๒,๙๗๑ คนความหนาแน่น ของประชากร โดยเฉลี่ยเท่ากับ ๔๔๓ คน ต่อพื้นที่ ๑ ตารางกิโลเมตร ด้านเศรษฐกิจ อาชีพ ประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลประตูป่าประกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลัก ส่วนใหญ่จะสวนลำไย,การ ปลูกพืชผักตามฤดูกาล, และทำการเลี้ยงสัตว์เช่น เป็ด,ไก่,ปลาและสุกร หน่วยธุรกิจในเขต เทศบาลตำบลประตู ป่า โกดังอบลำไย /โกดังเก็บกระเทียม/ โกดังเกษตร การศึกษา ๑. มีสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาจังหวัดลำพูน มี๓ แห่ง ดังนี้ ลำดับที่ สถานศึกษาในสังกัด จำนวนนักเรียน(คน) ๑. โรงเรียนวัดประตูป่า ๕๔ คน ๒. โรงเรียนวัดล่ามช้าง ๓๗ คน ๓. โรงเรียนบ้านศรีสุพรรณ ๙๒ คน รวม ๑๘๓ คน ๒. มีศูนย์ พัฒนาเด็กเล็กจำนวน ๑ แห่ง ชื่อศูนย์พัฒนาเด็กเล็กเทศบาลตำบลประตูป่า ๓. กศน.ตำบล ๑ แห่ง การสาธารณสุข โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลประตูป่า จำนวน ๑ แห่ง ดังนี้ ๑. โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชนตำบลประตูป่า
สถาบันทางพระพุทธศาสนา มี ๗ แห่งดังนี้ ๑. วัดชัยชนะมงคล บ้านวังมุย ๒. วัดชัยชนะ ๓. วัดบ้านล้องเดื่อ ๔. วัดบ้านล่ามช้าง ๕. วัดบ้านประตูป่า ๖. วัดบ้านศรีสุพรรณ ๗. วัดบ้านต้นแงะ สถานที่สำคัญ สถานที่ที่สำคัญของตำบลประตูป่า มีดังนี้ ๑.พิพิธภัณฑ์ครูบาเจ้าชุ่ม โพธิโก วัดชนะมงคล(บ้านวังมุย)หมู่ที่ ๑ ต.ประตูป่า อ.เมือง จ.ลำพูน, ๒.ประวัติวัดล่ามช้างวัดล่ามช้าง เป็นวัดเก่าแก่จากศิลาจารึกวัดต้นผึ้ง อยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ หริ ภุญไชย มีอายุประมาณ ๖๐๐ กว่าปี โดยมีสิ่งก่อสร้างเช่น กุฏิสงฆ์ หอพระไตรปิฎก อายุประมาณเกือบ ๑๐๐ ปี และอุโบสถ อายุประมาณ ๕๐ กว่าปีศิลาจารึกวัดต้นผึ้งเลขทะเบียน ๓๔๕/๑๘ (ลพ.๘) ขนาด กว้าง ๔๐ ซ.ม. สูง ๗๘ ซ.ม. หนา ๑๓ ซ.ม.อายุสมัย พ.ศ.๑๙๘๗ อักษรไทยล้านนา ๓.วัดประตูป่า ตั้งอยู่เลขที่ ๙๕ หมู่ที่ ๔ ตำบลประตูป่า อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน สังกัดคณะสงฆ์ มหานิกาย วัดประตูป่า สร้างราวปีพุทธศักราช ๒๓๐๑ ตามประวัติกล่าวว่าเมื่อประมาณปีพุทธศักราช ๒๓๐๐ กองทัพพม่าได้ยกกองทัพมาตีเมืองเหนือในเขตดินแดนล้านนา เจ้านายฝ่ายในเวียงนครหริภุญไชยหรือเวียงหละปูน (ปัจจุบันคือจังหวัดลำพูน) พระสงฆ์องค์เจ้าและชาวบ้าน ในเมืองหริภุญไชย ได้อพยพหลบภัยสงคราม มาอาศัยอยู่ แถบบริเวณปากลำเหมืองไม้แดง ตั้งอยู่เหนือเวียงหละปูน ทั้งไพล่พลข้าราชการฝ่ายในเมืองหริภุญไชยได้ร่วมใจกัน สร้างวัดขึ้น บริเวณที่วัดร้าง ในบริเวณเหนือเวียงหริภุญไชย ๔. ศูนย์เศรษฐกิจพอเพียงชุมชนแห่งการเรียนรู้บ้านวังมุยหมู่ที่ ๑ ต.ประตูป่า อ.เมืองลำพูน จ.ลำพูน สถานที่ท่องเที่ยวของตำบลประตูป่า ตำบลประตูป่ามีสถานที่ท่องเที่ยว ดังนี้ (๑) พระธาตุเกษแก้วจุฬามณี (บ่อด้ง) ในเขตบ้านประตูป่า หมู่ที่ ๒ (๒) แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติสนสามใบ ในเขตบ้านสามขา หมู่ที่ ๖ (๓) สวนสมุนไพร ในเขตบ้านสามขา หมู่ที่ ๖ (๔) อนุเสาวรีย์พ่อเจ้าติ๊บปาละ บ้านสามขา หมู่ที่ ๖
1. ศึกษาอยู่ในระบบ 1.1 ชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน 70 คน 2.2 ชั้น ป.1 - ม.3 จำนวน 593 คน 1.3 ชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 112 คน 1.4 อนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 21 คน 1.5 ปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 88 คน 1.6 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 140 คน 2. จบการศึกษาแล้ว และไม่ได้เรียนต่อ 2.1 จบภาคบังคับ จำนวน 988 คน 2.2 จบชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 399 คน 2.3 จบอนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 124 คน 2.4 จบปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 412 คน 2.5 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 59 คน 3. คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับหรือ เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.1) คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 32 คน 3.2) คนอายุ 6-14 ปีที่เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (ออกกลางคัน) จำนวน 0 คน 4. คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 1 คน 4.1) คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ จำนวน 411 คน 5. คนพิการได้รับการศึกษา 5.1 คนพิการได้รับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 12 คน 5.2 คนพิการได้รับการฝึกอาชีพ จำนวน 3 คน 6. ผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ จำนวน ๘ (สูงอายุ) พิการ คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 7 คน คนอายุ 60 ขึ้น ปี ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่าง ง่ายไม่ได้ จำนวน 18 คน
แหล่งเรียนรู้และภาคีเครือข่าย ๑ แหล่งเรียนรู้ ชื่อ กศน.ตำบล ที่ตั้ง ผู้รับผิดชอบ กศน.ตำบลประตูป่า อาคาร อบต.ตำบลประตูป่า(หลังเก่า) หมู่ ๕ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน นางสาวจุฑาทิพย์ วิจิตร์ ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจการ เย็บผ้า บ้านหมู่ ตำบลประตูป่า อำเภอเมือง ลำพูน นายลำดวล ภิญโญกิจ ๒ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่ -ศูนย์เรียนรู้การตัดเย็บ เสื้อผ้าทอมือ - ศูนย์แหล่งเรียนรู้ด้านการเย็บ เสื้อผ้าทอมือ หมู่ที่ ๑ ตำบลประตูป่า ภูมิปัญญาด้านวัฒนธรรม ภาษายอง - ภูมิปัญญาด้านวัฒนธรรมและ ภาษายอง บ้านประตูป่า หมู่ที่ ๔ ตำบลประตูป่า ยาสมุนไพรพื้นบ้าน - การทำยาสมุนไพรใช้ใน ชีวิตประจำวัน บ้านสันหัววัว หมู่ที่ ๘ ตำบลประตูป่า ๓ ภาคีเครือข่าย ชื่อภาคีเครือข่าย ที่ตั้ง / ที่อยู่ เทศบาลตำบลประตูป่า บ้านต้นแงะ หมู่ ๙ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล บ้านท่ากว้าง หมู่ ๕ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน โรงเรียนบ้านศรีสุพรรณ บ้านศรีสุพรรณ หมู่ ๖ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน โรงเรียนวัดประตูป่า บ้านประตูป่า หมู่ ๔ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน โรงเรียนวัดล่ามช้าง บ้านล่ามช้าง หมู่ ๓ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดชัยชนะมงคล(วังมุย) บ้านวังมุย หมู่ ๑ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดชัยชนะ บ้านล้องเดื่อ หมู่ ๒ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดบ้านล้องเดื่อ บ้านล้องเดื่อ หมู่ ๒ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดล่ามช้าง บ้านล่ามช้าง หมู่ ๓ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดประตูป่า บ้านประตูป่า หมู่ ๔ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดบ้านศรีสุพรรณ บ้านศรีสุพรรณ หมู่ ๖ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน วัดบ้านต้นแงะ บ้านต้นแงะหมู่ ๙ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงบ้านวังมุย บ้านวังมุยหมู่ ๑ ตำบลประตูป่า อำเภอเมืองลำพูน
ข้อมูลความต้องการของชุมชนในการทำแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 256๖ ตำบลเหมืองง่า กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 2. โครงการฝึกอาชีพระยะสั้น การทำไม้กวาด ทางมะพร้าว (จำนวน 6 ชั่วโมง) โครงการแต่งแต้มสีสัน ให้ผลิตภัณฑ์มีชีวิต (หลักสูตร การปักลวดลาย จำนวน 15 ชั่วโมง) - กลุ่มที่ 1 7 – 8 กุมภาพันธ์ 2566 - กลุ่มที่ 2 9 – 10 กุมภาพันธ์ 2566 - กลุ่มที่ 1 16 -18 มกราคม 2566 - กลุ่มที่ 2 19 – 21 มกราคม 2566 ศูนย์อาสาสมัครสาธารณสุขประจำ หมู่บ้าน (อสม.) หมู่ 6 บ้านทุ่ง ตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน กลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพ 3๑ ชั่วโมงขึ้นไป ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการฝึกอาชีพหลักสูตรการตัดเย็บชุดพื้นเมือง จำนวน 45 ชั่วโมง 5 – 13 มกราคม 2566 ศูนย์ฝึกอาชีพชุมชนตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1. โครงการ อบรมเสริมสร้างสุขอนามัย ใส่ใจสุขภาพของ ผู้สูงอายุ (กิจกรรมการทำยาอเนกประสงค์) 1 กุมภาพันธ์ 2566 ห้องประชุมเทศบาลตำบล เหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัด ลำพูน
กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ โครงการอบรมประชาธิปไตย กุมภาพันธ์ 2566 โรงเรียนผู้สูงอายุบ้านเหมืองง่า กิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการปลูกผักแบ่งปัน นำความรู้ สู่ชุมชน 25 ธันวาคม 2565 ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลเหมืองง่า อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพู กิจกรรมการจักการศึกษาพื้นฐาน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการสอนเสริมรายวิชาภาษาอังกฤษ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา ๒๕๖๕ 23 – 26 มกราคม 2566 กศน.ตำบลเหมืองง่า กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ โครงการส่งเสริมการศึกษาตามอัธยาศัยประจำปี งบประมาณ 2566 ตุลาคม 2565 – 30 กันยายน 2566 พื้นที่อำเภอเมืองลำพูน
ข้อมูลความต้องการเรียนรู้ของคนชุมชน ในการจัดทำแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 256๖ ตำบล...... ประตูป่า.............. กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพหลักสูตร หลักสูตรการแปรรูปเนื้อหมู (จำนวน 20 ชั่วโมง) 21 – 24 มกราคม 2566 อาคารอเนกประสงค์ บ้านร่องเชี่ยว หมู่ที่ 7 ตำบลประตูป่า ๒ โครงการการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพหลักสูตร การทำน้ำพริกเพื่อประกอบอาชีพ จำนวน ๒๕ ชั่วโมง กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ อาคารอเนกประสงค์ บ้านวังมุย หมู่ที่ ๑ ตำบลประตูป่า กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพ 3๑ ชั่วโมงขึ้นไป ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ โครงการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพการทำพวงหรีด กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ อาคารอเนกประสงค์ บ้านป่าแงะ หมู่ที่ ๙ ตำบลประตูป่า กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ โครงการอบรมให้ความรู้การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๖ รพสต.ตำบลประตูป่า กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑. โครงการการบริหารการจัดการขยะในชุมชน ๕ มีนาคม ๒๕๖๖ อาคารอเนกประสงค์ บ้านป่าแงะ หมู่ที่ ๙ ตำบลประตูป่า
กิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1 โครงการปลูกผักสมุนไพรพื้นบ้านสู่ชุมชน (จำนวน 3 ชั่วโมง) 8 มกราคม 2566 (13.00น. – 16.00น) ศูนย์เรียนรู้หลักปรัชญาของ เศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ทฤษฎีใหม่ประจำตำบลประตูป่า กิจกรรมการจักการศึกษาพื้นฐาน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1. โครงการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน กิจกรรมสอนเสริม ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2565 17 – 20 มกราคม 2566 (เวลา 17.00น.- 20.00น.) กศน.ตำบลประตูป่า กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ 1. ๒. กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน “ชาวตลาด” กิจกรรมส่งเสริมการอ่าน (รถโมบายเคลื่อนที่) 13 ธันวาคม 66 12 มกราคม 2566 ตลาดนัดประตูป่า โรงเรียนบ้านศรีสุพรรณ ตำบล ประตูป่า
ข้อมูลทั่วไปตำบลอุโมงค์ ด้านสังคม 1. ชุมชน ชุมชน จำนวน 11 ชุมชน จำนวนบ้าน 4,777 หลังคาเรือน จำนวนประชากรในชุมชนรวม 13,511 คน (ข้อมูล ณ วันที่ 14 กุมภาพันธ์ 2550) 2. ศาสนา มีผู้นับถือศาสนาพุทธ ร้อยละ 98 ของจำนวนประชากรทั้งหมดในเขตเทศบาลตำบลอุโมงค์ จำนวน 10 วัด ที่เหลือร้อยละ 2 นับถือศาสนาอื่น ๆ และประชาชนส่วนใหญ่ยึดมั่นในหลักพระศาสนา และปฏิบัติ ศาสนกิจตลอดจนประเพณีท้องถิ่นอย่างเคร่งครัด 3. วัฒนธรรมประเพณีท้องถิ่นที่สำคัญ ก) ประเพณีสงกรานต์ (ประเพณีปี๋ใหม่เมือง)อยู่ในช่วงเดือน เมษายน มีการจัดงานประเพณีสงกรานต์ ทำบุญ ปล่อยนัก ปล่อยปลา เล่นน้ำสงกรานต์ ข) ประเพณีลอยกระทง (ประเพณียี่เป็ง)อยู่ในช่วงเดือน พฤศจิกายนมีการจัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ ประกวดกระทง การแข่งขัน ปล่อยโคมลอย ค) การแข่งขันกีฬาสัมพันธ์เทศบาลตำบลอุโมงค์ อยู่ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์มีการแข่งขันกีฬาพื้นบ้านชนิด ต่าง ๆ เช่น วิ่งกระสอบ ชักคะเย่อ ง) ประเพณีวันเข้าพรรษา อยู่ในช่วงเดือน กรกฎาคม มีการทำบุญที่วัดและถวายเทียนพรรษา การคมนาคม การจราจร ถนน สะพาน ประกอบ ด้วย 1. ถนนสายหลัก คือ ทางหลวง หมายเลข 106 เป็นถนนสายเก่าเชื่อมระหว่างจังหวัดลำพูน และจังหวัด เชียงใหม่ 2. ถนนซุปเปอร์ไฮเวย์เชียงใหม่ – ลำปาง 3. ถนนสายริมปิง – หนองช้างคืน หรือริมปิง – ป่าเห็ว 4. ถนนเลียบรางรถไฟ หรือ Local Road ทางหลวง หมายเลข 106 ลำเหมืองปิงห่าง แม่น้ำ/คลอง ที่ใช้เป็นทางสัญจรทางน้ำ 1. แม่น้ำกวง 2. ลำเหมืองปิงห่าง การจัดการขนส่งมวลชน 1. รถประจำทางถนนสายเชียงใหม่ – ลำพูน ทางหลวงหมายเลข 106 2. รถยนต์ขนส่งสายนวรัฐ เชียงใหม่ – ลำพูน 3. รถไฟสายเหนือเชียงใหม่ – กรุงเทพฯ สถานีรับ – ส่งผู้โดยสาร 1 สถานีการประปา 1. จำนวนครัวเรือนที่ใช้ประปาของเทศบาล 280 ราย (เทศบาลดำเนินการ)
2. ปัจจุบันได้โอนภารกิจการประปาให้กับการประปาส่วนภูมิภาคดำเนินการ 3. การใช้ในประปาในตำบลอุโมงค์ทั้งหมด - จำนวนผู้มีน้ำประปาใช้ จำนวน 3,734 ครัวเรือน - จำนวนผู้ไม่มีน้ำประปาใช้ จำนวน 6,810 ครัวเรือน - แหล่งน้ำดิบผลิตน้ำประปา ไดแก่ บ่อบาดาลน้ำลึก ปีงบประมาณ 2549 สำนักงานประปาลำพูน ได้รับงบประมาณปรับปรุงก่อสร้างขยายการประปาลำพูน วงเงินก่อสร้าง 126,600,000 บาท สามารถผลิตน้ำได้ 12,000 ลบ.ม./วัน พร้อมปรับปรุงเส้นท่อเมนเดิมโดย เปลี่ยนท่อใหม่ระยะประมาณ 34 กิโลเมตร ในเขตเทศบาลเมือง อบต.เหมืองง่า เทศบาลตำบลอุโมงค์ อบต. บ้าน กลาง อบต.ต้นธง อบต. เวียงยอง อบต. ป่าสัก เป็นต้น ( ที่มา : สำนักงานประปาลำพูน ข้อมูล ณ เดือนมิถุนายน 2549 ไฟฟ้า 1. จำนวนครัวเรือนที่ใช้ไฟฟ้า 3,734 ครัวเรือน 2. พื้นที่ที่ได้รับบริการไฟฟ้า ร้อยละ 95 ของพื้นที่ทั้งหมด 3. ไฟฟ้าสาธารณะ (ไฟฟ้าส่องสว่าง) ครอบคลุมพื้นที่ หมู่ที่ 1 – 11 , ครอบคลุมถนนสายลำพูน – เชียงใหม่ , ถนนสายเชียงใหม่ – ลำปาง , ถนนสายป่าเห็ว – ริมปิง การสื่อสาร การสื่อสารในพื้นที่เขตเทศบาลตำบลอุโมงค์ โดยองค์การโทรศัพท์ ครอบคลุมทุกพื้นที่ในเขต เทศบาลมีครัวเรือนที่ มีโทรศัพท์ ร้อยละ 90 และมีโทรศัพท์สาธารณะในสถานที่สำคัญครอบคลุมเกือบทุกพื้นที่ 1. จำนวนชุมสายโทรศัพท์ในเขตพื้นที่ 1 ชุมสาย คือ ชุมสายตำบลอุโมงค์ 2. ที่ทำการไปรษณีย์มี 1 แห่ง คือ ไปรษณีย์โทรเลขตำบลอุโมงค์ 3. สื่อมวลชนในพื้นที่ไม่มี 4. สถานีวิทยุกระจายเสียงมี 2 แห่ง คือ 4.1 สถานีวิทยุกระจายเสียงราชดำริสัมพันธ์ จังหวัดลำพูน 4.2 สถานีวิทยุกองทัพภาคที่ 3 จังหวัดลำพูน 5. ระบบเสียงตามสาย 5.1 ระบบเสียงตามสายของเทศบาลตำบลอุโมงค์ ตั้งแต่หมู่ที่ 1 – 11 5.2 หอกระจายข่าวของแต่ละหมู่บ้าน ตั้งแต่หมู่ที่ 1 – 11 คิดเป็น 100% 6. หน่วยงานที่มีข่ายวิทยุสื่อสารในพื้นที่ 6.1 ป้อมยามตำรวจป่าเห็ว 6.2 ปกครองอำเภอเมืองลำพูน 6.3 เทศบาลตำบลอุโมงค์ ลักษณะการใช้ที่ดิน
เทศบาลตำบลอุโมงค์ที่ตั้งชุมชนจะรวมกันอยู่เป็นแนวยาวริมสองฝั่งถนนเชียงใหม่ – ลำพูนสายเก่า โดยมี การใช้ที่ดินเพื่อเป็นที่ตั้งของสถานที่ประกอบธุรกิจการค้ารวมกันอยู่เป็นกลุ่มใหญ่ในบริเวณตลาดกลางป่าเห็ว และ ริมสองฟากถนนเชียงใหม่ – ลำพูน สายเก่าในบริเวณใกล้เคียง นอกจากนั้นแล้ว ยังมีร้านค้าขนาดเล็กตั้งกระจาย อยู่ริมสองฟากถนนสายเชียงใหม่ – ลำพูนสายเก่าและห่างจากถนนเข้าไปในซอยโดยมีกลุ่มใหญ่ตั้งอยู่ด้านเหนือ และส่วนกลางของพื้นที่ และมีจำนวนน้อยลงในตอนใต้ของพื้นที่ สภาพของที่พักอาศัยในบริเวณริมถนนส่วนใหญ่ จะเป็นบ้านเดี่ยวสูง 1 – 2 ชั้นและมีบริเวณโดยรอบ และเมื่อห่างจากถนนใหญ่ออกไปจะเป็นบ้านเดี่ยวที่ตั้งอยู่ใน สวนลำไย ล้อมรอบที่พักอาศัยจะเป็นพื้นที่เกษตรกรรมซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นสวนลำไย ยกเว้นด้านใกล้ถนน ซุปเปอร์ไฮเวย์จะเป็นที่นา พื้นที่ริมสองฟากถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรม ซึ่งส่วนใหญ่เป็นที่นา มีพื้นที่ว่างยัง ไม่ได้ถูกใช้งานรวมทั้งมีโรงงานและสถานที่ประกอบธุรกิจการค้าขนาดใหญ่ เช่น โรงงานบริษัท ฟริโตเลย์ ประเทศ ไทย บริษัท ซี.เค.คาร์ตัน โชว์รูมรถยนต์เชฟโรเรต เป็นต้น ตั้งกระจายอยู่ห่างกันบนริมสองฟากถนน และพื้นที่ ระหว่างถนนซุปเปอร์ไฮเวย์ไปจนถึงลำน้ำแม่กวงส่วนใหญ่จะเป็นพื้นที่เกษตรกรรมโดยมีพื้นที่ พักอาศัยปนอยู่ด้วย สภาพเศรษฐกิจ 1. การเกษตร ราษฎรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม จากผลการสำรวจจากครัวเรือนทั้งหมด มี ครอบครัวที่ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมาก คิดเป็นร้อยละ 84.28 ส่วนอาชีพรองลงมา คือ รับจ้าง ร้อยละ 8.74 อาชีพค้าขาย ร้อยละ 2.16 อาชีพรับราชการ ร้อยละ 1.23 และประกอบอาชีพอื่น ๆ ร้อยละ 2.59 2. การอุตสาหกรรม มีโรงงานประเภทต่าง ๆ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่ จำนวน 10 แห่ง ประเภทและ จำนวนสถานประกอบการด้านการพาณิชยกรรมและการบริการ 3. สถานประกอบการด้านพาณิชยกรรม ก) สถานีบริการน้ำมัน 5 แห่ง ข) ร้านค้าทั่วไป 304 แห่ง ค) ตลาดสด 3 แห่ง 4. สถานประกอบการเทศพาณิชย์ ก) โรงฆ่าสัตว์ 1 แห่ง 5. สถานประกอบการด้านบริการ - ธนาคาร 3 แห่ง - สถานที่จำหน่ายอาหาร ตาม พ.ร.บ.สาธารณสุข 3 แห่ง 6. การท่องเที่ยว เทศบาลตำบลอุโมงค์ เป็นหน่วยงานองค์กรส่วนท้องถิ่น ให้ความสำคัญ และพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว เช่น การปลูกต้นไม้และจัดสร้างศาลาริมทางที่จะสะท้อนเอกลักษณ์ของท้องถิ่น และการดูแลสภาพภูมิทัศน์ สภาพแวดล้อมของ ชุมชนให้มีความสะอาดสวยงามเป็นระเบียบ หรือสร้างจุดสนใจสำหรับนักท่องเที่ยว ประกอบ
1. ศึกษาอยู่ในระบบ 1.1 ชั้นก่อนประถมศึกษา จำนวน 68 คน 2.2 ชั้น ป.1 - ม.3 จำนวน 414 คน 1.3 ชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 112 คน 1.4 อนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 21 คน 1.5 ปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 66 คน 1.6 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 140 คน 2. จบการศึกษาแล้ว และไม่ได้เรียนต่อ 2.1 จบภาคบังคับ จำนวน 1254 คน 2.2 จบชั้น ม.ปลาย/เทียบเท่า จำนวน 256 คน 2.3 จบอนุปริญญา/เทียบเท่า จำนวน 259 คน 2.4 จบปริญญาตรี/เทียบเท่า จำนวน 554 คน 2.5 สูงกว่าปริญญาตรี จำนวน 89 คน 3. คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับหรือ เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 66 คน 3.1) คนอายุ 6-14 ปีที่ไม่ได้เรียนการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 56 คน 3.2) คนอายุ 6-14 ปีที่เรียนไม่จบการศึกษาภาคบังคับ (ออกกลางคัน) จำนวน 63 คน 4. คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 3 คน 4.1) คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาอังกฤษได้ จำนวน 411 คน 5. คนพิการได้รับการศึกษา 5.1 คนพิการได้รับการศึกษาภาคบังคับ จำนวน 12 คน 5.2 คนพิการได้รับการฝึกอาชีพ จำนวน 3 คน 6. ผู้ไม่รู้หนังสือ/ลืมหนังสือ จำนวน 6 คนพิการ ผู้สูงอายุ คนอายุ 15-59 ปีเต็ม ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลข อย่างง่ายไม่ได้ จำนวน 3 คน คนอายุ 60 ขึ้น ปี ที่อ่านเขียนภาษาไทยและคิดเลขอย่าง ง่ายไม่ได้ จำนวน 29 คน ข้อมูลด้านการศึกษา ข้อมูลผู้ไม่รู้หนังสือ สำรวจปี ๒๕๖๕
แหล่งเรียนรู้ ชื่อ แหล่งเรียนรู้อื่น ประเภทแหล่งเรียนรู้ ที่ตั้ง ศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ตำบลอุโมงค์ สถานที่ฝึกปฏิบัติ เรียนรู้งาน เศรษฐกิจ พอเพียง บ้านชัยสถาน หมู่ ๑๐ ต.อุโมงค์ ศูนย์วัฒนธรรมตำบลอุโมงค์ สถานที่แสดงวิถีชีวิตคนตำบลอุโมงค์ใน อดีตถึงปัจจุบัน หน้าวัดกอม่วง หมู่ ๒ (ติดลำน้ำ ปิงห่าง ) ต.อุโมงค์ ศูนย์เรียนรู้วิสาห กิจชุมชน เชตวัน สถานที่ปลูกพืชโดยไม่ใช้ดินและเป็นแหล่ง เรียนรู้ชุมชน บ้านเชตะวัน ถนนลำพูน – เชียงใหม่ (ติดทางรถไฟ) ศูนย์เรียนรู้ ศูนย์เรียนรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและ เกษตรทฤษฎีใหม่ประจำตำบล กศน.ตำบลอุโมงค์ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ชื่อภูมิปัญญาท้องถิ่น ความสามารถและประสบการณ์ ที่อยู่/ผู้ดูแลรับผิดชอบ การจักสาน งานจักสาน หมู่ที่ ๑ บ้านอุโมงค์ ต.อุโมงค์ นายต๋า กุลวัฒน์ ทอผ้าพื้นเมือง การทอผ้าพื้นเมือง หมู่ที่ ๒ บ้านกอม่วง ต.อุโมงค์ นางบัวผิน เสนาวัฒน์ จักสาน การสานสาดแหย่ง หมู่ที่ ๓ บ้านสันกับตอง ต.อุโมงค์ นางตุมมา พรหมเจริญ ทำบายศรี ทำบายศรี กรวยดอกไม้ หมู่ที่ ๔ บ้านฮ่องกอก ต.อุโมงค์ นางพรวิไล นิธิมากร ยาแผนโบราณ ผสมยาแผนโบราณ หมู่ที่ ๔ บ้านฮ่องกอก ต.อุโมงค์ นายศักดิ์ สังทร ดนตรีพื้นเมือง เล่นดนตรีพื้นเมือง หมู่ที่ ๕ บ้านป่าเห็ว ต.อุโมงค์ นายคณธร ศรีไม้ ฟ้อนรำ การฟ้อนรำ ร้องเพลง หมู่ที่ ๗ บ้านเชตะวัน ต.อุโมงค์ นางพรวิภา ฟองมาลา จักสาน การจักสาน หมู่ที่ ๗ บ้านเชตะวัน ต.อุโมงค์ นายแสง จี้วรรณ ทำโคม ตุง การทำโคม ตุงล้านนา หมู่ที่ ๘ บ้านไร่ ต.อุโมงค์ นายเนียม กัลยาโน จักสาน ดนตรีพื้นเมือง จักสาน ดนตรีพื้นเมือง หมู่ที่ ๙ บ้านป่าเส้า ต.อุโมงค์ พ่อคำมูล วงค์สถาน ตัดตุง การตัดตุงประกอบงานศาสนพิธีต่างๆ หมู่ที่ ๗ บ้านเชตะวัน ต.อุโมงค์ นางแก้ว เสนอุโมงค์
ข้อมูลความต้องการเรียนรู้ของคนในชุมชน ในการจำทำแผนการจัดกิจกรรมการศึกษาไตรมาส 1-2 ปีงบประมาณ 256๖ ตำบล.........อุโมงค์. กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มสนใจ ไม่เกิน 30 ชั่วโมง (งบ ๑๒,๔๐๐.) ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ การทำโคมล้านนา หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) การทำผางประทีป หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) การทำโคมล้านนา หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) การทำโคมล้านนา หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) การทำโคมล้านนา หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) การทำโคมล้านนา หลักสูตร ๑๐ ชม.(๒,๐๐๐.) ๒๑ – ๒๒ ม.ค.66 ๒๗ – ๒๘ ม.ค. 66 ศาลาอเนกประสงค์วัดเชตวัน ม.๗ ศาลาอเนกประสงค์หน้าวัดอุโมงค์ ม.๑ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านป่าลาน ม.๖ กิจกรรมศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน ระยะสั้น กลุ่มชั้นเรียนวิชาชีพ 3๑ ชั่วโมงขึ้นไป ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ ช่างปูน หลักสูร ๖๐ ชม.(๔,๘๖๐.) ๒๐ - ๓๑ ม.ค.๖๖ ๒๔๘ ม.๙ บ้านป่าเส้า กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ ฟ้อนรำภาคเหนือ ๒๐ ชม.(๗๕๐.) ๑๙ - ๒๕ ธ.ค.๖๕ ศาลาอเนกประสงค์บ้านฮ่องกอก ม.๔ กิจกรรมการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ การทำน้ำหมักชีวภาพสังเคราะห์แสง(๑,๗๓๓.) ๑๘ ม.ค.๖๖ ที่ทำการผู้ใหญ่บ้านป่าลาน ม.๖
กิจกรรมการศึกษาการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ อบรมเรียนรู้การปลูกผักสวนครัว(๑,๑๒๐.) ม.ค.๖๖ ศาลาอเนกประสงค์บ้านสันกับตอง ม.๓ กิจกรรมการจัดการศึกษาพื้นฐาน ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ สอนเสริมภาษาอังกฤษ ๒/๒๕๖๕ ๒๔ - ๒๗ ธันวาคม ๒๕๖๕ กศน.ตำบลอุโมงค์ กิจกรรมการศึกษาตามอัธยาศัย ที่ ชื่อโครงการ วัน เดือน ปี สถานที่ ๑ ห้องสมุดชาวตลาด รถโมบาย ส่งเสริมการอ่าน หมุนเวียนสื่อ ทำพวงกุญแจ คิวอาร์โค้ดสื่อส่งเสริมการอ่าน พ.ย.๖๕ ๑๘ ม.ค.๖๖ ๑๘ ม.ค.๖๖ ๑๘ ม.ค.๖๖ ๑๘ ม.ค.๖๖ เทศบาลต.อุโมงค์ (งานลอยกระทง) ร.ร.เชตวัน หนองหมู บ้านหนังสือ ม.๖ ป่าลาน บ้านหนังสือ ม.๖ ป่าลาน บ้านหนังสือ ม.๖ ป่าลาน บ้านหนังสือ ม.๖ ป่าลาน
ข้อมูลทั่วไปตำบลเหมืองจี้ ชื่อ กศน.ตำบลเหมืองจี้ ที่ตั้ง ตั้งอยู่หมู่ที่ 14 ตำบลเหมืองจี้ อำเภอเมืองลำพูน จังหวัดลำพูน สภาพศูนย์การเรียนตำบลเหมืองจี้ เป็นเอกเทศ อาคารเดิมเทศบาลตำบลเหมืองจี้ E-mail :[email protected] สังกัด ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยจังหวัดลำพูน สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ ประวัติความเป็นมา ๑. ประวัติ ศูนย์บริการการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน มีเขตการให้บริการ ทางการศึกษาแก่ประชาชนทั่วไปอำเภอเมืองลำพูน เพื่อพัฒนาคุณภาพของคนในเขตบริการให้มีการพัฒนา คุณภาพชีวิต ทั้งทางด้านงานการศึกษาพื้นฐาน งานการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต งานการศึกษาเพื่อพัฒนาอาชีพ งานการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน งานการศึกษาตามอัธยาศัยและงานอื่นๆตามที่ได้รับมอบหมาย จากสำนักงานกศน. จังหวัดลำพูน นโยบายของอำเภอเมืองลำพูน นโยบายการทำงานของจังหวัดลำพูน ตลอดจนนโยบายของรัฐด้านต่าง ๆ โดย ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน ได้มอบหมายให้กศน.ตำบลทั้ง 15 ตำบลในเขตอำเภอเมือง รับผิดชอบสนับสนุนอีกทั้งส่งเสริมและจัดการศึกษา ดังกล่าว จึงจัดตั้งศูนย์การเรียนชุมชนเฉลิมพระเกียรติ ตำบลเหมืองจี้ขึ้น เมื่อ พ.ศ 2541 ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหมืองจี้เดิม ตั้งอยู่ที่สถานีอนามัยหมู่ที่ 1 ตำบลเหมืองจี้ อำเภอเมือง จังหวัดลำพูน เนื่องด้วยมีจำนวนนักศึกษาเพิ่มขึ้นอีกทั้งมีผู้มีความต้องการใช้บริการในการพบกลุ่มเพิ่มมากขึ้น จึงมีความจำเป็นที่จะต้องย้ายศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหมืองจี้ ไปอยู่ที่ศูนย์พัฒนาอาชีพตำบลเหมืองจี้ หมู่ที่14 บ้านป่าห้า ตำบลเหมืองจี้ โดยได้รับการสนับสนุนจากอาจารย์กรีฑา โปชัยคุปต์ และองค์การบริการส่วนตำบล เหมืองจี้สนับสนุนเอื้อเฟื้อสถานที่ดังกล่าว ให้ ศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหมืองจี้ใช้เป็นแหล่งเรียนรู้บริการ แก่นักศึกษาในการพบกลุ่มและ ให้บริการแก่คนในชุมชนตำบลเหมืองจี้ ปัจจุบัน กศน. ตำบลเหมืองจี้ ได้ทำการขยาย กศน.ตำบลเข้ามาอยู่ในความดูแลของเทศบาลตำบลเหมืองจี้ และใช้อาคารสถานที่อาคาร ที่ทำการเดิมของเทศบาลตำบลเหมืองจี้เป็นสถานที่พบกลุ่มและทำกิจกรรมของนักศึกษา ปัจจุบัน กศน.ตำบลเหมืองจี้มีบทบาทหน้าที่ในการและรับผิดชอบงานการศึกษานอกโรงเรียน และ ให้บริการทางการศึกษาแก่ประชาชนในตำบลเหมืองจี้ โดยขึ้นอยู่กับศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา ตามอัธยาศัยอำเภอเมืองลำพูน โดยปัจจุบันมีครูประจำศูนย์การเรียนชุมชนตำบลเหมืองจี้ จำนวน 1 คน คือนางสาวอรนุช ทาระศักดิ์