The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by kokkaikorea, 2021-10-19 05:56:23

เค้าโครงวิจัยในชั้นเรียน ภาษาไทย ป.3 2564

วิจัยเค้าโครงป.3

Keywords: เค้าโครงวิจัย2564

เคาโครงงานวจิ ยั ในช้ันเรยี น

ช่อื เรอ่ื ง การพฒั นาทักษะการเขียนคำพ้ืนฐานภาษาไทย ของนักเรียนชน้ั ประถมศึกษาปที่ 3 โดยใช
แบบฝก ทกั ษะการเขียนคำพ้นื ฐานภาษาไทย

ชอ่ื ผูวจิ ยั นางสาววันทนา เก้อื หนนุ
นางสุภาพร กาญจนสุนทร
นางพรประภา สิริมรุ ธา

ท่มี าและความสำคัญของปญหา
ภาษาไทยเปนเอกลกั ษณป ระจำชาติ เปนสมบตั ิทางวฒั นธรรมและกอ ใหเกดิ เอกภาพ และเสรมิ สราง

บคุ ลิกภาพใหเกิดความเปนไทยใหมากยงิ่ ข้ึนเปน เครื่องมือในการสื่อสาร เพ่ือสรา งความเขาใจและสรา ง
ความสัมพนั ธท่ีดี ดงั นั้นนกั เรยี นควรมที ักษะใหครบ ท้งั ฟง พดู อานและเขียน

ฉวีลกั ษณ บุณยะกาญจน (2526, หนา 5) มีความเหน็ วา การอานเปรยี บเสมอื นกุญแจไขความรู
ซ่ึงถา ไดนำความรมู าใชใหเปน ประโยชนในการแกป ญ หาใหก บั สังคม สงั คมกพ็ ฒั นาเพิ่มมากขน้ึ เพราะถาสังคม
ใดมีพลเมอื งท่ีมีประสทิ ธภิ าพในการอา นมาก สังคมน้นั กจ็ ะมีความเจริญมากย่ิงข้ึนซงึ่ สอดคลอ งกับ สุกัญญา สี
สืบสาน (2531:58) ใหค วามหมายของการอานวา เปนการพฒั นาความรู สติปญ ญา และจิตใจของบคุ คลท่เี ปน
องคประกอบของสงั คม สำหรบั นกั เรยี นความสำเรจ็ ในการเรียนของเด็กสว นใหญข้นึ อยกู ับความสามารถของ
การอาน ทัง้ นีเ้ พราะการอา นเปนพน้ื ฐานในการเรยี นวชิ าอื่นๆ

สุขุมเฉลยทรพั ย (2530: 27) ไดก ลาววา "การอานคอื กระบวนการคนหา ความหมายหรือความ
เขาใจจากตวั อกั ษรและ สัญลักษณอ น่ื ๆ ที่ใชแทนความคดิ เพ่อื เพิ่ม ประสบการณของผูอาน ซ่งึ การอานให
เขา ใจ ข้นึ อยกู บั ประสบการณเดิมของผูอา นดวย การอานไมใ ชการมองผา นประโยค หรือยอ หนา แตละยอ หนา
เทานั้น แตเปน การรวบรวม การตีความและการประเมนิ ความเหน็ เหลาน้ัน กระบวนการที่กอ ใหเกดิ ความ
เขาใจ เปนการผสมผสานระหวา ง ทกั ษะหลายชนิดเพ่ือใหเ ปน ไปตามวตั ถุประสงค..." มีความคดิ เหน็ เดียวกนั
มทั นา นาคะบุตร (2542, หนา 3) กลา ววา การอาน หมายถึง การตีความ หรอื แปลความหมายจากตัวหนังสอื
(สัญลักษณ) ทมี่ ีผูเขยี นไวใ หเกิดการรบั รู เกดิ ความเขา ใจสารและสามารถนำไปใชป ระโยชนไ ด

พจนาถ วงษพานิช (2547, หนา 9) กลาววา การอา น หมายถงึ กระบวนการแปลความหมายจาก
ตัวอกั ษร สญั ลกั ษณ กลุมคำ หรอื วลี และประโยคออกมาเปน ความคิดอยางมีเหตุผล โดยอาศยั ความสามารถใน
การแปล การตคี วาม การจับใจความสำคัญ และการสรุปความ เพ่ือใหเกิดความเขา ใจอยา งมีจุดมงุ หมายจาก
นยิ ามของทานผูรูท ก่ี ลาวมาขางตน สามารถสรุปไดว า การอานหมายถึง การแปลสัญลกั ษณออกมาจากตัวอกั ษร
จนเกิดการรบั รู เกิดความเขาใจในสารน้นั และพรอ มทจ่ี ะสามารถถายโยงความคิด ไปยงั ผอู ่นื ตอไปได โดย
อาศยั ความสามารถในการแปล การตีความ การจับใจความสำคญั และการสรปุ ความ

จากการสอนทกั ษะการเขยี นคำพ้ืนฐาน ในระดับช้ันประถมศกึ ษาปท ี่ 3 พบวามีนักเรียน

จำนวน 10 คน เม่ือครูใหนักเรยี นอานบทเรียน หรอื หนงั สอื นอกเวลา แลว กำหนดคำใหน กั เรยี นอา นและ
เขยี นตามคำบอก จากคำทคี่ รูกำหนดข้ึน นักเรยี นจะไมสามารถอานและเขียนคำไดถ กู ตอง ครูผูสอนจึงเกิด
ความคดิ วา การใหน กั เรียนคนหาคำพ้นื ฐานภาษาไทยจากหนังสอื เรียน และแบบฝกใหน ักเรียนไดอา นและ
เขียนสะกดคำบอยๆ จะชวยใหนักเรียนเขยี นสะกดคำไดถูกตอ งมากย่ิงขน้ึ

การวจิ ยั ครง้ั นีเ้ ปน การสรางแบบฝกเสรมิ ทกั ษะการเขียนคำพน้ื ฐาน สำหรบั ใหน กั เรยี นศกึ ษาหาความรู
และเพือ่ ใหนักเรียนเกดิ ความสนกุ สนานเพลดิ เพลิน เกิดความซาบซ้ึงในคุณคา ของภาษา อกี ท้งั ยังเปนการชว ย
เสรมิ สรางทักษะและนสิ ัยรกั การอา นและการเขียนใหแ กนักเรียน ผวู จิ ยั จึงใชร ปู ภาพประกอบและแบบฝก หดั ที่
หลากหลายเพอื่ ชว ยพัฒนาทักษะการเขียน

วัตถปุ ระสงคของการวจิ ยั
1.เพื่อพฒั นาทักษะการเขยี นคำพ้ืนฐานของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปที่ 3 โดยใชแบบฝกหัดชุดพัฒนา

ทักษะการเขยี นคำพ้นื ฐานภาษาไทย
2.เพ่ือใหนกั เรยี นมคี วามสนใจและตง้ั ใจเรยี นดีขน้ึ และปลูกฝงใหน กั เรยี นมีนสิ ยั รักการอานและการ

เขียน

สมมตฐิ านการวิจัย
สมมตฐิ านการวิจัย นักเรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 มีกลมุ ตวั อยาง 10 คน ท่ไี ดร ับการฝก

จากแบบฝก หดั ชุดพฒั นาทกั ษะการเขยี นคำพืน้ ฐานภาษาไทย จะมีความสามารถในดานทักษะการเขยี นคำ
พื้นฐานภาษาไทยดขี น้ึ ( แผนการจกั กิจกรรมการเรยี นรูเรอื่ ง การเขียนตามคำบอก การเขยี นเร่ือง )

ขอบเขตการวิจัย

ประชากรและกลุมตวั อยาง

ประชากรประชากรที่ใชในการวิจยั เปนนักเรยี นช้ันประถมศกึ ษาปที่ 3 โรงเรยี นธิดาแมพระ อำเภอเมือง
จงั หวดั สรุ าษฎรธานี ภาคเรยี นที่ 1-2 ปก ารศึกษา 2564
กลุมตวั อยาง นกั เรยี นช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 3 โรงเรียนธิดาแมพ ระ อำเภอเมอื ง จังหวดั สรุ าษฎรธ านี
ภาคเรยี นที่ 1- 2 ปการศึกษา 2564 โดยใชคะแนนทดสอบผลการเรียนรู จากนกั เรียนทคี่ ะแนนทดสอบการ
อา นและการเขยี นคำภาษาไทย รายวชิ าภาษาไทย ตำ่ กวา รอ ยละ 60 จํานวน 10 คน

เนือ้ หาทใ่ี ชในการวิจยั
เปนเนื้อหาในรายวิชาภาษาไทย ท.13101 และ ท.13102 ชั้นประถมศึกษาปท่ี 3 ตามโครงสราง

หลักสูตรการศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พุทธศกั ราช 2551 ( แผนการจัดการเรียนรเู รอ่ื งการสะกดคำ )

สถิตทิ ่ีใชใ นการวิเคราะหข อมลู
- ใช t-test แบบไมอิสระ
- หาคาเฉล่ีย
- คา เบ่ยี งเบนมาตรฐาน

ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดรับ
1. นักเรียนเขียนคำพ้ืนฐานในภาษาไทยไดถูกตองมากข้นึ
2. นกั เรยี นมคี วามสนใจและต้งั ใจเรยี นดขี ึน้ และปลูกฝง ใหน ักเรียนมนี สิ ัยรักการเขียน

นยิ ามศัพทเฉพาะ
ผลสัมฤทธิก์ ารเรยี น หมายถงึ คะแนนของนักเรยี นท่ีไดจากการทำแบบทดสอบหลงั จากเรยี นจบบทเรียน
เอกสารประกอบการเรียน หมายถงึ เอกสารทใี่ หความรู ความเขาใจเกยี่ วกบั เนื้อหาท่ีครูสอน
นักเรยี น หมายถึง นักเรยี นช้นั ประถมศกึ ษาปท่ี 3 โรงเรียนธิดาแมพระ อำเภอเมอื ง จงั หวดั สุราษฎรธ านี
ประจำปก ารศกึ ษา 2564
ครู หมายถึง ครูผูสอนกลุมสาระภาษาไทย ชนั้ ประถมศึกษาปท่ี 3 โรงเรยี นธิดาแมพ ระ อำเภอเมือง
จังหวัดสรุ าษฎรธ านี ประจำปก ารศึกษา 2564
แบบฝก หัด หมายถงึ แบบฝก หดั การเขียนคำพนื้ ฐานภาษาไทยที่ผวู ิจยั สรา งข้ึน
ทกั ษะการเขียน หมายถึง การถายทอดความรู ความรูสึกนกึ คิด เรอ่ื งราว ตลอดจนประสบการณต าง ๆ
ไปสูผอู ื่นโดยใชตัวอักษรเปนเครื่องมอื ในการถา ยทอด
ทกั ษะการอา น หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมายของตัวอักษรออกมาเปนถอยคำและความคดิ
แลว นำความคิดนั้นไปใชใ หเ กดิ ประโยชน

เอกสารและงานวจิ ัยท่ีเกยี่ วของ
ฉววี รรณ คหู าภินันท. (2542). การอานและการสง เสรมิ การอา น. กรุงเทพฯ : โสภณการพมิ พ
พนู ศรี อม่ิ ประไพ. (2540). การศึกษาขอบกพรอ งในการอานออกเสียงภาษาไทยและการสรางแบบฝกซอม

เสรมิ สำหรบั นกั เรียนชั้นประถมศึกษาปท่3ี ในเขตกรุงเทพมหานคร.ปริญญานพิ นธการศกึ ษา
มหาบัณฑิต (การประถมศกึ ษา).กรงุ เทพฯ: บัณฑิตวทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ
ประสานมิตร.
ราชบณั ฑิตยสถาน. พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน.
หนงั สอื เรยี นภาษาไทย ชดุ พนื้ ฐานภาษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปท่ี 1 เลม 1 และ เลม 2
แบบฝกทกั ษะการสะกดคำภาษาไทย ระดบั ชัน้ ประถมศึกษาปท่ี 3
มาตราตวั สะกดของไทย ระดับช้ันประถมศึกษาปที่ 3

..........................................................
(นางสาววนั ทนา เก้ือหนุน )
ผูดำเนนิ งานวจิ ยั
......../............/..............

..........................................................
(นางสุภาพร กาญจนสุนทร )
ผูดำเนนิ งานวจิ ยั
......../............/..............

..........................................................
(นางพรประภา สิรมิ ุรธา )
ผูดำเนินงานวิจัย
......../............/..............

ความคดิ เห็นของผรู บั ผิดชอบโครงการ
……………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………

………………………………………..
(นางสาวอรโุ ณทยั กำเหนิดผล )

ผรู บั ผิดชอบโครงการ
……/…../……

ความคิดเหน็ ของฝายวชิ าการ
……………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………

…………………………………….
(นางสชุ าดา อักษรทิพย )
ผชู ว ยผอู ำนวยการฝายวชิ าการ
……./…../…..

ความคดิ เห็นของผบู ริหาร
……………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………….………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………….……………………………………………………

…………………………………………….
( นางสาวสายสุดา กิจประยูร )

ผูอำนวยการโรงเรียนธิดาแมพ ระ
……./……/……


Click to View FlipBook Version