The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

องค์ความรู้ บ้านพอเพียงต้นแบบ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by Marisa Maneechot, 2021-07-03 03:07:51

องค์ความรู้ บ้านพอเพียงต้นแบบ

องค์ความรู้ บ้านพอเพียงต้นแบบ

Keywords: บ้านพอเพียงต้นแบบ

“บา้ นพอเพียงตน้ แบบ”

ณ ศนู ยศ์ ึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครศรธี รรมราช

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชนพ่งึ ตนเองได้ภายในปี 2565
Change for good

บทนา

“บ้านพอเพียงต้นแบบ สร้างรายได้ สร้างความสุข
สร้างคุณภาพชีวิตที่ดี” ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราช
ได้ขับเคลื่อนศาสตร์พระราชา สู่การพัฒนาท่ียั่งยืน โดยการน้อมนาหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระบรมชน กาธิเบศร
มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร และพระราชปณิธานของ
พระบาทสมเด็จพระวชิรเกล้าเจา้ อยู่หัว “เราจะสืบสาน รกั ษา และต่อยอด
และครองแผ่นดินโดยธรรม เพื่อประโยชน์สุขแห่งอาณาราษฎรตลอดไป”
โดยได้ดาเนินงานโครงการ “บ้านพอเพียงต้นแบบ” ซ่ึงเป็นการพัฒนา
พ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” บนพื้นท่ี จานวน 3 ไร่ มีวัตถุประสงค์เพ่ือพัฒนา
พ้ืนท่ีเรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิต ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ผู้ที่มาฝึกอบรม ประชาชน
ทั่วไป บุคลากรของศูนย์ฯ ผ่านการปฏิบัติลงมือทาจริง และเผยแพร่องค์
ความรู้ให้กับบุคคลทั่วไปที่สนใจ เพ่ือนาไปประยุกต์ปรับใช้ให้สามารถ
พึ่งตนเองได้ โดยการสร้างโมเดลจาลองที่มชี ีวิต ท่สี ามารถใช้ประโยชน์จาก
การบริหารจัดการพื้นที่ จานวน 3 ไร่ ได้จริง มีการให้ครัวเรือน จานวน
1 ครัวเรือน ได้ใช้ชีวิตด้วยการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
บนพื้นท่ีเรียนรู้ต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล” (บ้านพอเพียงต้นแบบ)
ซึ่งครัวเรือนสามารถดาเนินชีวิตได้อย่างมีความสุข มีคุณภาพชีวิตท่ีดี
มีกิจกรรมการสร้างความม่ันคงทางด้านอาหาร การสร้างส่ิงแวดล้อมท่ี
ย่ังยืน และสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม ซ่ึงพิสูจน์ได้อย่างแท้จริงว่าสามารถ
เป็นทางรอดภายใต้สภาวะการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ของโลก ได้อย่าง
แนน่ อน
ศนู ย์ศึกษาและพฒั นาชมุ ชนนครศรธี รรมราช
สถาบันการพฒั นาชมุ ชน กรมการพฒั นาชมุ ชน

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชน Change for Good
พ่งึ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

สารบญั 1

บทนา 3
สารบัญ 4
จากใจผ้บู ริหาร 15

หนา้ 16
17
ขนั้ ตอนการดาเนินงานบา้ นพอเพยี งตน้ แบบ

แผนผังบา้ นพอเพียงต้นแบบ
บ้านพอเพียงตน้ แบบ
บา้ นพอเพยี งต้นแบบลดรายจา่ ย

บ้านพอเพียงต้นแบบสร้างรายได้
ผลสาเรจ็ ของบา้ นพอเพยี งตน้ แบบ

ภาคผนวก

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชมุ ชน Change for Good
พึ่งตนเองไดภ้ ายในปี 2565

จากใจผบู้ รหิ าร

จากนโยบายของท่านสุทธิพงษ์ จุลเจริญ อธิบดีกรมการพัฒนา

ชุมชน กระทรวงมหาดไทย ในการน้อมนาแนวทางการพัฒนาคุณภาพชีวิต
ประชาชนในพ้ืนที่ชนบท ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และแนวคิดทฤษฎีใหม่เพ่ือให้ประชาชนในพื้นท่ีเกิดความสุข ดาเนินชีวิต
อย่างพอเพียง โดยได้จัดทาโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ด้วยการน้อมนาศาสตร์พระราชามาเป็น
แ นว ท า งใ นกา ร ขั บ เคลื่ อนกา ร พั ฒนา คุ ณ ภา พ ชี วิ ต ต า มห ลั ก ท ฤษฎี ใ ห ม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ การมี
ส่วนร่วม การพ่ึงพาตนเอง เพื่อให้สามารถบริหารจัดการตนเองและชุมชน
ให้มีความสขุ ไดอ้ ย่างยงั่ ยืน

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราชได้ขับเคลื่อนนโยบาย
ดังกล่าวฯ โดยการขับเคล่ือนโครงการศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนตามหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง จัดทาโครงการ “บ้านพอเพียงต้นแบบ”
ซ่ึงเป็นหน่ึงในฐานการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของ

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราช “บ้านพอเพียงต้นแบบ”

เป็นการนอ้ มนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งและทฤษฎีใหมป่ ระยกุ ต์สู่
“โคก หนอง นา โมเดล” เป็นโมเดลจาลองในพ้ืนท่ี 3 ไร่ ของศูนย์ฯ โดยให้
1 ครอบครัวมาใช้ชีวิตอยู่ในพ้ืนท่ี 3 ไร่จริง ๆ ใช้หลักทฤษฎีใหม่บันได
9 ข้ันสู่ความพอเพียง น้อมนาศาสตร์พระราชามาปฏิบัติจริง ซึ่งสามารถ
เห็นผลเป็นท่ีประจักษ์ ทาให้ผู้มาฝกึ อบรมและประชาชนท่ีมาศึกษาดูงานได้
เรียนรู้และนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาครัวเรือน ชุมชนของตนเองให้มี
คุณภาพชีวติ ท่ีดี มีความเข้มแข็งไดต้ อ่ ไป

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชุมชน Change for Good
พึ่งตนเองได้ภายในปี 2565

จากใจผบู้ รหิ าร (ต่อ)

กระผมมีความภาคภูมิใจเป็นอย่างยิ่งท่ีศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชุมชนนครศรีธรรมราชมีจุดเรียนรู้พ้ืนที่ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” ซ่ึงมี
ความพร้อมและมีศกั ยภาพในการรองรับการฝกึ อบรมและการเรียนรู้
จากการได้เห็นและการปฏิบัติจริง นอกจากนี้ศูนย์ศึกษาและพัฒนา
ชมุ ชนนครศรีธรรมราชยังมีฐานการเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียงอีก
มากมายเพอื่ ใหผ้ ู้มาฝกึ อบรมและประชาชนท่ีสนใจได้ศึกษา
เรยี นรู้พรอ้ มฝกึ ปฏิบตั แิ ละสามารถนาความร้ไู ปประยกุ ตใ์ ช้
ให้เกิดประโยชนส์ ูงสุดในพื้นท่ีจริง เกิดการสรา้ งงาน
สร้างรายได้ สร้างความสขุ และพัฒนาคุณภาพ
ชีวิตของประชาชนใหด้ ีข้ึน...

นายชัยวฒุ ิ ครุฑมาศ
ผอ.ศพช.นครศรีธรรมราช

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชมุ ชน Change for Good
พึ่งตนเองไดภ้ ายในปี 2565

1

ขน้ั ตอนการดาเนินงาน

บา้ นพอเพียงตน้ แบบ

ประชมุ วางแผนการดาเนินงานและแนวทางการขับเคล่ือน

สารวจพนื้ ท่ี เลือกทาเลที่ตัง้ และศึกษาขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง
อย่างเปน็ ระบบ

ออกแบบแปลงตามหลักภมู สิ งั คม

ดาเนินการปรับพื้นท่ีและสร้างบ้านพอเพียง โดยใช้วัสดุ
อุปกรณ์ต่างๆท่ีมี โดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วม ผ่านกิจกรรม
เอามอ้ื สามคั คี

คดั เลือกครวั เรือนตน้ แบบ จานวน 1 ครวั เรือน มาอาศัยอยู่ใน
พ้นื ท่ีบ้านพอเพยี งต้นแบบโดยมีการน้อมนาหลกั ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบตั ิจนเปน็ วิถชี ีวติ (Way of life)

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชน Change for Good
พ่ึงตนเองไดภ้ ายในปี 2565

2

ขน้ั ตอนการดาเนินงาน

บา้ นพอเพียงตน้ แบบ (ต่อ)

ครัวเรอื นตน้ แบบดาเนินกจิ กรรมตา่ งๆ ในบริเวณพ้ืนที่

สง่ เสรมิ การตลาด และขับเคล่ือนกิจกรรม “Outlet” ชุมชน

คนพอเพียง

เผยแพรป่ ระชาสมั พันธ์

ส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ รับการฝึกอบรมและการศึกษา
ดงู านอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง เปน็ บา้ นพอเพยี งต้นแบบท่มี ีชวี ิต

สรุปถอดบทเรยี น

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชน Change for Good
พ่ึงตนเองได้ภายในปี 2565

3

บ@้าศนพพชอ.นเพครยี ศงรตีธร้นรแมบราบช

โรงสขี า้ ว นา ผักตัดยอด ไม้ผล คันนาทองคา

หมาก โซนเลี้ยง คลองไส้ไก่
ปลาดกุ ในท่อ ผักหวาน
พริกไทย โรงเรอื น

สวน
สมนุ ไพร

ผัก
สวนครัว

สระนา้ คอนโดกบ ผกั เลอ้ื ย ไก่ไขอ่ ารมณด์ ี

ผักกดู แผนผังบ้านพอเพยี งตน้ แบบ

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

4

บา้ นพอเพียงตน้ แบบ

“บ้านพอเพียงต้นแบบ”ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชน
นครศรีธรรมราช เป็นตัวอย่างความสาเร็จของการบริหารจัดการ

พ้ืนที่ จานวน 3 ไร่ ตามรูปแบบการพัฒนาพ้ืนท่ีต้นแบบการพัฒนา
คุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา พัฒนา
ชุมชน” เพื่อเป็นพื้นท่ีสาหรับการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้หลัก
ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง ใหแ้ ก่ผูท้ ่ีมาฝกึ อบรม ประชาชนท่ัวไปที่
สนใจ ได้เป็นตัวอย่างสาหรับการพัฒนาพื้นที่ของตนเอง อย่างเป็น
รูปธรรมและสามารถพ่ึงพาตนเองได้จริง และมีความม่ันคงทางด้าน
อาหาร พอกนิ พออยู่ พอใช้ พอรม่ เย็น

ซึ่งมีทั้ง การปลูกพืชผัก ในโรงเรือนพลาสติกแบบปิด การเลี้ยง
กบคอนโด การเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์อารมณ์ดี การเลี้ยงปลาดุกในบ่อ
ซีเมนต์กลม การปลูกผักพื้นบ้าน ปลูกสมุนไพร เล้ียงปลา เลี้ยงหอยใน

คลองไส้ไก่ การทานาข้าวทองคา และไม้ 5 ระดับ ที่พิสูจน์ได้จริงว่า
การน้อมนาศาสตร์พระราชาไปสู่การปฏิบัตินน้ั คือทางรอดอย่าง
ยง่ั ยืน

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

5

ปลกู พืชผกั “โรงเรอื นพลาสติกแบบปิ ด”

วัตถุประสงค์ การปลูกพืชผักในโรงเรือนพลาสติกแบบปิด
สามารถปลูกพืชได้สม่าเสมอตลอดทั้งปี
ก า ร ป ลู ก พื ช ผั ก ใ น ผั ก ท่ี ไ ด้ มี คุ ณ ภ า พ สู ง เ พ ร า ะ ค ว บ คุ ม
โรงเรือนพลาสติกแบบปิด สภาพแวดล้อมการเพาะปลูก เช่น แสง
ขนาด 12 x 36 เมตร อุณหภูมิ ความช้ืน คาร์บอนไดออกไซด์และ
มี วั ต ถุ ป ร ะ ส ง ค์ ห ล า ย อาหารของพืช สามารถเลือกชนิดพืชท่ี
ประการ คือ ช่วยป้องกัน ตลาดต้องการและมีราคาสูง เช่น แตงกวา
แมลงศัตรูพืช ไม่ให้เข้ามา ญ่ีปนุ่ ฟักทองญ่ีป่นุ ถ่ัวฝักยาว คะน้าฮ่องกง
ทาลาย หรือทาลายน้อย เมล่อน และแคนตาลูปหมุนเวียนกันไป
ที่สุด ด้วยการทาประตูเข้า สร้างรายได้ 19,200 บาท/เดอื น
แ ล ะ อ อ ก อ ย่ า ง มิ ด ชิ ด
ช่วยรักษาความชื้นและ
อุณหภูมิภายใน ได้ตาม
ต้องการ การปรับปรุงดิน
และการกาจดั วัชพืชกท็ าได้
สะดวก ในระบบปิดจะไม่มี
ก า ร ใ ช้ ย า ฆ่ า แ ม ล ง โ ด ย
สิ้นเชิง ผักจะโตเร็วกว่า
การปลกู กลางแจง้

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชุมชน Change for Good
พึง่ ตนเองได้ภายในปี 2565

6

เล้ยี ง “กบคอนโด”

โดยใช้ยางรถยนต์มาทาท่ีเล้ียงกบ ด้วยวิธีนายางรถยนต์มาซ้อน
กันประมาณ 4-5 ช้ันแล้วนาลูกกบลงไปเล้ียงในล้อรถยนต์พร้อมกับใส่
น้าไว้ในล้อรถยนต์ เพ่ือให้ความเย็นกับกบ ซึ่งกบจะแยกย้ายกันอยู่เป็น
ชน้ั ๆ ไม่มกี ารรบกวนกนั

การเลี้ยงแบบคอนโดในยางรถยนต์น้ันกบจะมีพื้นที่ในการกระโดดน้อย
บางตัวก็จะแยกย้ายกันอยู่ตามชั้นของยางรถยนต์โดยไม่รบกวนกัน ทาให้กบ
แข็งแรงและมีขนาดใหญ่ สว่ นการใหอ้ าหารก็ใช้อาหารอัดเม็ดของปลาดุก โยนลง
ไปในล้อรถยนต์มันก็จะพากันกิน แถมการเลี้ยงแบบคอนโดยังประหยัด
งบประมาณค่าใชจ้ า่ ย

ส่ ว น จ า น ว น ก็ แ ล้ ว แ ต่ ข น า ด ย า ง
ร ถ ย น ต์ เ ช่ น ล้ อ ร ถ ย น ต์ ปิ๊ ก อั พ
จานวน 50 ตัว 3 ชั้น รวม 150 ตัว
ระยะเวลาการเล้ียงเพียง 3 เดือน
จะได้กบขนาด 6 - 7 ตัว/กิโลกรัม
ขายกโิ ลกรมั ละ 90 บาท

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชน Change for Good
พึง่ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

7

เล้ยี งไกไ่ ข่ “อินทรยี อ์ ารมณด์ ี”

การท่ีแม่ไก่อารมณ์ดีน้ัน มีสาเหตุมา อาหาร ก็เล้ียงด้วย
จากระบบการเล้ียงที่เน้นให้เป็นไปตามวิถี
สูตรอาหารธัญพืชปลอดสาร
ธรรมชาติ หรือท่ีเรียกว่าการเล้ียงไก่ ไมใ่ ช้ยาปฏชิ ีวนะ ไม่ใช้ฮอร์โมน
อินทรีย์ ที่เน้นการเลี้ยงปล่อย คือ ปล่อย เร่ง สารเร่งสี และใช้น้าหมัก
ชีวภาพ สมุนไพรต่าง ๆ เพ่ือให้
ให้ไก่เดินเล่นอย่างเป็นอิสระตามธรรมชาติ ไก่มีสุขภาพแข็งแรง เลี้ยงไก่ไข่
ซ่งึ เป็นการช่วยลดความเครียดของไก่ ทาให้ จานวน 30 ตัว สามารถขายไข่
ไก่ไข่ท่ีเล้ียงได้ออกกาลังกาย ได้คุ้ยเขี่ย ไก่ได้ 100-120 บาท/วนั
อาหารตามธรรมชาติ ทาให้ไก่สุขภาพ
แข็งแรง มูลไก่ สามารถนาไป

ขายได้ กิโลกรัมละ 4-5 บาท
หากนาไปใส่พืชผักก็จะทาให้
พื ช ผั ก มี ผ ล ผ ลิ ต ม า ก ขึ้ น
เป็นการเพ่ิมมูลค่าให้กับมูลไก่
ซ่ึงหากนาผักไปขาย ก็จะได้
ราคา กิโลกรัมละ 40-50 บาท
ขน้ึ อยกู่ บั ชนดิ ของพืชผกั ...

เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชมุ ชน Change for Good
พึง่ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

8

เลย้ี งปลาดกุ “บ่อซีเมนตก์ ลม”

การเล้ียงปลาดุกในทอ่ ปูนซีเมนต์ สามารถเล้ียงกัน การเล้ียง

ได้ง่าย ใช้พ้ืนที่ไม่เยอะ และสามารถเคลื่อนย้ายท่อปูนซีเมนต์ได้
ง่ายด้วย ค่าลงทุนในการการเล้ียงก็ไม่มาก นามาเป็นอาชีพเสริม
และไดผ้ ลตอบแทนกเ็ ปน็ ท่ีน่าภมู ใิ จ

นาบ่อซีเมนต์ที่ไม่มีกรดไม่มีด่าง ใส่น้าให้มีความสูง 10 เซนติเมตร นาปลา

ดุกมาแช่น้าในบ่อปูนท้ังถุง แล้วค่อยๆเปิดปากถุงให้ปลาว่ายออกมาเอง วันแรกที่
นาปลามาปล่อยไม่ต้องให้กินอาหาร นาพืชผักที่ปลากิน เช่นผักบุ้ง ผักตบชวาและ
อน่ื ๆ มาใส่ในบอ่

การให้อาหารปลา 1 ตัวให้อาหาร 5 เม็ด/ม้ือ ในช่วงปลาเล็กให้อาหาร
วันละ 2 มื้อ เช้า-เย็น ปลาอายุ 1 เดือนครึ่งให้อาหารปลาขนาดกลาง โดยให้
อาหารวันละ 1 คร้ัง ให้ปลากินตอนเย็น ปลาดุก 3 เดือนคร่ึง ประมาณ 4-5 ตัว/
กิโลกรัม จาหน่ายได้กิโลกรัมละ 60-70 บาท หรือนาไปแปรรูปเป็นปลาดุกแดด
เดยี วในราคา ตัวละ 20 บาท

ในส่วนของหัวปลา เศษปลา พุงปลา สามารถนาไปทาเป็นน้าหมักชีวภาพ
เพ่อื ใชใ้ นการบารงุ พชื ผกั ต่อไป...

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชมุ ชน Change for Good
พ่งึ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

9

ผกั พ้ืนบา้ น

เศรษฐกิจฐานรากม่ันคงและชุมชน Change for Good
พึ่งตนเองไดภ้ ายในปี 2565

10

สวนสมนุ ไพร

การเจ็บป่วยด้วยโรคภัยต่าง ๆ ใกล้

ตัวมากมาย สมุนไพรไทย ถือเป็น

ทางเลือกสามารถใช้ดูแลสุขภาพ และ
สามารถปลูกได้เองท่ีบ้าน เช่น กระเพรา,
ขิง, ข่า, ตะไคร้, ขมิ้นขาว, กระวาน,
มะแว้งเครือ, อัญชัน, พริกไทย, ผักแพว,
ชะพลู, บัวบก, ฟ้าทะลายโจร, มะกรูด,
มะระข้ีนก, วา่ นหางจระเข,้ และสะระแหน่
เป็นตน้ ขายได้ 200 - 250 บาท/วนั

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชน Change for Good
พงึ่ ตนเองได้ภายในปี 2565

11

เล้ยี งปลา เล้ียงหอย “ในคลองไสไ้ ก”่

คลองไสไ้ ก่

คลองไส้ไก่ หรือคลองระบายน้ารอบ

พื้นท่ีบ้านพอเพียงต้นแบบ มีขนาดความกว้าง
1.5 ม. ยาว 80 ม. เพื่อให้น้ากระจายเต็มพื้นที่
และเพ่ิมความชุ่มชื้น ลดข้ันตอนการรดน้าต้นไม้
เป็นการกักเก็บน้าไว้ใช้ยามหน้าแล้งหรือจาเป็น
และเปน็ ทร่ี บั น้ายามน้าท่วม

คลองไสไ้ ก่ สามารถใช้เป็นพนื้ ทีเ่ ล้ียงปลาสร้าง

รายไดเ้ ปน็ อย่างดี เช่น ปลาดกุ ปลาหมอ ปลานิล
ปลาตะเพยี น ปลาช่อน และหอยขม เปน็ ต้น

เศรษฐกจิ ฐานรากมั่นคงและชมุ ชน Change for Good
พ่ึงตนเองไดภ้ ายในปี 2565

12

นาทองคา

พนั ธข์ ุ า้ ว ขา้ วอินทรยี พ์ ้ืนบา้ น
โดยเร่ิมจากการฟ้ืนฟูดิน ควบคุมปริมาณน้า

ในนา เพ่ือคุมหญ้าและไม่ต้องใช้สารเคมี มีน้า
เพียงพอสามารถเล้ียงปลาหมอในนาข้าวได้อีกด้วย

ยกคันนาให้เป็นคันนาทองคา ให้มีความสูงและ

กว้าง เพ่ือใช้เป็นที่รับน้ายามน้าท่วม ปลูกพืชผัก
สมุนไพร มะละกอ กล้วย ฯลฯ เพื่อเป็นแหล่งอาหาร
ตามคนั นา

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชุมชน Change for Good
พงึ่ ตนเองได้ภายในปี 2565

13

ไม้ 5 ระดบั

“บ้านพอเพียงต้นแบบ” ศูนย์ศึกษาและพัฒนา

ชุมชนนครศรีธรรมราช น้อมนาพระราชดาริการ
พัฒนาป่าไม้ ของพระบาทสมเด็จพระ บรม
ชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
บรมนาถบพิตร ในการผสมผสานการอนุรักษ์ ดิน
น้า และการฟื้นฟูทรัพยากรป่าไม้ ควบคู่กับความ
ต้องการด้านเศรษฐกิจ มีการปลูกป่า 3 อย่าง
ประโยชน์ 4 อย่าง โดยเป็นการปลูกไม้ 5 ระดับ
ตามหลักกสิกรรมธรรมชาติ ประกอบด้วยต้นไม้
หลากหลายชนิดพันธ์ุ แบ่งตามระดับช่วงความสูง
และระบบนเิ วศ คอื

เศรษฐกิจฐานรากมนั่ คงและชุมชน Change for Good
พ่ึงตนเองได้ภายในปี 2565

14

ไม้ 5 ระดบั (ต่อ)

ไม้สงู เป็นไม้เรือนยอดสงู สดุ และอายยุ นื เชน่ ตะเคยี น
ไมก้ ลาง ยางนา ต้นยาง พยงุ ฮอกกานี พะยอม ไมแ้ ดง
ไมเ้ ตี้ย
กระถนิ เทพา เทียม ยูคาลปิ ตัส ฯลฯ

เป็นไม้ทไี่ มส่ งู นกั เป็นบรรดาไม้ผลท่ีเกบ็ กนิ
ได้ เชน่ มะม่วง ขนุน กระทอ้ น สะตอ ฝรง่ั
ส้มโอ มะยม ส้มเมา่ ตน้ ยอ ปาล์ม ฯลฯ

เป็นต้นไม้พันธ์ุพุ่มเตี้ย เช่น พริก มะเขือ
ผักหวาน สมุยหอม ชะอม มะกอก ผักกูด พริก
โหระพา กระเพรา กลว้ ย มะนาว ชะอม ฯลฯ

ไม้ ไมเ้ ลือ้ ยเร่ียดนิ ตระกูลไมล้ ม้ ลุกทที่ อดยอดเลอ้ื ยได้
เรยี่ ดนิ เช่น พริกไทย ฟกั ทอง แตงกวา ตะไคร้ ผักบงุ้
มะระ ถัว่ พลู บวั บก สะระแหน่ ผกั บุ้ง ผักแขยง
ไมห้ ัว
ใต้ดนิ ไมห้ ัวใต้ดิน เช่น มัน เผอื ก กลอย
มนั สาปะหลงั กวาวเครือ ขงิ ขา่ กระชาย
กระวาน ขมิ้น สาคู (หวั กลว้ ย) มันมอื เสือ

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมชน Change for Good
พึง่ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

15

บา้ นพอเพียงตน้ แบบ “ลดรายจ่าย”

มีขา้ ว มโี รงสขี ้าวไว้กินเอง
มผี ักสวนครวั และสมุนไพรไว้กนิ เอง
มสี ัตวเ์ ป็นอาหาร ปลา กบ หอย ฯ
มีการแปรรปู ถนอมอาหาร เชน่ ปลาดุกแดดเดยี ว
มีไข่ไกไ่ ว้กินเอง
มมี ลู ไก่ไขอ่ ารมณ์ดไี ว้ทาปุ๋ย

มีหัวปลา ขี้ปลา ทานา้ หมัก

เศรษฐกจิ ฐานรากมน่ั คงและชุมชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

16

บา้ นพอเพียงตน้ แบบ “สรา้ งรายได”้

รายวัน มาจาก ไข่ไกอ่ ารมณ์ดี ผกั พื้นบา้ น
สมนุ ไพร ปลาดุกแดดเดยี ว

รายสปั ดาห์ มาจาก ผกั ตัดยอด ผัก

รายเดอื น มาจาก ผักกาดขาว กวางตงุ้ ฮ่องกง
คะนา้ ฮอ่ งกง แตงกวาญี่ปุ่น กบ ปลาดกุ
ราย
3 เดือน มาจาก กระเจ๊ยี บแดง แกว้ มังกร
หอย
รายปี
มาจาก หมาก พริกไทย ทุเรยี นนา้

5-6 ปี คาดวา่ จะมรี ายได้มาจากไมผ้ ล

เศรษฐกิจฐานรากมั่นคงและชุมชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

17

ผลสาเรจ็ ของบา้ นพอเพียงตน้ แบบ

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามหลักทฤษฎีใหม่
ประยุกต์สู่ “โคก หนอง นา โมเดล” เป็นศูนย์เรียนรู้ที่มีชีวิต สามารถส่งเสริมกระบวนการ
เรยี นรู้ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ให้แก่ผทู้ มี่ าฝกึ อบรม ศึกษาดงู านและผู้ทส่ี นใจ

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็นโมเดลจาลองที่แสดงให้เห็นว่าครัวเรือนสามารถใช้ชีวิตด้วยการ
น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงบนพื้นที่เรียนรู้ต้นแบบ “โคก หนอง นา โมเดล”
ได้จริงซึ่งสามารถเป็นทางรอดในสถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ เช่นการแพร่ระบาดโรคติดต่อเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 หรือสถานการณ์วิกฤตต่าง ๆ ในอนาคต

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็นต้นแบบในการสร้างความม่ันคงทางด้านอาหาร ด้วยหลักปรัชญา

ของเศรษฐกิจพอเพยี ง “ปิดหม่บู ้านหลายเดอื นสามารถอยู่ได้”

บ้านพอเพียงต้นแบบ สามารถพัฒนาและต่อยอดผลผลิตของบ้านพอเพียง เพ่ือเพิ่มมูลค่า
สร้างรายได้เสริม มีการแปรรูปอาหารประเภทต่าง เช่น ปลาดุกแดดเดียว กบแดดเดียว
แหนม

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็น “Outlet” ชุมชนคนพอเพียง โดยเป็นศูนย์รวบรวมผลผลิตของ

ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราชและประชาชนบริเวณพ้ืนท่ีใกล้เคียงศูนย์ฯ
เพื่อนาไปจาหน่ายในตลาดนัดชมุ ชนและเพจบ้านพอเพยี ง

เศรษฐกิจฐานรากมน่ั คงและชุมชน Change for Good
พ่งึ ตนเองได้ภายในปี 2565

18

ผลสาเรจ็ ของบา้ นพอเพียงตน้ แบบ (ต่อ)

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็นคลังยาสมุนไพรและแหล่งอนุรักษ์พันธุกรรมพืช เพ่ือแลกเปล่ียน
แบง่ ปนั
บา้ นพอเพียงตน้ แบบ สามารถเปน็ ศนู ยก์ ารเรียนร้ใู นการฝกึ อบรมอาชพี ระยะสัน้
บ้านพอเพยี งตน้ แบบ สามารถเชอื่ มโยงการสร้างเครือข่าย ภาคกี ารพัฒนา

บ้านพอเพียงต้นแบบ เป็นศูนย์กลางในการเช่ือมโยงฐานการเรียนรู้อื่น ๆ ของศูนย์ศึกษาและ
พฒั นาชมุ ชนนครศรธี รรมราช

บ้านพอเพียงต้นแบบ สามารถสร้างงาน สร้างรายได้ สร้างความสุข สร้างคุณภาพชีวิตที่ดีแก่
ครวั เรือนตน้ แบบได้

ครัวเรือนต้นแบบ สามารถเป็นวิทยากรในการถ่ายทอดองค์ความรู้กิจกรรมต่าง ๆ ของบ้าน
พอเพยี งแกผ่ ู้ท่มี าฝกึ อบรม ศกึ ษาดงู านและผู้ที่สนใจ

ครัวเรือนต้นแบบ มีการปลูกฝังการน้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงแก่สมาชิกใน
ครวั เรือน และเยาวชน

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมชน Change for Good
พ่ึงตนเองได้ภายในปี 2565

ภาคผนวก

เศรษฐกจิ ฐานรากมัน่ คงและชุมชน Change for Good
พ่งึ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

จากใจครวั เรอื นตน้ แบบ

“ครอบครัวของดิฉันมีทั้งหมด 4 คน (สามี ลูก 2 คน และตัว
ดิฉัน) มีอาชีพค้าขาย เม่ือก่อนจะรับซื้อผลผลิตแล้วนาไปขายใน
ตลาด การดาเนนิ ชวี ติ ในแตล่ ะวนั ล้วนแตม่ คี า่ ใช้จา่ ยท้ังนั้น แม้แต่จะ
ตาน้าพริก ก็ต้องซื้อพริกจากแม่ค้าผักในตลาด เรายกให้ส่ิงนั้นเป็น
ต้นทนุ ชีวิต จะดีกวา่ ไหมถา้ เราลดตน้ ทุนชีวติ ในสว่ นน้ีได้

ดิฉันและครอบครัวโชคดีมากท่ีท่านผอ.ชัยวุฒิ ครุฑมาศ
ผอ.ศูนย์ศึกษาและพัฒนาชุมชนนครศรีธรรมราช ได้คัดเลือกและให้
โอกาสครอบครัวของเรามาเป็น ครัวเรือนต้นแบบของบ้านพอเพียง
ได้ปรับเปล่ียนชีวิตจากการค้าขายมาเป็นเกษตรกร ปรับเปลี่ยนวิถี
ชีวิตให้พอกิน พออยู่ พอใช้ พอร่มเย็น ได้เรียนรู้และเข้าใจหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งในการพึง่ พาตนเอง ช่วยเหลือแบ่งปัน
ผู้อื่นและสังคม โดยกิจกรรมที่เกิดขึ้นในร้ัวของบ้านพอเพียง
บนพื้นท่ี 3 ไร่ มีการปลูกผัก ปลูกไม้ 5 ระดับ ปลูกพืชสมุนไพร
เลี้ยงปลา เลี้ยงกบคอนโด เลี้ยงไก่ไข่ แปรรูปปลาแดดเดียว
ปลูกข้าว มีปลูกผักบนคันนาทองคา ซึ่งทาให้ครอบครัวของดิฉัน
สามารถลดรายจ่ายจากการมีผักสวนครัวปลอดสารพิษ ปลา กบ
ไขไ่ ก่ ข้าว สมนุ ไพร ผลไม้ ไวก้ นิ เอง แบ่งปัน และขายเพ่ิมรายได้ใน
ครัวเรอื น ทาใหใ้ นปัจจุบันครอบครวั ของดฉิ นั มคี วามสขุ
สมาชกิ ในครอบครวั มีกจิ กรรมไดท้ าร่วมกัน”

เศรษฐกจิ ฐานรากม่ันคงและชุมชน Change for Good
พ่งึ ตนเองไดภ้ ายในปี 2565

จากใจครวั เรือนตน้ แบบ (ต่อ)

“ดฉิ นั และสามี มีความภาคภูมิใจมากทีไ่ ดเ้ ปน็ ส่วนหนึ่ง
ในการสานต่อศาสตร์พระราชาของพ่อหลวงรัชกาลที่ 9

ในการร่วมเป็นวิทยากรถ่ายทอดองค์ความรู้ต่างๆ ในพ้ืนที่บ้าน
พอเพียง ใหแ้ ก่ผมู้ าฝึกอบรมและประชาชนที่สนใจของศูนย์ศึกษา
และพฒั นาชุมชนนครศรีธรรมราช

ดิฉันและครอบครัวขอขอบพระคุณท่านสุทธิพงษ์ จุลเจริญ
อธิบดีกรมการพัฒนาชุมชนที่ได้มีนโยบายในการดาเนินงาน
โครงการ โคก หนอง นา พช. เพ่ือช่วยเหลือประชาชนให้อยู่รอด
แม้จะมีวิกฤตต่าง ๆ เกิดข้ึน ขอบพระคุณท่าน ผอ.ชัยวุฒิ ครุฑมาศ
ผอ.ศพช.นครศรีธรรมราช และเจ้าหน้าท่ีของศูนย์ฯ ทุกท่าน

ท่ีได้ให้โอกาสและเติมเต็มชีวิตครอบครัวของดิฉันให้มีคุณภาพ
ชวี ติ ทด่ี แี ละมีความสุข”

นางสาวนศิ ารตั น์ ต้งั ฤทัยวรรณ

ครวั เรอื นต้นแบบ

เศรษฐกจิ ฐานรากมนั่ คงและชมุ ชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

สือ่

SMART ENERGY ตอน โคก หนอง นา โมเดล

บ้านพอเพียงต้นแบบ ศพช.นครศรธี รรมราช

ชอ่ งไทยรัฐทวี ี 32

รายการตามรอยใต้ ตามรอยศนู ยศ์ กึ ษาและ

พัฒนาชมุ ชนนครศรธี รรมราช

ครเู ชาวโ์ ชว์

3 ไร่ พอเพียง โคก หนอง นา โมเดล

ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

ช่อง Youtube : Super Young Change for Good
: ศพช.นครศรธี รรมราช

เศรษฐกจิ ฐานรากม่นั คงและชุมชน
พงึ่ ตนเองได้ภายในปี 2565

คณะผจู้ ดั ทา

ช่ือหนังสือ องคค์ วามร้บู า้ นพอเพยี งตน้ แบบ
จดั ทาโดย ศูนยศ์ ึกษาและพัฒนาชมุ ชนนครศรธี รรมราช
ปีท่ีพมิ พ์ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
ท่ีปรึกษา นายชยั วุฒิ ครุฑมาศ

ผอ.ศพช.นครศรีธรรมราช
คณะผู้สังเคราะหค์ วามรู้

กลมุ่ งานทรัพยากรบคุ คล
นางสาวรัตจริ า พูลเกดิ
นางกาญจนา อรา่ มวทิ ย์
นายศุภฤกษ์ หิรญั สาลี
นายสูเปียน กาโฮง
นางสาวมรสิ า มณีโชติ
นางสาวบุษยมาศ คมุ้ นยุ้
ผเู้ รียบเรยี ง นางสาวมรสิ า มณีโชติ
ผจู้ ดั ทาปก นางสาวมรสิ า มณีโชติ
ผ้บู ันทกึ ภาพ นายศภุ ฤกษ์ หิรญั สาลี
นายสูเปยี น กาโฮง

เศรษฐกิจฐานรากมัน่ คงและชมุ ชน Change for Good
พง่ึ ตนเองได้ภายในปี 2565

“บา้ นพอเพียงตน้ แบบ”

เศรษฐกิจฐานรากม่นั คงและชุมชน Change for Good
พึ่งตนเองได้ภายในปี 2565


Click to View FlipBook Version