The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงาน ประเพณีเลี้ยงดง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by thanyamon4098, 2022-05-23 10:30:38

รายงาน ประเพณีเลี้ยงดง

รายงาน ประเพณีเลี้ยงดง

รายงาน

เรอ่ื ง ประเพณเี ล้ยี งดง หรอื ประเพณเี ลยี้ งผี ปแู่ สะ ยา่ แสะ

เสนอ
ผศ.สาโรช สะอาดเอย่ี ม

จดั ทำโดย
นาง อำพร อินตารกั ษา
รหัส 062 ภาคพิเศษ ชั้นปีที่ 1 หอ้ ง 2

รายงานฉบบั น้ีเป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษา
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษาค้นควา้ รหสั วิชา GE4005

มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา

รายงาน

เรอ่ื ง ประเพณีเล้ยี งดง หรอื ประเพณเี ลยี้ งผี ปแู่ สะ ยา่ แสะ

เสนอ
ผศ.สาโรช สะอาดเอย่ี ม

จดั ทำโดย
นาง อำพร อินตารกั ษา
รหัส 062 ภาคพิเศษ ชั้นปีที่ 1 หอ้ ง 2

รายงานฉบบั นเ้ี ป็นสว่ นหนึ่งของการศกึ ษา
วิชาเทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การศึกษาค้นควา้ รหสั วิชา GE4005

มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราชวทิ ยาลัย วิทยาเขตลา้ นนา



คำนำ

รายงานฉบบั นเี้ ป็นส่วนหนงึ่ ของรายวชิ า เทคโนโลยสี ารสนเทศเพื่อการศึกษาคน้ คว้ารหสั วชิ า
GE4005 ชน้ั ปที 1ี่ สาขาวิชาการปกครอง มหาวิทยาลยั มหามกุฎราชวทิ ยาลัยวทิ ยาเขตลา้ นนา

โดยมีจุดประสงคเ์ พื่อรวบรวมเน้ือหา และศึกษาประวตั คิ วามเปน็ มาของงานประเพณีเลี้ยงดง
หรือประเพณีเล้ียงผี ปู่แสะ ย่าแสะ ซึ่งเกิดข้ึนท่ีบริเวณเชิงวัดพระธาตุดอยคำ ในเขตตำบลแม่เหียะ
อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ เป็นประเพณีที่น่าสนใจ น่าศึกษาและควรอนุรักษ์ไว้ ให้คนรุ่นลูกรุ่น
หลานไวส้ ืบทอดต่อไป

ขอขอบพระคุณอาจารย์ผู้สอน อาจารย์ ผศ. สาโรช สะอาดเอี่ยม ท่ีได้ถา่ ยทอด วิชาความรู้
และประสบการณ์ ในการจดั ทำรายงานฉบบั นใี้ หส้ ำเร็จลลุ ่วงไปด้วยดี

สาเหตทุ ข่ี ้าพเจ้าเลอื กหวั ขอ้ นี้มาทำรายงานเพราะว่าเป็นหัวขอ้ ทน่ี ่าสนใจและนา่ ศกึ ษาค้นคว้า
และข้าพเจ้าหวังเปน็ อย่างยิง่ ว่ารายงานฉบบั น้ีจะเปน็ ประโยชน์และให้ความรู้กับผู้สนใจไมม่ ากก็น้อย
หากมีขอ้ เสนอแนะประการใด ขา้ พเจ้าผจู้ ดั ทำขอน้อมรับดว้ ยความยนิ ดีและขอบพระคุณย่งิ

นางอำพร อินตารกั ษา รหัส 062
ผู้จัดทำ

19 พฤษภาคม พ.ศ. 2565

สารบญั ข

เน้ือหา หนา้

คำนำ ก
สารบญั ข
บทนำ 1
ประวตั คิ วามเปน็ มาของพิธเี ลี้ยงดง (ผปี ่แู สะ ยา่ แสะ ) 2
พธิ เี ลยี้ ง 3
คำอญั เชญิ ป่แู สะ ยา่ แสะ 4
บรรณานุกรม 12
ภาคผนวก 14

1

บทนำ

รายงานน้ีน้ีเป็นการศึกษาเร่ืองราวปู่แสะย่าแสะ กับประเพณีเล้ียงผีเมืองเชียงใหม่
ทำการศึกษาจาก ตำนาน เอกสารประวัติศาสตร์การสัมภาษณ์เชิงลึก และสังเกตการณ์อย่างมีส่วน
ร่วม ผลการศึกษาพบว่า ปู่แสะย่าแสะ ถือเป็นหนึ่งในอารักษ์ผีเมือง เจนบ้านเจนเมืองที่เก่าแก่และ
สำคัญของเมืองเชียงใหม่ พิธีเล้ียงผีปู่แสะย่าแสะมีความสัมพันธ์เกี่ยวโยงกับชาวลัวะ กลุ่มชนเก่าแก่
ของอุษาคเนย์และสะท้อนถึง การปะทะประสานทางวัฒนธรรมระหว่างคติความเช่ือด้ังเดิมกับพุทธ
ศาสนา ระหว่างกลุ่มชนพื้นเมือง เก่า กับกลุ่มชนที่สมาทานในวัฒนธรรมที่สูงกว่าผสมผสานจน
กลายเป็นธรรมเนียมปฏิบตั ิของชาวเมอื ง เชียงใหม่มาแต่โบราณ ในอดีตการเล้ียงผีปแู่ สะย่าแสะ เป็น
สว่ นหนึง่ พิธีเล้ียงผีเมืองทจ่ี ะกระทำอย่าง พร้อมเพรยี งกันหลายจุดทั่วทั้งเมืองเชียงใหมใ่ นช่วงเดอื น 8
ถึง เดอื น 9 (เหนือ) ปู่แสะย่าแสะกับ ประเพณีเล้ียงผีเมืองเชียงใหม่ กระบวนการรวมศูนยอ์ ำนาจนับ
แต่สมยั รัชกาลที่ 5 มีผลให้พิธกี รรมเล้ียงผีในระดับเมืองค่อย ๆ สญู หายไป อย่างไรก็ตาม การเลี้ยงผปี ู่
แสะยา่ แสะ กลบั ยงั คงดำรงสืบตอ่ มาโดยองคก์ รชาวบา้ น และ ถูกเรียกในช่ืออยา่ งสามัญวา่ “เลีย้ งดง”
ขณะทป่ี ู่แสะย่าแสะได้กลายเป็น ผี/สิ่งศักดิ์สทิ ธิป์ ระจำท้อง ท่แี ถบตำบลแม่เหียะ บริเวณดอยคำ นอก
ตวั เมืองเชียงใหม่ ซ่ึงทุกปชี าวบา้ นยังทำการเลยี้ งจนถงึ ปจั จบุ นั

2

ประวตั คิ วามเปน็ มาของพธิ ีเล้ยี งดง (ผีปูแ่ สะ ยา่ แสะ )

มเี รอ่ื งเลา่ วา่ สมัยทพ่ี ระพทุ ธเจ้าเสด็จมาโปรดสัตว์ถงึ เชงิ ดอยคำได้พบยักษส์ ามตนพ่อ
แมล่ กู ซ่ึงยังชพี ด้วยเนอ้ื สัตว์และเนอ้ื มนษุ ย์ เม่อื ยักษ์ทงั้ สามเห็นพระพทุ ธเจ้ากจ็ ะจบั กนิ แต่
พระพุทธองค์ทรงแผเ่ มตตาจนยักษท์ ัง้ สามเกรงในพระบารมีจงึ ยอมแสดงความเคารพ
พระพุทธเจา้ จึงทรงเทศนาและให้ยักษ์ทัง้ สามรกั ษาศีลห้า แต่ผปี ่แู สะยา่ แสะไมอ่ าจรบั ศีลห้า
ได้ตลอดจึงขอกินเนือ้ มนุษยป์ ลี ะสองคน เมอ่ื พระพุทธองค์ไมอ่ นญุ าต ก็ขอตอ่ รองลงมาเรือ่ ย
ๆ จนขอกินเน้อื สัตว์ ซ่ึงพระพทุ ธองคต์ รัสบอกให้ไปถามเจา้ เมืองเอาเอง แลว้ พระพุทธองค์ก็
เสดจ็ จากไป โดยไวพ้ ระเกศธาตุทตี่ ่อมากลายเป็นพระธาตุดอยคำผีปู่แสะยา่ แสะไดร้ บั อนญุ าติ
จากเจ้าเมืองให้กนิ ควายได้ปีละคร้ัง จึงได้มปี ระเพณฆี ่าควายเอาเนอื้ สดสงั เวยผปี ู่แสะย่าแสะ
ส่วนบุตรของปแู่ สะย่าแสะได้บวชเป็นฤาษีชอ่ื สเุ ทวฤาษี ปัจจบุ นั พธิ ีเล้ียงผปี ู่แสะย่าแสะ ถกู จดั
ขึ้นเป็นประจำทกุ ปี ในวันขึน้ หรอื แรม 14 คำ่ เดือน 9 บรเิ วณเชิงชายป่าดา้ นตะวนั ออกของ
ตำบลแม่เหยี ะ อำเภอเมอื ง จงั หวัดเชยี งใหม่ สำหรบั พธิ ีเซน่ สรวงนี้ ทำเพอ่ื แสดงความกตญั ญู
ตอ่ บรรพบุรษุ และเชอ่ื วา่ จะทำให้ฝนตกต้องตามฤดกู าล และผลผลิตทางการเกษตรจะ
ไดผ้ ลดี โดยถอื ว่าเป็นการปดั เป่าไม่ให้สง่ิ เลวรา้ ยมากินบา้ นเมอื ง ในพิธเี ลี้ยงผปี ่แู สะยา่ แสะนัน้
ชาวบา้ นจะเลยี้ งผขี ุนหลวงวิรงั คะ ซงึ่ หมายปองนางจามเทวีในอดีตไปพร้อมกนั ดว้ ย ก่อนเริ่ม
พธิ จี ะมกี ารขน้ึ ทา้ วทังส่ี คอื พธิ ีบอกกล่าวแก่ท้าวจตุโลกบาต มกี ารสร้างปราสาท คือหอ

3

ชั่วคราวทำดว้ ยโครงไม้ไผ่ 12 หอ ซงึ่ ปราสาทของปแู่ สะย่าแสะจะมขี นาดใหญ่กว่าผีอืน่ ๆ
โดยถือว่าผีปแู่ สะย่าแสะนเี้ ปน็ ผยี กั ษ์

พิธีเลย้ี ง

สัตว์ท่ีจัดมาสังเวยผีปู่แสะย่าแสะคือควายเขาดำ และต้องเป็นควายรุ่นหนุ่มที่มีเขา
สน้ั แค่หู ในช่วงเช้ามืดของวันงาน ควายจะถูกฆ่า (การฆา่ จะเป็นหน้าทข่ี องผู้ชาย) เช่ือกันว่า
ควายเทียบได้กับชีวิต ควายได้ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับคนมา ดังนั้น ควายถือได้ว่าเป็นตัวแทน
ของคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติเพ่ือแก้ข้อขัดแย้ง ส่วนต่างๆ ของควายเทียบได้กับส่วนต่างๆ
ของสังคม ที่ต้องประกอบกันจงึ จะบรรลุเป้าหมาย สำหรับเน้อื ควายท่ใี ชบ้ ูชาแลว้ นนั้ จะเอามา
กินรว่ มกัน และยงั มีการต้ังชือ่ ลกู ตามชอื่ ของควายที่ตายไปด้วย เพ่ือเป็นการตอบแทนหน้าที่
ในการเตรียมเครื่องเซ่นต่าง ๆ เป็นหน้าที่ของผู้หญิงที่จะต้องจัดเตรียมให้เสร็จก่อนวันงาน
ไม่ให้ขาดตกบกพร่อง ในพิธีกรรมพบว่ามีความเช่ือในเร่ือง "ขวัญ" ด้วย โดยการที่นำ
สายสิญจน์ในพิธีมาสู่ขวัญให้แก่ลูกหลานที่มาร่วมพิธีคนทรงเป็นย่าแสะจะเป็นผู้หญิง ใน
ระหว่างทำพิธีจะหลับตา เพราะเชื่อว่าถ้าลืมตามองใครคนน้ันจะตาย เช่ือว่าย่าแสะสามารถ
บันดาล ให้ฝนตกได้ ผีปู่แสะย่าแสะเป็นส่ิงที่เป็นที่นับถือของชาวเชียงใหม่มาแต่อดีต คน
โบราณเช่ือว่าหากไมท่ ำพิธเี ลี้ยงผีปู่แสะยา่ แสะ บ้านเมืองจะหาความสงบสขุ ไม่ได้ และจะเกิด
ภัยพิบตั ติ ่าง ๆเมอื่ เริม่ พิธี ปู่อาจารยห์ รอื ตั้งเขา้ (คือคนประกอบพิธี) จะทำพธิ ีอัญเชิญผปี ู่แสะ
ย่าแสะก่อนอ่ืน ๆ โดยมีใจความว่าขอเชิญผีปู่แสะย่าแสะเปนเค้า ( “ เป๋นเก๊า ” ) คือเป็น
ประธานของผีท้ังหลาย พร้อมท้ังผีลูกหลานเสนาอำมาตย์ท้ังปวงมารับเครื่องสังเวย และ
ขอใหผ้ ที ้ังหลายช่วยกนั ดแู ลรกั ษาบา้ นเมืองใหอ้ ยเู่ ปน็ สุขจากนัน้ ผีปู่แสะย่าแสะจะเข้าทรงม้าข่ี
หรือคนทรงกจ็ ะแต่งตัวด้วยเสื้อผ้าทจ่ี ัดไว้แล้วอวยชยั ให้พรต่าง ๆต่อจากนั้นผีในร่างทางก็จะ
ไปหยิบอาหารจากกระทงในปราสาทท้ัง 12 มากินอย่างละเล็กละน้อยพร้อมท้ังด่ืมสุราที่

4

จดั ไว้ให้ จากน้ันก็ไปน่ังบนหนังควายและโยกหัวควายไปมา พร้อมกันำเอา
เนื้อสดที่แขวนไว้ท่ีหอเค้ียวกันไปด้วย เม่ือเคี้ยวกินเนื้อและด่ืมสุราแล้ว ม้าขี่ก็จะ
นำเอาท่อนไม้มาทำที่แคะฟันแสดงว่าอ่ิมหนำสำราญแล้วและท้ายสุด ม้าขี่จะล้มลง
นอนกบั พืน้ สกั คร่หู นงึ่ เมอ่ื ผลี าทรงแล้วกล็ กุ ขึน้ มามีอาการเปน็ ปกติ

ภายหลงั การนำเอาพิธกี รรมทางพุทธศาสนาเข้ามาเกี่ยวขอ้ งด้วย โดยมีการ
ทำบุญเลี้ยงพระก่อนการทำพิธีสังเวยและในช่วงที่พระสงฆ์สวดอยู่นั้น ก็เชิญเอา
พระบฎหรือแผ่นผ้าท่ีวาดรูปพระพุทธเจ้ามาแขวนให้แกว่งไกวไปมา เพื่อแสดงว่า
พระพทุ ธเจา้ ยังดำรงพระชนม์ชพี อยู่ เมอื่ มา้ ขไี่ ปถึงกจ็ ะใช้ไม้ตีที่พระบฎนั้น เป็นทว่ี ่า
พยายามทำร้ายพระพุทธเจ้าและตอนท้ายก็ยอมรับพุทธานุภาพ พิธีเล้ยี งดงปู่แสะย่า
แสะน้ี ปฏิบัติกันมานานร่วมร้อยปีติดต่อกันมาแล้ว เพราะเป็นความเช่ือถือว่าหาก
ผู้ใดได้เข้าร่วมพิธแี ลว้ จะรอดพ้นจากภัยพบิ ัตทิ ง้ั ปวง ไม่ปว่ ย ไมเ่ จ็บ ไมไ่ ข้

คำอญั เชิญ ปแู่ สะ ยา่ แสะ

“...โภนฺโต อยฺกา ขา้ แตป่ ูเ่ จา้ ยา่ เจา้ คอื ว่าปู่แสะยา่ แสะและเจ้าเปน็ เคา้ และ
เสนาอำมาตย์เจ้าชตุ น อนั อยรู่ กั ษาตีนเขาดอยสุเทพ อฉุ ุบพั พตา คือว่าดอยสุเทพเจา้
(และดอยคำเจ้า**) และรกั ษาเขตสมี าเมอื งเชียงใหม่...บัดนพี้ ระองค์เปน็ เจ้าอยเู่ ค้า
อยู่ เหนือหวั นพบรุ ีนครเชียงใหมเ่ ปน็ เค้า และเจ้าอปุ ราชฝา่ ยหนา้ หอคำและสิงสาสน์
เจา้ ราชบุตรเจ้าชตุ น และท้าวพญาเหนอื สนามชตุ น ประชาณาราษฎรชุคน กใ็ ชข้ ้า
หื้อ เป็นราชทูต นำเอามหิงษาควายตัวเลาเขางาม นำมาถวายตามจารีตประเวณมี ี
มาลว่ งแล้ว ตามโบราณจารีตแต่อ้นั เดมิ มีล่วงแลว้ แตก่ อ่ นดีหล.ี ..ขอปู่เจา้ ย่าเจ้าจุ่งมา
รบั เอาแล้ว...” (ไกรศรนี ิมมานเหมินทร์2527, 83)

5

รูปจำลอง ปู่แสะ ย่าแสะ ทศี่ าล ปแู่ สะ ยา่ แสะ เชิงดอยคำ
อ้างอิง http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658

รปู พธิ อี ัญเชญิ ดวงวิญญาณ ปู่แสะ ยา่ แสะเข้ารว่ มพธิ ี
แหล่งข้อมูล
อา้ งองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658

6

รูป ร่างทรงของป่แู สะกำลังกินเน้ือควายดิบ ที่นำมาสงั เวยบนตน้ ไม้
แหลง่ ขอ้ มูล
อา้ งอิง http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658

7

รูป รา่ งทรงกาลงั กนิ เลอื ดควายสด ที่นามาสงั เวย
แหลง่ ข้อมลู
อา้ งอิง http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge
&id=658

8

รปู พระบฎ หรอื ภาพวาดของพระพุทธเจา้ ที่ศักดส์ิ ิทธิ์
แหล่งข้อมลู
อ้างองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=re
adknowledge&id=658

9

รูปอาหาร ทน่ี ำมาสังเวย ป่แู สะ ย่าแสะ
แหลง่ ขอ้ มูล
อา้ งองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readknowledge
&id=658

10

รปู ควายดำท่ีนำมาฆา่ เพ่อื สงั เวยในพิธี
แหลง่ ขอ้ มลู
อ้างองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658

11

รูปร่างทรงกำลังขึ้นนง่ั บนควายดำที่นำมาสงั เวย และเคย้ี วเนือ้ ดบิ กนิ
ดว้ ยความพึงพอใจ
แหล่งข้อมูล
อา้ งองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658

12

บรรณานกุ รม

แหล่งขอ้ มูล
อา้ งองิ http://www.sahavicha.com/?name=knowledge&file=readkno
wledge&id=658
เขียนโดย Unknown ท่ี 05:17 สบื คน้ 18 พฤษภาคม 2565
file:///C:/Users/Administrator/Downloads/sjss,+Journal+manager,+_
12-1710(099-122)Part6%20(1).pdf
สืบคน้ 18 พฤษภาคม 2565

13

ภาคผนวก

14

ประวัตผิ ูจ้ ัดทำ

ชอื่ - นามสกุล รหัส นางอำพร อนิ ตารกั ษา รหัส 062

วนั เดอื น ปี เกดิ 24 มีนาคม 2513

ภมู ลิ ำเนา (ทอี่ ย่)ู 361/56 หมทู่ ่ี7 บา้ นตำหนักใหม่ ต. แม่เหยี ะ

อ. เมือง จ. เชยี งใหม่ รหัสไปรษณีย์ 50100

การ ศกึ ษา

ระดบั ประถมศึกษา โรงเรยี นบ้านหวาย ต.ศรดี อนชัย อ.เชียงของ

จ. เชียงราย รหัสไปรษณีย์ 57140

ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น โรงเรยี นเชยี งของวิทยาคม ต.เวียง อ.เชยี งของ

จ. เชียงราย รหสั ไปรษณยี ์ 57140

ระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ศูนย์การศกึ ษานอกโรงเรยี น อ.หางดง เชยี งใหม่

ปัจจุบันกำลังศึกษา ระดับปรญิ ญาตรี ชั้นปีที่ 1 สาขาการปกครอง
คณะสงั คมศาสตร์ มหาวิทยาลยั มหามกฎุ ราช
วิทยาลัย วทิ ยาเขตล้านนา

การทำงาน(อาชพี ) ธรุ กิจสว่ นตัว


Click to View FlipBook Version