สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ)
สาระการเรียนรู้เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) มุ่งหวงั ให้ผูเ้ รียนได้เรียนรู้และมีทักษะ
การคิดเชิงคานวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหาเป็ นข้ันตอนและเป็ นระบบ ประยุกต์ใช้ความรู้
ดา้ นวทิ ยาการคอมพิวเตอร์เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่ือสาร ในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวติ จริง
ไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ โดยไดก้ าหนดสาระสาคญั ดงั น้ี
วิทยาการคอมพิวเตอร์ การแก้ปัญหาอย่างเป็ นข้ันตอนและเป็ นระบบ การใช้แนวคิด
เชิงคานวณในการแก้ปัญหาในชีวิตประจาวัน การบูรณาการกับวิชาอ่ืน การเขียนโปรแกรม
การคาดการณ์ผลลัพธ์การตรวจหาข้อผิดพลาด การพัฒนาแอปพลิเคชันหรื อพัฒนาโครงงาน
อยา่ งสร้างสรรคเ์ พ่อื แกป้ ัญหาในชีวติ จริง
เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การรวบรวมขอ้ มูล การประมวลผล การประเมินผล
การนาเสนอข้อมูลหรื อสารสนเทศเพื่อแก้ปัญหาในชีวิตจริ ง การค้นหาข้อมูลและแสวงหา
ความรู้บนอินเทอร์เน็ต การประเมินความน่าเช่ือถือของข้อมูล การเลือกใช้ซอฟต์แวร์หรื อ
บริการบนอินเทอร์เน็ต ขอ้ ตกลงและขอ้ กาหนดในการใชส้ ื่อหรือแหล่งขอ้ มูลต่าง ๆ หลกั การ
ทางานของคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารส่ือสาร
การรู้ดิจิทัล การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างปลอดภัย การจัดการ
อตั ลักษณ์การรู้เท่าทนั ส่ือ กฎหมายเก่ียวกับคอมพิวเตอร์การใช้ลิขสิทธ์ิของผูอ้ ื่นโดยชอบธรรม
นวตั กรรมและผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารต่อการดาเนินชีวิต อาชีพ
สงั คม และวฒั นธรรม
คุณภาพผู้เรียน
จบช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 6
คน้ หาขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเช่ือถือ ตดั สินใจเลือกขอ้ มูล ใชเ้ หตุผล
เชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการทางาน ร่วมกนั เขา้ ใจสิทธิ
และหนา้ ท่ีของตน เคารพสิทธิของผอู้ ื่น
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ว 4.2 เขา้ ใจ และใชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแกป้ ัญหาที่พบในชีวิตจริงอยา่ งเป็ น ข้นั ตอน
และ เป็ นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศแล ะ การสื่ อส ารในการเรี ยนรู้
การทางานและการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เท่าทนั และมีจริยธรรม
ตัวชี้วดั และสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระท่ี 1 ภาษาเพอื่ การสื่อสาร
- การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนากฎเกณฑ์
ช้ัน ตัวชี้วดั หรือเงื่อนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณีมาใช้
ป.5 1. ใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ พจิ ารณาในการแกป้ ัญหา การอธิบายการทางาน
หรือการคาดการณ์ผลลพั ธ์
ในการแกป้ ัญหา การอธิบาย - สถานะเร่ิมตน้ ของการทางาน ท่ีแตกต่างกนั
การทางาน การคาดการณ์ ผลลพั ธ์ จะใหผ้ ลลพั ธ์ท่ีแตกตา่ งกนั
จากปัญหาอยา่ งง่าย - ตวั อยา่ งปัญหา เช่น เกม Sudoku โปรแกรม
ทานายตวั เลข โปรแกรมสร้างรูปเรขาคณิต
ตามคา่ ขอ้ มลู เขา้ การจดั ลาดบั การทางานบา้ น
ในช่วงวนั หยดุ จดั วางของในครัว
2. ออกแบบและเขียนโปรแกรม - การออกแบบโปรแกรมสามารถทาไดโ้ ดยเขียน
ท่ีมีการใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ เป็นขอ้ ความ หรือผงั งาน
อยา่ งง่าย ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาด - การออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีมี
และแกไ้ ข การตรวจสอบเง่ือนไข ที่ครอบคลุมทุกกรณี
เพือ่ ใหไ้ ดผ้ ลลพั ธ์ที่ถูกตอ้ งตรงตาม
ความตอ้ งการ
- หากมีขอ้ ผดิ พลาดให้ตรวจสอบการทางาน
ทีละคาส่ัง เมื่อพบจุดที่ทาใหผ้ ลลพั ธ์ไม่ถูกตอ้ ง
ใหท้ าการแกไ้ ขจนกวา่ จะไดผ้ ลลพั ธ์ที่ถูกตอ้ ง
ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 - การฝึกตรวจหาขอ้ ผิดพลาดจากโปรแกรมของ
ผอู้ ื่นจะช่วย พฒั นาทกั ษะการหาสาเหตุ
ของปัญหาไดด้ ียง่ิ ข้ึน
- ตวั อยา่ งโปรแกรม เช่น โปรแกรมตรวจสอบเลข
คู่เลขค่ี โปรแกรมรับขอ้ มลู น้าหนกั หรือส่วนสูง
แลว้ แสดงผลความ สมส่วนของร่างกาย
โปรแกรมสั่งใหต้ วั ละครทาตามเง่ือนไข
ที่กาหนด
- ซอฟตแ์ วร์ท่ีใชใ้ นการเขียนโปรแกรม เช่น
Scratch, logo
3. ใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มลู - การคน้ หาขอ้ มลู ในอินเทอร์เน็ต และ
ติดต่อส่ือสารและทางาน ร่วมกนั การพจิ ารณาผลการคน้ หา
ประเมินความ น่าเชื่อถือของขอ้ มูล - การติดตอ่ ส่ือสารผา่ นอินเทอร์เน็ต เช่น อีเมล
บลอ็ ก โปรแกรมสนทนา
- การเขียนจดหมาย (บูรณาการกบั วชิ าภาษาไทย) –
การใชอ้ ินเทอร์เน็ตในการติดตอ่ สื่อสารและ
ทางานร่วมกนั เช่น ใชน้ ดั หมายในการประชุม
กลุ่ม ประชาสัมพนั ธ์กิจกรรม ในหอ้ งเรียน
การแลกเปลี่ยนความรู้ความคิดเห็นในการเรียน
ภายใตก้ ารดูแลของครู
- การประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู เช่น
เปรียบเทียบ ความสอดคลอ้ ง สมบูรณ์
ของขอ้ มลู จากหลายแหล่ง แหล่งตน้ ตอ
ของขอ้ มูล ผเู้ ขียน วนั ที่เผยแพร่ขอ้ มลู
- ขอ้ มูลที่ดีตอ้ งมีรายละเอียดครบทุกดา้ น เช่น
ขอ้ ดีและขอ้ เสีย ประโยชน์และโทษ
ช้ัน ตวั ชี้วดั สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 4. รวบรวม ประเมิน นาเสนอ - การรวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล สร้างทางเลือก
ขอ้ มูลและสารสนเทศ ตาม ประเมินผล จะทาใหไ้ ดส้ ารสนเทศเพ่ือใชใ้ น
วตั ถุประสงคโ์ ดยใช้ ซอฟตแ์ วร์หรือ การแกป้ ัญหาหรือการตดั สินใจ ไดอ้ ยา่ งมี
บริการบน อินเทอร์เน็ต ประสิทธิภาพ
ที่หลากหลาย เพ่ือแกป้ ัญหา - การใชซ้ อฟตแ์ วร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ต
ในชีวติ ประจาวนั ที่หลากหลายใน การรวบรวมประมวลผล
สร้างทางเลือกประเมินผลนาเสนอ จะช่วยให้
การแกป้ ัญหาทาไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว ถูกตอ้ ง และ
แมน่ ยา
- ตวั อยา่ งปัญหา เช่น ถ่ายภาพและสารวจ
แผนท่ีในทอ้ งถ่ิน เพอ่ื นาเสนอแนวทาง
ในการจดั การพ้ืนที่วา่ งใหเ้ กิดประโยชน์
ทาแบบสารวจความคิดเห็นออนไลน์
และวเิ คราะห์ขอ้ มูล นาเสนอขอ้ มูลโดยการใช้
Blog หรือ web page
5. ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ อยา่ ง - อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม
ปลอดภยั มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิและ ทางอินเทอร์เน็ต
หนา้ ที่ของตน เคารพ - มารยาทในการติดต่อสื่อสารผา่ นอินเทอร์เน็ต
ในสิทธิของผอู้ ่ืน แจง้ ผเู้ กี่ยวขอ้ งเม่ือ (บูรณาการ กบั วชิ าที่เก่ียวขอ้ ง)
พบขอ้ มลู หรือบุคคล
ที่ไมเ่ หมาะสม
คาอธบิ ายวชิ า
รายวชิ าพ้นื ฐานเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์
ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5 เวลา 40 ชวั่ โมง
ศึกษาการใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแกป้ ัญหา การทางาน การคาดการณ์ผลลพั ธ์จากปัญหา
อย่างง่าย การออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหา
ขอ้ ผดิ พลาดและแกไ้ ข การใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มูล ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกนั ประเมินความ
น่าเชื่อถือของขอ้ มูล การรวบรวม ประเมิน นาเสนอขอ้ มูล และสารสนเทศตามวตั ถุประสงค์ โดยใช้
ซอฟตแ์ วร์หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายเพ่ือแกป้ ัญหาในชีวิตประจาวนั การใชเ้ ทคโนโลยี
สารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิ ทธิ และหน้าที่ของตนเอง เคารพในสิ ทธิ
ของผอู้ ื่น และแจง้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเมื่อพบขอ้ มลู หรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม
โดยอาศยั กระบวนการเรียนรู้โดยใชป้ ัญหาเป็ นฐาน Problem Based Learning เพื่อเนน้ ใหผ้ เู้ รียน
เกิดการเรียนรู้จากการฝึ กแก้ปัญหาต่างๆผ่านกระบวนการคิดการปฏิบตั ิอย่างมีระบบและสร้างองค์
ความรู้ใหมจ่ ากการใชป้ ัญหาท่ีเกิดข้ึนจริงในชีวติ ประจาวนั ได้
เพ่ือให้ผู้เรี ยนมี ความรู้ ความเข้าใจมี ทักษะการคิ ดเชิ งคานวณการคิ ดวิเคราะห์ แก้ปั ญห า
เป็ นข้นั ตอนและเป็ นระบบมีทกั ษะในการต้งั คาถามหรือกาหนดปัญหาเก่ียวกบั ส่ิงที่จะเรียนรู้ตามที่
กาหนดให้หรือตามความสนใจคาดคะเนคาตอบหลายแนวทางสร้างสมมติฐานท่ีสอดคลอ้ งกบั คาถาม
วางแผนและสารวจตรวจสอบโดยใชเ้ ครื่องมืออุปกรณ์และเทคโนโลยสี ารสนเทศที่เหมาะสมในการเก็บ
รวบรวมขอ้ มูลท้งั เชิงปริมาณและคุณภาพคน้ หาขอ้ มูลอยา่ งมีประสิทธิภาพและประเมินความน่าเชื่อถือ
ตดั สินใจเลือกข้อมูลให้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหาตลอดจน นาความรู้ความเข้าใจในเชิง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและการดาเนินชีวิตจนสามารถพฒั นา
กระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการแก้ปัญหาและการจดั การทกั ษะในการส่ือสาร
ความสามารถในการตดั สินใจและเป็ นผูม้ ีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมในการใช้
วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยอี ยา่ งสร้างสรรค์
ตัวชี้วดั ว. 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ)
ป.5/1 ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การอธิบายการทางาน การคาดการณ์ผลลัพธ์
จากปัญหาอยา่ งง่าย
ป.5/2 ออกแบบ และเขียนโปรแกรมท่ีมีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาด
และแกไ้ ข
ป.5/3 ใช้อินเทอร์เน็ตคน้ หาความรู้ ติดต่อส่ือสารและทางานร่วมกนั ประเมินความน่าเช่ือถือของ
ขอ้ มูล
ป.5/4 รวบรวม ประเมิน นาเสนอขอ้ มูลและสารสนเทศ ตามวตั ถุประสงค์โดยใช้ซอฟต์แวร์
หรือบริการบนอินเทอร์เน็ตที่หลากหลายเพ่อื แกป้ ัญหาในชีวติ ประจาวนั
ป.5/5 ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอยา่ งปลอดภยั มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิและหน้าท่ีของตน เคารพใน
สิทธิของผอู้ ื่น แจง้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเม่ือพบขอ้ มลู หรือบุคคลท่ีไม่เหมาะสม
โครงสร้างแผนการจดั การเรียนรู้ รายวชิ าเทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ป.5
แผน มาตรฐาน
การจัดการ เร่ือง การเรียนรู้/ เวลา
เรียนรู้ ตัวชี้วดั 3 ชว่ั โมง
3 ชวั่ โมง
1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.5/1 3 ชวั่ โมง
การพิจารณาปัญหาโดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.5/3 5 ชวั่ โมง
6 ชว่ั โมง
2 การลาดบั การทางานโดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.5/5 3 ชวั่ โมง
4 ชวั่ โมง
3 การคาดการณ์ผลลพั ธ์โดยใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะ 3 ชวั่ โมง
1 ชว่ั โมง
4 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 2 การพฒั นาโปรแกรมด้วยเหตุผลเชิงตรรกะ ว 4.2 ป.5/2 2 ชว่ั โมง
การออกแบบโปรแกรม ว 4.2 ป.5/4 3 ชวั่ โมง
4 ชว่ั โมง
5 การเขียนโปรแกรมภาษา Scratch
6 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 ข้อมูลและสารสนเทศ ว 4.2 ป.5/3
ขอ้ มลู ว 4.2 ป.5/4
7 แหล่งขอ้ มลู
8 หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การใช้อนิ เทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย ว 4.2 ป.5/3
การติดตอ่ ส่ือสารผา่ นอินเทอร์เน็ต ว 4.2 ป.5/4
9 มรรยาทในการติดตอ่ ส่ือสารผา่ นอินเทอร์เน็ต ว 4.2 ป.5/5
10 อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
11 การใชซ้ อฟตแ์ วร์เพื่อช่วยจดั การขอ้ มูล
12 การนาเสนอขอ้ มลู โดยใชบ้ ล็อก
เป้ าหมายการจดั การเรียนรู้
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภยั
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
ช้ันประถมศึกษาปี ท่ี 5
ความรู้
1. การคน้ หาขอ้ มลู ในอินเทอร์เน็ตและการพจิ ารณาผลการคน้ หา
2. การประเมินความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู
3. อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
ภาระงาน อาชญากรรม ทกั ษะ/กระบวนการ
ทางอนิ เทอร์เน็ต
ใบงาน 1 1. ทกั ษะการส่ือสาร
ใบงาน 2 2. ทกั ษะการคิด
อยา่ งมีวจิ ารณญาณ
3. ทกั ษะการสังเกต
4. ทกั ษะการทางาน
ร่วมกนั
5. ทกั ษะกาแลกเปลี่ยน
ขอ้ มูล
คุณธรรม จริยธรรม/ ค่านิยม
1. มีความขยนั ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
2. มีความรับผดิ ชอบในการทางาน
แผนการจดั การเรียนรู้ 10
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5
หน่วยการเรียนรู้ท่ี 4 การใช้อินเทอร์เน็ตอย่างปลอดภัย เวลา 12 ชั่วโมง
เร่ือง อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต จานวน 2 ช่ัวโมง
สอนวนั ท่ี ........ เดอื น ........................ พ.ศ. ............... ครูผ้สู อนนางสาวณฐมน ธีรพงศ์สกล
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตวั ชี้วดั
มาตรฐาน
ว 4.2 เขา้ ใจและใชแ้ นวคิดเชิงคานวณในการแกป้ ัญหาท่ีพบในชีวติ จริงอยา่ งเป็ น
ข้นั ตอนและเป็นระบบใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสื่อสารในการเรียนรู้
การทางาน และการแกป้ ัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพ รู้เทา่ ทนั และมีจริยธรรม
ตวั ชี้วดั
ป. 5/3 ใชอ้ ินเทอร์เน็ตคน้ หาขอ้ มูล ติดต่อสื่อสารและทางานร่วมกนั ประเมิน
ความน่าเช่ือถือของขอ้ มลู
ป. 5/5 ใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งปลอดภยั มีมรรยาท เขา้ ใจสิทธิและหนา้ ท่ีของตน เคารพ
ในสิทธิของผอู้ ื่น แจง้ ผเู้ ก่ียวขอ้ งเมื่อพบขอ้ มูลหรือบุคคลท่ีไมเ่ หมาะสม
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
ความรู้
1. บอกความหมายของอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตไดถ้ ูกตอ้ ง
2. อธิบายประเภทของอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตไดถ้ ูกตอ้ ง
3. บอกแนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตไดถ้ ูกตอ้ ง
ทกั ษะ/กระบวนการ
1. ทกั ษะการส่ือสาร
2. ทกั ษะการคิดอยา่ งมีวจิ ารณญาณ
3. ทกั ษะการสงั เกต
4. ทกั ษะการทางานร่วมกนั
5. ทกั ษะการแลกเปล่ียนขอ้ มลู
คุณธรรม จริยธรรม /ค่านิยม
1. มีความขยนั ใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน
2. มีความรับผดิ ชอบในการทางาน
3. สาระสาคัญ
การเข้าถึงเครื อข่ายอินเทอร์เน็ตผ่านคอมพิวเตอร์ หรื ออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์อ่ืนๆ
ในปัจจุบันเป็ นเรื่ องท่ีสามารถเข้าถึงได้ง่ายกับคนทุกช่วงวยั ท้ังน้ีอาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนผ่าน
ทางอินเทอร์ เน็ตก็มีมากและหลากหลายรู ปแบบ ดังน้ันนักเรี ยนจาเป็ นต้อง รู้เท่าทันสื่ อ
และเทคโนโลยดี ิจิทลั ใชอ้ ยา่ งปลอดภยั มีความรับผดิ ชอบ ท้งั ตอ่ ตนเองและสงั คม
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการแกป้ ัญหา
4. ความสามารถในการใชท้ กั ษะชีวติ
5. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี
5. คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ซ่ือสัตยส์ ุจริต
2. มีวนิ ยั
3. ใฝ่ เรียนรู้
4. มุง่ มนั่ ในการทางาน
6. สาระการเรียนรู้
1. การคน้ หาขอ้ มูลในอินเทอร์เน็ต และการพิจารณาผลการคน้ หา
2. การประเมินความน่าเชื่อถือของขอ้ มลู ไดแ้ ก่
- เปรียบเทียบความสอดคลอ้ งของขอ้ มลู
- ความสมบรู ณ์ของขอ้ มูลจากหลายแหล่ง
- แหล่งตน้ ตอของขอ้ มูล
- ผเู้ ขียนขอ้ มลู
- วนั ที่เผยแพร่ขอ้ มูล
3. อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
7. กจิ กรรมการเรียนการสอน
ช่ัวโมงที่ 1
ข้นั นาเข้าสู่บทเรียน (Warm up)
1. ครูให้นกั เรียนดูภาพข่าว (เก่ียวกบั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต) จากน้นั ถามนักเรียนว่า
นกั เรียนมีความคิดเห็นอยา่ งไรกบั ข่าวดงั กล่าว (โดยใชภ้ าพขา่ วจากภาคผนวก หนา้ 26)
2. เมื่อนกั เรียนแลกเปล่ียนความคิดเห็นตอ่ ขา่ วดงั กล่าวแลว้ ครูแจง้ นกั เรียนเก่ียวกบั เน้ือหาที่จะ
เรียนในช่ัวโมงน้ีว่าเราจะเรียนเกี่ยวกบั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตและประเภทของอาชญากรรม
ทางอินเทอร์เน็ต
ข้นั สอน
ข้นั นาเสนอ (Presentation)
3. ครูนาเสนอความหมายของอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
(โดยใชส้ ื่อ PowerPoint จากภาคผนวก หนา้ 28)
4. ครูนาเสนอประเภทของอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต พร้อมยกตวั อยา่ งอาชญากรรมทาง
อินเทอร์เน็ตแตล่ ะประเภทประกอบ (โดยใชส้ ื่อ PowerPoint จากภาคผนวก หนา้ 28-29)
ข้นั ฝึ ก (Practice)
5. นักเรียนใช้เครื่องคอมพิวเตอร์คน้ หาข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตประเภทต่างๆ
ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ต
6. นกั เรียนบนั ทึกข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตท่ีนกั เรียนคน้ หาแลว้ สนใจท่ีสุดลงในสมุด
พร้อมเหตุผลที่นกั เรียนสนใจ (แนวทางการเขียน)
ข้นั นาไปใช้ (Production)
7. นักเรี ยนทาใบงานท่ี 1 โดยอ่านข้อความท่ีกาหนดไว้ จากน้ันใส่เคร่ื องหมาย
หนา้ ขอ้ ความท่ีถูกตอ้ งและใส่เครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ความท่ีผดิ
ข้นั สรุป (Wrap up)
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความหมายและประเภทอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
โดยใชส้ ถานการณ์ข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต (โดยใชภ้ าพขา่ วจากภาคผนวก หนา้ 26)
9. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยใบงานที่ 1 พร้อมกนั
ชั่วโมงที่ 2
ข้ันนาเข้าสู่บทเรียน (Warm up)
1. ครูทบทวนเน้ือหาที่เรียนในคาบเรียนท่ีแล้ว จากน้ันครูให้นักเรียนดูภาพข่าว (เกี่ยวกับ
อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต) จากน้ันถามนักเรียนว่าภาพข่าวที่นักเรียนเห็นเป็ นอาชญากรรม
ทางอินเทอร์เน็ตประเภทใด (โดยใชภ้ าพข่าวจากภาคผนวก หนา้ 27)
2. ครูแจ้งนักเรียนเกี่ยวกับเน้ือหาท่ีจะเรียนในชั่วโมงน้ีว่าเราจะเรียนเก่ียวกับแนวทาง
การป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
ข้นั สอน
ข้นั นาเสนอ (Presentation)
3. ครูนาเสนอการป้ องกันอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต พร้อมยกตัวอย่างประกอบ
(โดยใชส้ ื่อ PowerPoint จากภาคผนวก หนา้ 30-31)
ข้นั ฝึ ก (Practice)
4. นักเรียนเล่นเกมข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต โดยแบ่งนักเรียนออกเป็ นกลุ่ม
อยา่ งนอ้ ย 2 กลุ่ม จากน้นั แจกอุปกรณ์ใหก้ บั นกั เรียนแตล่ ะกลุ่ม ไดแ้ ก่
- จานกระดาษขา่ ว 1 ใบ
- ถว้ ยประเภทอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต 1 ชุด (6 ถว้ ย)
- ตวั หนีบแนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต 1 ชุด (9 ตวั )
5. นกั เรียนในกลุ่มร่วมวเิ คราะห์ขอ้ มลู จากขา่ วท่ีกลุ่มตนไดร้ ับดงั น้ี
- ใหน้ กั เรียน 1 คนในกลุ่ม อา่ นขอ้ มูลจานขา่ วท่ีกลุ่มตนไดร้ ับใหเ้ พ่อื นในกลุ่มฟัง
- นักเรี ยนภายในกลุ่มร่ วมกันลงความเห็นว่าข่าวดังกล่าวเป็ นอาชญากรรม
ทางอินเทอร์เน็ตประเภทใด จากน้นั วางถว้ ยประเภทของอาชญากรรมลงบนจานกระดาษ
- จากน้นั นักเรียนร่วมกนั หาแนวทางป้ องกนั มิให้เกิดอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
ตามจานข่าวที่ตนเองไดร้ ับ โดยหนีบแนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ตไวร้ อบจานข่าว
จากน้นั บนั ทึกลงสมุด
ข้นั นาไปใช้ (Production)
6. นกั เรียนทาใบงานท่ี 2 โดยนาแนวทางการป้ องกนั ที่กาหนดใหไ้ ปใส่ใหต้ รงกบั สถานการณ์
ตามภาพท่ีกาหนด
ข้นั สรุป (Wrap up)
7. ครูและนกั เรียนร่วมกนั สรุปความหมาย ประเภท และ แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรม
ทางอินเทอร์เน็ต โดยใชส้ ถานการณ์ข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต (โดยใช้ภาพข่าวจากภาคผนวก
หนา้ 27)
8. ครูและนกั เรียนร่วมกนั เฉลยใบงานท่ี 2 พร้อมกนั
8. ส่ือการเรียนการสอน
8.1 ส่ือการเรียนรู้
1. สื่อ Power Point เร่ือง อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
2. ใบความรู้ท่ี 1 เร่ือง อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
3. ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
4. ใบงานท่ี 1 เร่ือง อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
5. ใบงานที่ 2 เรื่อง แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
6. บตั รภาพข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
7. ชุดเกมข่าวอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
9. การวดั ผลและประเมนิ ผลการเรียนรู้
วธิ ีการวดั ผล เคร่ืองมอื วดั ผล เกณฑ์การวดั ผล
และประเมนิ ผลการเรียนรู้ และประเมินผลการเรียนรู้ และประเมินผลการเรียนรู้
1. การสังเกตพฤติกรรม 1. แบบสงั เกตพฤติกรรม 1. นกั เรียนผา่ นเกณฑป์ ระเมินการสงั เกต
รายบุคคล รายบุคคล พฤติกรรมรายบุคคลในระดบั คุณภาพ 3 ข้ึนไป
ระดบั คุณภาพ 4 คือ ดีมาก ได้ 16-20 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 3 คือ ดี ได้ 11-15 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 2 คือ พอใช้ ได้ 6-10 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 1 คือ ปรับปรุง ได้ 0-5 คะแนน
2. การสังเกตพฤติกรรม 2. แบบสงั เกตพฤติกรรม 2. นกั เรียนผา่ นเกณฑป์ ระเมินการสงั เกต
กลุ่ม กลุ่ม พฤติกรรมรายบุคคลในระดบั คุณภาพ 3 ข้ึนไป
ระดบั คุณภาพ 4 คือ ดีมาก ได้ 16-20 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 3 คือ ดี ได้ 11-15 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 2 คือ พอใช้ ได้ 6-10 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 1 คือ ปรับปรุง ได้ 0-5 คะแนน
3. ใบงานที่ 1 - 2 3. ใบงานท่ี 1 - 2 3. นกั เรียนผา่ นเกณฑก์ ารทาใบงานท่ี 1 - 2
ในระดบั คุณภาพ 2 ข้ึนไป
ระดบั คุณภาพ 3 คือ ดี ได้ 8-10 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 2 คือ พอใช้ ได้ 5-7 คะแนน
ระดบั คุณภาพ 1 คือ ปรับปรุง ได้ 1-4 คะแนน
10. ความคิดเห็นของผบู้ งั คบั บญั ชา
....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชื่อ .....................................................
(…………………………………..)
ผอู้ านวยการโรงเรียน...............................
บันทกึ หลงั สอน
กจิ กรรมการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ วชิ าวทิ ยาการคานวณ ช้นั ประถมศึกษาปี ที่ 5
สัปดาห์ท่ี ................ วนั ที่ ................. เดือน .......................................... พ.ศ. .....................
เรื่อง อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
สื่อการเรียนรู้และแหล่งการเรียนรู้ 1. .....................................................................................
2. ....................................................................................
การวดั ประเมินผล
1. วธิ ีการ - การสงั เกต - การตรวจชิ้นงาน
2. เคร่ืองมือ - แบบสงั เกตพฤติกรรม - แบบประเมินชิ้นงาน
3. เกณฑก์ ารประเมิน - ผา่ นเกณฑ์ระดบั 3 ข้นั ไป - ผา่ นเกณฑ์ระดบั 2 ข้นั ไป
1. ผลการสอน
สอนไดต้ ามแผนการจดั การเรียนรู้
สอนไมไ่ ดต้ ามแผนการจดั การเรียนรู้ เน่ืองจาก ............................................................
2. ผลการเรียนของนักเรียน
จานวนนกั เรียนท่ีผา่ นการประเมิน ....................... คน คิดเป็นร้อยละ ......................
จานวนนกั เรียนท่ีไม่ผา่ นการประเมิน ................... คน คิดเป็นร้อยละ ......................
อ่ืน ๆ .............................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
กิจกรรมการจดั การเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกบั เวลา
มีนกั เรียนทาใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทนั ตามกาหนดเวลา
มีนกั เรียนที่ไมส่ นใจเรียน
อื่น ๆ ............................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
ควรปรับปรุง เร่ือง .....................................................................................................
แนวทางแกไ้ ขนกั เรียนท่ีไมผ่ า่ นการประเมิน
......................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
ไมม่ ีขอ้ เสนอแนะ
ลงช่ือ ........................................... ผบู้ นั ทึก
(นางสาวณฐมน ธีรพงศส์ กล)
ครูผสู้ อน
ภาคผนวก
แผนการจดั การเรียนรู้
อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
ใบความรู้ 1
อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
อาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต หมายถึง การกระทาใดๆ ที่เก่ียวกบั การใช้คอมพิวเตอร์และ
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เป็ นเคร่ืองมือในการกระทาความผิด ซ่ึงทาให้ผูอ้ ่ืนไดร้ ับความเสียหายหรือเสีย
ช่ือเสียง ในขณะเดียวกนั ก็ทาใหผ้ กู้ ระทาความผดิ ไดร้ ับผลประโยชน์
ประเภทของอาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
1. การก่อการร้าย เป็ นการเจาะระบบคอมพิวเตอร์ แลว้ นาขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชนห์ รือนามาข่มขู่
เพอื่ ใหไ้ ดใ้ นส่ิงที่ผรู้ ้ายตอ้ งการ
2. การกลนั่ แกล้ง เป็ นการนาเขา้ หรือส่งออกขอ้ มลู ที่มีผลกระทบต่อบุคคลหรือองคก์ รต่างๆ
เพอื่ ใหเ้ กิดความเสียหายหรือความอบั อาย
3. การเงิน เป็นการนาขอ้ มูลทางการเงินของผอู้ ื่นไปใชป้ ระโยชนโ์ ดยไม่ไดร้ ับอนุญาต ส่งผลให้
ผอู้ ื่นเกิดความเดือดร้อน
4. การเจาะระบบ เป็นการใชโ้ ปรแกรมคอมพิวเตอร์เขา้ ไปทาลายระบบคอมพวิ เตอร์ หรือเขา้ ไป
นาขอ้ มูลในระบบคอมพิวเตอร์ของผอู้ ื่นออกมาใช้
5. การละเมดิ ลขิ สิทธ์ิ เป็นการนาขอ้ มลู ของผอู้ ื่นมาดดั แปลงเป็นของตนเอง เช่น การปลอม
แปลงเช็ค การปลอมแปลงส่ือมลั ติมีเดีย การปลอมแปลงโปรแกรมคอมพวิ เตอร์
6. การเผยแพร่ภาพข้อมูลไมเหมาะสม เป็นการใชค้ อมพิวเตอร์เผยแพร่ภาพลามกอนาจาร
รวมถึงขอ้ มูลที่มีผลกระทบทางลบต่อวฒั นาธรรมของแต่ละสังคม
ใบความรู้ 2
แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
1. การป้ องกนั ข้อมูลส่วนตัว ไมเ่ ปิ ดเผยขอ้ มูลส่วนตวั เช่นชื่อ-นามสกุล ที่อยู่ เบอร์โทรศพั ท์
ช่ือโรงเรียน รูปภาพ เช็คอิน สถานท่ีอยปู่ ัจจุบนั
2. การป้ องกนั การเข้าสู่ระบบคอมพวิ เตอร์ ตอ้ งมีการระบุตวั ตนก่อนเขา้ ใชง้ าน เช่น การใช้
รหสั ผา่ น การตรวจสอบเสียง การตรวจสอบลายนิ้วมือ เพื่อป้ องกนั บุคคลอื่นเขา้ ใชง้ านคอมพวิ เตอร์โดย
ไมไ่ ดร้ ับอนุญาต
3. การสารองข้อมูล ไม่ควรเก็บขอ้ มูลไวใ้ นที่เดียว ควรสารองขอ้ มลู ไวใ้ นอุปกรณ์อ่ืนๆ ดว้ ย
เพอ่ื ป้ องกนั การถูกทาลายขอ้ มูลจากผทู้ ่ีไม่ประสงคด์ ี
4. การต้งั ค่าโปรแกรมค้นหาและกาจัดไวรัสคอมพวิ เตอร์ การติดต้งั และใชง้ านโปรแกรมสแกน
ไวรัสจะช่วยใหค้ อมพิวเตอร์มีความปลอดภยั มากข้ึน
5. การดาวน์โหลด การดาวน์โหลดไฟลแ์ ละเอกสารต่างๆ ควรดาวน์โหลดจากแหล่งท่ีเช่ือถือได้
เทา่ น้นั
6. ออกจากระบบทกุ คร้ัง ตอ้ งออกจากระบบทุกคร้ังหลงั เลิกใชง้ าน และไมเ่ ขา้ ระบบทิง้ ไวท้ ี่
ตวั เองไม่ไดใ้ ชง้ านคอมพิวเตอร์
7. รหัสผ่าน ไมบ่ อกรหสั ผา่ นใหผ้ อู้ ื่นรู้ ควรต้งั รหสั ผา่ นให้คาดเดาไดย้ าก และหมนั่ เปลี่ยน
รหสั ผา่ น ทุกๆ 2-3 เดือน
8. รหสั ผ่าน ไมบ่ อกรหสั ผา่ นใหผ้ อู้ ื่นรู้ ควรต้งั รหสั ผา่ นใหค้ าดเดาไดย้ าก และหมน่ั เปลี่ยน
รหสั ผา่ น ทุกๆ 2-3 เดือน
9. ไม่พบบุคคลทร่ี ู้จักทางอนิ เทอร์เน็ต ไมน่ ดั พบบุคคลทางอินเทอร์เน็ต โดยไม่ขออนุญาต
จากผปู้ กครอง
ใบงาน 1
อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนใส่เคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ที่ถูก และใส่เคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ท่ีผดิ
1. ________ การกระทาทุกการกระทาผา่ นอินเทอร์เน็ตถือวา่ เป็นอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
2. ________ การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์กระทาผดิ ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตก่อให้ผอู้ ่ืนเดือดร้อน
เป็ นอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
3. ________ การตดั ต่อภาพถือเป็นการก่ออาชญากรรมประเภทละเมิดลิขสิทธ์ิ
4. ________ การนาขอ้ มลู ทางการเงินของผอู้ ่ืนไปใชเ้ พือ่ หาประโยชน์ทางการเงิน เป็นการก่อ
อาชญากรรมประเภทการเงิน
5. ________ การตดั ต่อวดี ีโอใหบ้ ิดเบือนจากความเป็ นจริงเป็นการก่ออาชญากรรมประเภท
การเจาะระบบ
6. ________ การนาเขา้ หรือส่งออกขอ้ มลู ที่มีผลกระทบต่อบุคคลหรือการบุลลี่ เป็นการก่ออาชญากรรม
ประเภทกลนั่ แกลง้
7. ________ การนาขอ้ มูลไปใชป้ ระโยชนห์ รือนามาขม่ ขู่ เป็นการก่ออาชญากรรมประเภทก่อการร้าย
8. ________ การเผยแพร่ภาพหรือวดี ีโอในการใชค้ วามรุนแรง เป็นการก่ออาชญากรรมประเภท
การเผยแพร่ภาพขอ้ มลู ไม่เหมาะสม
9. ________ การเจาะระบบขอ้ มูลจากระบบคอมพิวเตอร์โดยแฮกเกอร์แลว้ นาขอ้ มูลไปใชห้ าประโยชน์
เป็ นการก่ออาชญากรรมประเภทการเจาะระบบ
10. ________ การเขา้ ไปดูเวบ็ ปื นเถื่อน เป็นการก่ออาชญากรรมประเภทการเงิน
ชื่อ .................................................................................................................. ช้นั .................. เลขท่ี ....................
เฉลยใบงาน 1
อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนใส่เคร่ืองหมาย หนา้ ขอ้ ที่ถกู และใส่เครื่องหมาย หนา้ ขอ้ ที่ผดิ
1. ________ การกระทาทุกการกระทาผา่ นอินเทอร์เน็ตถือวา่ เป็นอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
2. ________ การใชโ้ ปรแกรมคอมพวิ เตอร์กระทาผดิ ผา่ นระบบอินเทอร์เน็ตก่อใหผ้ อู้ ื่นเดือดร้อน
เป็ นอาชญากรรมทางอินเทอร์เน็ต
3. ________ การตดั ต่อภาพถือเป็นการก่ออาชญากรรมประเภทละเมิดลิขสิทธ์ิ
4. ________ การนาขอ้ มูลทางการเงินของผอู้ ่ืนไปใชเ้ พ่ือหาประโยชนท์ างการเงิน
เป็ นการก่ออาชญากรรมประเภทการเงิน
5. ________ การตดั ต่อวดี ีโอใหบ้ ิดเบือนจากความเป็นจริงเป็ นการก่ออาชญากรรมประเภท
การเจาะระบบ
6. ________ การนาเขา้ หรือส่งออกขอ้ มลู ท่ีมีผลกระทบต่อบุคคลหรือการบุลลี่ เป็นการก่อ
อาชญากรรมประเภทกลน่ั แกลง้
7. ________ การนาขอ้ มลู ไปใชป้ ระโยชน์หรือนามาข่มขู่ เป็นการก่ออาชญากรรมประเภท
ก่อการร้าย
8. ________ การเผยแพร่ภาพหรือวดี ีโอในการใชค้ วามรุนแรง เป็ นการก่ออาชญากรรมประเภท
การเผยแพร่ภาพขอ้ มลู ไม่เหมาะสม
9. ________ การเจาะระบบขอ้ มลู จากระบบคอมพวิ เตอร์โดยแฮกเกอร์แลว้ นาขอ้ มูลไปใชห้ า
ประโยชน์เป็ นการก่ออาชญากรรมประเภทการเจาะระบบ
10. ________ การเขา้ ไปดูเวบ็ ปื นเถ่ือน เป็ นการก่ออาชญากรรมประเภทการเงิน
ชื่อ .................................................................................................................. ช้นั .................. เลขที่ ....................
ใบงาน 2
แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาแนวทางการป้ องกนั ท่ีกาหนดใหไ้ ปใส่ใหต้ รงกบั สถานการณ์
ข้อมูลส่ วนตวั การป้ องกนั การเข้าสู่ระบบ การสารองข้อมูล
คอมพวิ เตอร์
การดาวน์โหลดข้อมูล การต้ังค่าโปรแกรมค้นหา ออกจากระบบทุกคร้ัง
และกาจัดโปรแกรมไวรัส
ระมัดระวงั การซื้อหรือขาย ไม่พบบุคคลทร่ี ู้จัก
สินค้าทางอนิ เทอร์เน็ต รหสั ผ่าน ทางอนิ เทอร์เน็ต
……………………………………………………………
1. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
2. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
3. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
4. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
5. ……เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก..น.ั ……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
6. ……เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก..น.ั ……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
7. ………เป…็นก…าร…ป้ …อง.ก..…นั …………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
8. ……เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก..น.ั ……………………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
9. ……เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก..น.ั ……………………………………….
…………………...……………………………………….
ช่ือ .................................................................................................................. ช้นั .................. เลขที่ ....................
เฉลยใบงาน 2
แนวทางการป้ องกนั อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนนาแนวทางการป้ องกนั ท่ีกาหนดใหไ้ ปใส่ใหต้ รงกบั สถานการณ์
ข้อมูลส่ วนตวั การป้ องกนั การเข้าสู่ระบบ การสารองข้อมูล
คอมพวิ เตอร์
การดาวน์โหลดข้อมูล ออกจากระบบทกุ คร้ัง
การต้ังค่าโปรแกรมค้นหา
ระมัดระวงั การซื้อหรือขาย และกาจัดโปรแกรมไวรัส ไม่พบบุคคลทรี่ ู้จัก
สินค้าทางอนิ เทอร์เน็ต ทางอนิ เทอร์เน็ต
รหัสผ่าน
……………………………………………………………
1. ……เป…็น…การ…ป้ อ…ง…กนั ...……กา…รส…าร…อง…ข…อ้ ม…ูล………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
2. …เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก…นั ...…ร…ห…สั ผ…า่ น…………………………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
3. …เป…็น…กา…รป…้ อ…งก…นั ...…กา…รด…าว…น…์โห…ลด…ข…อ้ ม…ลู ……………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
4. …เ…ป็น…ก…าร…ป้ อ…งก…นั ...…ก…ารต…้งั …ค่า…โป…รแ…ก…รม…คน้ …ห…าแ…ละ…กา…จดั….
โปรแกรมไวรัส
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
5. ……เป…็น…กา…รป้…อง…กนั...…ก…า…รป้…อง…กนั…ก…าร…เขา…้ ส…ู่ระ…บบ…ค…อม…พ…ิวเต. อร์
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
6. ……เป…็น…กา…รป…้ อง…กน.ั ..……ไม…่พบ…บ…ุคค…ล…ท่ีร…ู้จกั …ท…างอ…ิน…เท…อร…์เน…็ต.
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
7. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……ออ…ก…จา…กร…ะบ…บ…ทุก…คร…้ัง…………….
…………………...……………………………………….
……………………………………………………………
8. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……ระ…มด…ั ร…ะว…งั ก…าร…ซ้ือ…ห…รือ…ขา…ยส…ิน…คา้ ….
…………………...……ทา…งอ…ิน…เท…อร…์เน…็ต ………………….
……………………………………………………………
9. ……เป…็น…กา…รป…้ อ…งก.นั..……ขอ้…ม…ลู ส…่วน…ต…วั …………………….
…………………...……………………………………….
ชื่อ .................................................................................................................. ช้นั .................. เลขท่ี ....................
แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทางานรายบุคคล
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 10 เร่ือง อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
รายการการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล ีมวินัย รวม สรุปผล
ใ ่ฝเ ีรยน ู้ร
ุม่งมั่นในการทางาน
ีมความสามารถในการ ื่สอสาร
ีมความสามารถในการ ิคด
4 4 4 4 4 20 ผ. มผ.
ลงช่ือ ........................................ ผปู้ ระเมิน
(...................................................)
เกณฑ์การประเมนิ ตามแบบสังเกตพฤตกิ รรม
รายการ ระดบั คุณภาพ
ประเมิน
1. มีวนิ ยั ดมี าก ( 4 ) ดี ( 3 ) พอใช้ ( 2 ) ปรับปรุง ( 1 )
ปฏิบตั ิส่ิงต่าง ๆ ปฏิบตั ิสิ่งตา่ ง ๆ
2. ใฝ่ เรียนรู้ ไดค้ รบถว้ น ปฏิบตั ิสิ่งตา่ ง ๆ ปฏิบตั ิส่ิงตา่ ง ๆ ไดไ้ มค่ รบถว้ น
ตามระยะเวลา และไม่เป็ นไป
ที่ตกลงกนั ไว้ ไดค้ รบถว้ น ไดไ้ ม่ครบถว้ น ตามระยะเวลาที่
ดว้ ยตนเอง ตกลงกนั ไว้
ต้งั ใจเรียน แตไ่ มเ่ ป็นไปตาม แตเ่ ป็นไปตาม ต้งั ใจเรียน
แสวงหาความรู้ มีการบนั ทึก
จากแหล่งตา่ งๆ ระยะเวลาที่ตกลง ระยะเวลาท่ี โดยครูคอย
มีการบนั ทึก แนะนา
อยา่ งเป็นระบบ กนั ไว้ ตกลงไว้
และสรุปไดด้ ว้ ย
ตนเอง ต้งั ใจเรียน ต้งั ใจเรียน
แสวงหาความรู้ มีการบนั ทึก
จากแหล่งต่างๆ ไดด้ ว้ ยตนเอง
มีการบนั ทึก
อยา่ งเป็นระบบ
3. มุ่งมน่ั ใน มีความต้งั ใจ มีความต้งั ใจ ทางานที่ไดร้ ับ ทางานท่ีไดร้ ับ
การทางาน และพยายาม และพยายาม มอบหมาย มอบหมาย
ในการทางาน ในการทางาน จนสาเร็จลุล่วง จนสาเร็จลุล่วง
ท่ีไดร้ ับ ท่ีไดร้ ับ ดว้ ยตนเอง โดยท่ีครูคอย
มอบหมาย มอบหมาย แนะนา
จนสาเร็จลุล่วง จนสาเร็จลุล่วง
ดว้ ยตนเอง โดยที่ครูคอย
แนะนา
เกณฑ์การประเมนิ ตามแบบสังเกตพฤติกรรม (ต่อ)
รายการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน
4. มีความ ดีมาก ( 4 ) ดี ( 3 ) พอใช้ ( 2 ) ปรับปรุง ( 1 )
สามารถ พดู ไดบ้ างคา
ในการ พดู ตอ่ เนื่อง พดู ติดขดั บา้ ง พดู เป็นคาๆ ทาใหส้ ่ือ
สื่อสาร ความหมาย
5. มีความ ไม่ติดขดั แต่ยงั พอส่ือสาร หยดุ เป็นช่วงๆ ไม่ได้
สามารถ ไม่มี
ในการคิด พดู ชดั เจน ได้ ทาใหส้ ื่อสารได้ การแสดง
ความคิด
ทาใหส้ ื่อสารไดด้ ี ไม่ชดั เจน จนครูตอ้ งถาม
แสดงความคิด แสดงความคิด แสดงความคิด
ในสิ่งดีและเกิด ในสิ่งดีและเกิด ในสิ่งดีและเกิด
ประโยชน์ ประโยชน์ ประโยชน์
สม่าเสมอ เกือบทุกคร้ัง ในบางคร้ัง
เกณฑ์ผ่านการประเมิน นกั เรียนไดร้ ะดบั 3 ข้ึนไป
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินระดับคุณภาพ
4 คะแนน ดีมาก ระดบั 4 16-20 คะแนน
3 คะแนน ดี ระดบั 3 11-15 คะแนน
2 คะแนน พอใช้ ระดบั 2 6-10 คะแนน
1 คะแนน ปรับปรุง ระดบั 1 0-5 คะแนน
แบบสังเกตพฤติกรรมการทางานกล่มุ
กล่มุ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ (วทิ ยาการคานวณ) ช้ันประถมศึกษาปี ที่ 5
แผนการจดั การเรียนรู้ที่ 10 เร่ือง อาชญากรรมทางอนิ เทอร์เน็ต
รายการการประเมิน
ที่ ชื่อ-สกุล ความ ่รวมมือกันทากิจกรรม รวม สรุปผล
การแสดงความคิดเห็น
การ ัรบ ัฟงความคิดเ ็หน
ความ ้ตังใจทางาน
การแ ้กไข ัปญหา/ห ืรอป ัรบป ุรง
ผลงานก ่ลุม
4 4 4 4 4 20 ผ. มผ.
ลงชื่อ ........................................ ผปู้ ระเมิน
(...................................................)
เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมอยา่ งสม่าเสมอ ให้ 4 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยคร้ัง ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมบางคร้ัง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรือแสดงพฤติกรรมนอ้ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์ผ่านการประเมิน นกั เรียนไดร้ ะดบั 3 ข้ึนไป
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตดั สินระดบั คุณภาพ
4 คะแนน ดีมาก ระดบั 4 18 - 20 คะแนน
3 คะแนน ดี ระดบั 3 14 - 17 คะแนน
2 คะแนน พอใช้ ระดบั 2 10 - 13 คะแนน
1 คะแนน ปรับปรุง ระดบั 1 0 - 9 คะแนน