The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

1A แบบบันทึกการศึกษาดูงาน ศูนย์พัฒนาปิโตรเ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ss.akojang88, 2022-05-08 05:47:45

1A แบบบันทึกการศึกษาดูงาน ศูนย์พัฒนาปิโตรเ

1A แบบบันทึกการศึกษาดูงาน ศูนย์พัฒนาปิโตรเ

แบบบันทกึ การศึกษาดงู าน
ชอื่ สถานประกอบการ....ศนู ยพ์ ัฒนาปโิ ตรเลียมภาคเหนือ กรมการพลังงานทหาร............
ช่ือ-สกลุ ...นายวิทยา พิชยาปรีชาพล............................เลขที่...๘...กลมุ่ ........7........สาย....-.............
ประเดน็ การศึกษาดูงาน
๑. ดา้ นการสร้างภาพลกั ษณ์องคก์ ร

ศูนย์พัฒนาปิโตรเลยี มภาคเหนอื กรมการพลังงานทหาร กระทรวงกลาโหม มีหน้าท่ีในการดาเนนิ การ
สารวจ ขดุ เจาะ และผลิตปิโตรเลียม ในพื้นที่ท่ีไดร้ บั มอบหมายหรือรบั ผดิ ชอบ เช่น การกล่นั ปโิ ตรเลียม
การวจิ ยั และพฒั นาดา้ นการปิโตรเลยี ม การบรหิ ารผลติ ภณั ฑ์ปโิ ตรเลยี ม รวมท้ังผลิตผลพลอยได้และ
เคมภี ัณฑ์จากการดาเนินงานการปโิ ตรเลยี ม ให้เปน็ ไปตามนโยบายของทางราชการ มผี อู้ านวยการศูนย์
พัฒนาปโิ ตรเลยี มภาคเหนอื เป็นผบู้ ังคบั บญั ชารับผิดชอบ

๒.ดา้ นการบริหารทรัพยากรมนษุ ย์
ศูนย์พฒั นาปิโตรเลยี มภาคเหนอื ไดจ้ ดั การวางแผนตามการบริหารงานดังนี้

- กองสารวจและผลติ ปิโตรเลียมมหี น้าท่ี วางแผน อานวยการ ประสานงาน และดาเนนิ การในเรื่องเกยี่ วกับ
การสารวจ เก่ียวกับการขุดเจาะและเก่ยี วข้องกับการผลิตปิโตรเลยี ม ในพื้นท่ที ่ีไดร้ บั มอบหมาย
- กองการกล่ันปิโตรเลยี มมหี น้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน และดาเนนิ การในเรือ่ งเกย่ี วกับการ
กลน่ั ปิโตรเลยี ม เพ่ือใหไ้ ด้มาซ่ึงผลติ ภณั ฑ์ปิโตรเลียมชนดิ ตา่ ง ๆ รวมทั้งผลิตผลพลอยได้และเคมีภณั ฑ์
ปโิ ตรเลียม
- กองกลาง มหี น้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากับการ และดาเนนิ การในเร่ืองเกยี่ วกับการกาลงั
พล เกีย่ วกบั การสวัสดิการ การสง่ กาลังบารุงการบรกิ ารและการขนสง่ ของศนู ย์พัฒนาปโิ ตรเลียมภาคเหนือ
- กองแผนและโครงการ มีหน้าที่ วางแผน อานวยการ ประสานงาน กากบั การ และดาเนินการในเร่อื ง
เก่ียวกบั การจดั ทาแผนงานโครงการ การฝกึ ศกึ ษาการรักษาการณ์ และการระวังปอ้ งกนั อันตรายต่อ
ทรัพยส์ นิ ของศูนย์พัฒนาปิโตรเลยี มภาคเหนอื

๓. ดา้ นการประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยใี นการบริหาร ดาเนินการในเรอื่ งเกย่ี วกบั การ
ฝึกอบรมการใช้โปรแกรมท่ีมเี กย่ี วของกับการสารวจขดุ เจาะผลติ ปโิ ตรเลียมและการกลั่นปิโตรเลยี ม

ตลอดจนการใช้ Social Media ตลอดจนประยกุ ตใ์ ชเ้ ทคโนโลยีใหก้ ับเจา้ หนา้ ทแี่ ละบุคลากรของทาง
ราชการให้มคี วามรู้ความสามารถดา้ นการสารวจ ขุดเจาะ ผลิตปโิ ตรเลียม และการกล่นั ปโิ ตรเลยี ม

๔.ดา้ นอาคารสถานท่ี และการจดั สภาพแวดล้อม
การจดั สถานท่ี ศนู ย์พฒั นาปิโตรเลยี มภาคเหนอื กรมการพลงั งานทหาร จะแบ่งออกเปน็ 3 สว่ นโดย

ศนู ยพ์ ฒั นาปโิ ตรเลียมภาคเหนือ เปน็ ศนู ยก์ ลาง กองสารวจและผลิตปโิ ตรเลียม กองการกลัน่ ปิโตรเลียม
เปน็ ภาคปฏบิ ตั ิงานโดยจะมีการระวงั ป้องกนั อุบตั ิเหตุตา่ งๆการเกบ็ วัสดหุ รอื ครภุ ณั ฑท์ ่ีเป็นการใช้งานเฉพาะ
ทางการสารวจขุดเจาะผลติ ปิโตรเลียมและการกลนั่ ปิโตรเลียมของหนว่ ยและการเก็บรกั ษาเพ่ือไมใ่ ห้เกิด
ผลกระทบต่อสภาพแวดลอ้ มบรเิ วณใกล้เคยี งตลอดจนการบาบัดของเสยี ต่างๆก่อนปล่อยลงสู่สภาพและ
สง่ิ แวดลอ้ มต้องได้มาตรฐานท่ีกาหนด กองกลาง กองแผนและโครงการ เป็นภาคส่วนของสานักงานดูแล

ขอ้ กาหนดของอาคารต่างๆ และตรวจสอบสถานที่เกบ็ อุปกรณ์ท่ใี ชเ้ ฉพาะทางดา้ นการสารวจขุดเจาะผลติ
ปโิ ตรเลยี มและการกลั่นปิโตรเลียม

๕. สรปุ แนวทางการนาไปประยุกตใ์ ช้ในสถานศึกษาครอบคลุม ๓ สมรรถนะหลัก
จากการข้อมลู สถานประกอบหรอื ศนู ย์พฒั นาปิโตรเลียมภาคเหนอื กรมพลงั งานทหาร กระทรวงกลาโหม

ควรมีการนาองค์ความรเู้ ข้ามาประยกุ ตใ์ ชใ้ นสถานศึกษา ในเร่ืองการดารงตนของรองผู้อานวยการ

สถานศกึ ษา ควรปฏบิ ตั ิ ๓ สมรรถนะ ดงั ต่อไปน้ี

๑. ผนู้ า 360 องศา (The Leader 360 Degree) คือการทร่ี องผู้อานวยการต้องพัฒนาตนเอง
ใหม้ ีประสทิ ธิภาพสอดคล้องกับความรู้ ทกั ษะและเจตคติ ที่ศูนย์พฒั นาปิโตรเลี่ยมภาคเหนือกรมพลังงาน
ทหาร กระทรวงกลาโหม ด้วยหลกั การและวิธปี ฏิบัตขิ องผู้นา 360 องศา เพ่ือให้ตนเองมคี วามสอดคลอ้ ง
กับความต้องการของบคุ คลแต่ละระดับ โดยทว่ั ไปแล้วเราสามารถแบ่งระดบั การเป็นผู้นาเพ่อื นาคนแต่ละ
ระดบั ของการพัฒนาผู้นา 360 องศา ตามหลักการและวิธีปฏบิ ตั ใิ นการเปน็ ผนู้ า นาคนระดับบน (หวั หนา้ )
,หลกั การและวิธีปฏบิ ตั ใิ นการเปน็ ผู้นา นาคนระดับกลาง (เพอื่ นรว่ มงาน) ,หลักการและวธิ ปี ฏิบตั ิในการเป็น
ผูน้ า นาคนระดับล่าง (ลูกน้อง) นอกจากความสามารถในการใช้ดิจิทัล เสรมิ กับอาชพี แห่งตน สร้างสรรค์
ประโยชน์จากการใช้งานขอ้ มูล ดูแลและจดั การดูแลตนเองอย่างปลอดภยั รจู้ ักบริหารจัดการดแู ล
เอกลกั ษณ์แห่งตัวตน เชน่ รหัสผ่าน ลายนิว้ มอื เลขบัตรประชาชน มีความรูเ้ รอื่ งพื้นฐานความมั่นคง
ปลอดภยั และป้องกนั ความเสย่ี ง ทกั ษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจทิ ลั (Digital literacy) รจู้ ัก เข้าใจ เรื่อง
เทคโนโลยีดจิ ิทัลพน้ื ฐาน ใชอ้ ุปกรณ์ทางด้านดจิ ทิ ัลได้ ใชบ้ รกิ ารจากท่ีใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ใช้อย่างรูค้ ุณคา่ มี
คุณธรรม จริยธรรมกับการใชง้ าน ใชอ้ ยา่ งรบั ผิดชอบ มีการแสวงหาความรู้ แยกแยะข้อมลู ขา่ วสาร สรา้ ง
คณุ คา่ สร้างสรรค์งานจากการเรยี นรู้ และสามารถนาความรมู้ าชว่ ยการดาเนินงาน และสรา้ งประโยชน์
ทักษะการใชข้ อ้ มูลขา่ วสารเพ่ือประโยชนเ์ ชิงวิชาการ รู้จักแหล่งเรียนรู้ คลงั ความรู้ สอ่ื สาระ ฐานข้อมลู
วชิ าการ การอา้ งองิ มคี วามเปน็ ผ้เู รียนรู้ หาส่ิงใหม่ เสรมิ ความเป็นผ้เู ชย่ี วชาญ เรยี นร้จู ากการให้บริการทาง
การศึกษาที่มีในระบบดิจทิ ัล สือ่ สาระออนไลน์ การจัดการเรียนรจู้ ากสอ่ื สาระ การเรยี นออนไลน์ การทา
วจิ ัยสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากดจิ ิทัล ทักษะการใช้ข้อมูลขา่ วสาร รูเ้ ทคนิคการคน้ หา แปลความ ประเมิน การ
จัดการ ขา่ วสาร การแบง่ ปัน การสง่ กระจาย การมองเหน็ การใชป้ ระโยชน์ การศกึ ษาของผู้เรียนใน
สถานศึกษาในเรื่องทักษะเหลา่ น้ี ให้รองรบั การกา้ วสเู่ ศรษฐกิจดิจทิ ลั และสรา้ งสรรค์กาลังพลของชาติ ส่ิงท่ี
สาคัญคือ ต้องให้กับโลกยคุ ใหม่ทใ่ี ชด้ จิ ิทัลได้อยา่ งมคี วามสุข

๒.สามารถขับเคล่ือนสถานศึกษาเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ดว้ ยระบบเทคโนโลยดี จิ ิทลั

- ความรดู้ ิจิทัล(Digital Literacy)
Digital literacy คอื ทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจิทัล หรือ Digital literacy หมายถึง ทกั ษะ
ในการนาเครื่องมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีดิจทิ ัลที่มีอยใู่ นปจั จุบนั อาทิ คอมพวิ เตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต
โปรแกรมคอมพิวเตอร์ และส่ือออนไลน์ มาใช้ให้เกดิ ประโยชน์สงู สุด ในการสอื่ สาร การปฏิบัตงิ าน และการ
ทางานร่วมกนั หรือใช้เพ่ือพฒั นากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองค์กรให้มีความทันสมยั และมี
ประสิทธภิ าพ

๓. การทางานเป็นทีม (Team work) คือการประสานงานกับบุคคลที่มีการประสานงานกัน ร่วมมือ
กัน มีความสามัคคี มีเป้าหมายร่วมกันและเชื่อใจกัน โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างการทางานเป็นทีม 3 ร่วม
ดงั น้ี

1. ร่วมใจ (Heart) หมายถึง ความรู้สึกของสมาชิกท่ีรักและศรัทธาในหัวหน้าทีมงานท่ีทาและ
เพื่อนๆ รว่ มทมี วา่ เป็นพวกเดียวกนั หรอื ที่เรยี กว่า Feel like a team

2. ร่วมคิด (Head) หมายถึง การใช้ความคิด เหตุผลให้เพ่ือนร่วมงานเช่ือมั่นว่า ทาแล้วดี
มีประโยชน์ต่อตัวเขาเอง ต่อองค์กร โดยช่วยกันระดมสมอง กาหนดเป้าหมาย วางแผน แบ่งงาน แบ่ง
หน้าท่ี หรือท่เี รยี กว่า Think like a team

3. ร่วมทา (Hand) หมายถึง การรว่ มมือ ลงมือทางานซ่ึงได้มีการวางแผนไว้ หน้าที่ใครก็รับไปทา มี
พันธะ สัญญาท่จี ะต้องทาตามแผนทุกคน เน่อื งจากได้คดิ ร่วมกันหรอื ทเ่ี รยี กวา่ Work like a team

ดงั นน้ั จากที่กลา่ วมาขา้ งต้นทั้ง ๓ สมรรถนะ ผ้บู ริหารสถานศึกษายุคใหม่ ควรนามาประยุกต์
ใหส้ อดคล้องกบั บรบิ ทหรอื ให้สถานศกึ ษาสามารถดาเนินไปได้ดว้ ยความราบร่ืน พร้อมทงั้ ทาความร่วมมือ
และประสานงานในการบริหารสถานศึกษาโดยใช้วิธีการ ตาม ๓ สมรรถนะที่กล่าวมาขา้ งต้น


Click to View FlipBook Version