The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

A๑ บันทึกการศึกษาดูงาน กฟผ.สอศ. แม่เมาะ ๑๘๒

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by ss.akojang88, 2022-05-08 05:48:40

A๑ บันทึกการศึกษาดูงาน กฟผ.สอศ. แม่เมาะ ๑๘๒

A๑ บันทึกการศึกษาดูงาน กฟผ.สอศ. แม่เมาะ ๑๘๒

แบบบันทึกการศกึ ษาดงู าน
ช่อื สถานประกอบการ.การไฟฟ้าฝา่ ยผลิตแหง่ ประเทศไทย (กฟผ.) แมเ่ มาะ.....
ชื่อ-สกลุ .นายวทิ ยา พิชยาปรีชาพล ...เลขท.่ี ..๘..............กลมุ่ ....๗..............สาย..-.......................

ประเด็นการศกึ ษาดูงาน
1. ด้านการสร้างภาพลกั ษณอ์ งค์การ
โครงการฯ กฟผ.-สอศ. เกิดข้ึนเพือ่ ตอบสนองนโยบายของรัฐบาลเร่ืองการปฏิรูปประเทศ และการ

แก้ไขปัญหาขาดแคลนแรงงานระดับช่างเทคนิคของประเทศ โดยนาจุดแข็งของ กฟผ. ได้ที่มีความ
เชี่ยวชาญเทคนิคการเดินเครื่อง การบารุงรักษาโรงไฟฟ้า และระบบส่งไฟฟ้า มาบูรณาการร่วมกับ สอศ.
จัดทาแผนการเรียนรู้ท่ีเน้นการฝึกประสบการณ์ให้กับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพช้ันสูง (ปวส.)
โดยมีเป้าหมาย เพื่อผลิตและพัฒนากาลังคนระดับช่างเทคนิคและนักเทคโนโลยีสร้างประโยชน์คืนกลับให้
สังคม สร้างความแข่งขันของประเทศและตอบสนองความต้องการในการพัฒนาประเทศไทยสู่ความ
“มัน่ คง ม่งั คั่ง และย่ังยืน” โดยเนน้ ทกี่ ารคืนความรู้สูส่ งั คม ของ กฟผ. การทาให้กาลังคนในส่วนนี้มีคุณภาพ
และมีคุณสมบัติได้มาตรฐานตามคุณวุฒิวิชาชีพด้านพลังงานและพลังงานทดแทน (สาขางานระบบผลิต
ไฟฟ้า) และการมีสว่ นร่วมของผมู้ สี ว่ นได้สว่ นเสยี คือ สอศ. นกั ศกึ ษาและผปู้ กครอง ทาให้เกิดภาพลักษณ์ใน
การเป็นผู้สนบั สนนุ และสง่ เสริมใหเ้ กิดกาลังคนระดบั ฝีมือ

2. ด้านการบรหิ ารทรพั ยากรมนุษย์
ในแง่ของ กฟผ. นอกจากจะเป็นผลพลอยได้ในการสร้างโอกาสท่จี ะไดแ้ รงงานฝีมอื แล้ว ในส่วนของ

บุคลากร กฟผ. ยังได้ประโยชน์ใน 2 สว่ น คอื

 การพัฒนาเทคนิควิธีการ ก็ได้รับการพัฒนา การพัฒนาวิธีการจัดการการเรียนรู้
การวางแผนการสอนและการประเมิน ตามแนวทางของ สอศ. ทาให้ครูฝึกเป็น
ครฝู ึกทีม่ ีคณุ ภาพ

 การสร้างขวัญกาลังใจ และความภาคภูมิใจให้กับบุคลากร ในการตระหนักถึง
คุณค่า ความสามารถของตนเอง ที่สามารถถ่ายทอดความรู้สู่ภายนอก และการ
ทาประโยชน์ให้กับสังคม ท้ังน้ี ครูฝึกท้ังหมดของ กฟผ. ถ่ายทอดความรู้ให้กับ
นกั ศกึ ษาโครงการฯ ในรูปแบบของจติ อาสา ไม่มคี า่ ตอบแทนการสอนแต่อย่างใด

3. การประยุกต์ใชเ้ ทคโนโลยใี นการบรหิ าร
นอกจากใช้เทคโนโลยีช่วยในการจัดการข้อมูลและการสื่อสารของโครงการฯ ก่อนปี 2562 (ก่อน

การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)) ท่ีมีอยู่เดิมแล้ว ระหว่างการระบาดจนถึง
ปัจจุบัน โครงการฯ มีการนาเอาเทคโนโลยีการส่ือสารผ่านระบบออนไลน์ มาช่วยในการเรียนรู้ และการ
ทางานของโครงการฯ ดังจะเห็นได้จากการใช้ช่องทางสื่อสารกับนักศึกษาผ่าน Social network ทั้ง Line

และ Facebook group การประชุมและเรียนรู้ผ่านการการประชุมทางไกล Zoom Conference การ
สอบ และเก็บคะแนนผ่าน Google form เป็นต้น ทั้งนี้ได้มีการปรับรูปแบบ และวางแผนการเรียนรู้ให้
เหมาะสม และเกิดผลมากท่ีสุดในสถานการณ์ ที่เกิดขึ้น ซ่ึงคาดว่าเมื่อกลับสู่สถานการณ์ปกติ ก็ยังจะมีการ
นาเอาเทคโนโลยที ่ใี ชไ้ ดผ้ ลดมี าปรบั ใชต้ อ่ ไป

4. ดา้ นสถานทแี่ ละการจัดการสภาพแวดล้อม
การถ่ายทอดความรู้ให้กับช่างเทคนิค คือการได้ฝึกประสบการณ์และทักษะจากการปฏิบัติ และ

การสร้างความคุ้นเคยกับโรงงานขนาดใหญ่ ซ่ึงเป็นหัวใจของการฝึกอาชีพด้านอุตสาหกรรรม แต่เนื่องจาก
ในปจั จบุ ัน ซึ่งเป็นช่วงของสถานการณ์ COVID-19 กฟผ. มีข้อจากัดในการนานักศึกษาเข้าพ้ืนท่ี เนื่องจาก
มาตรการเฝ้าระวังการติดเชอ้ื ซึง่ หมายถึงผลกระทบต่อการผลิตไฟฟ้าของประเทศ และความปลอดภัยของ
นกั ศกึ ษาและเจา้ หน้าที่ อยา่ งไรกต็ าม โครงการฯ มีความพยายามในการสร้างโอกาสให้นักศึกษาได้เข้าพ้ืนท่ี
จริง และได้สัมผัสกับการจาลองสถานการณ์ต่างๆ ท้ังผ่านเคร่ืองจาลอง (Simulator) และการถ่ายทอดสด
ผ่าน การประชมุ ทางไกลให้ไดม้ ากที่สดุ และมีการประเมนิ สถานการณ์เปน็ ระยะๆ เพื่อให้นักศึกษาได้เข้าฝึก
อาชพี ในพ้นื ทไี่ ด้เรว็ ท่สี ุดต่อไป

นอกจากนี้เมื่อมีการเข้าพ้ืนท่ีโรงไฟฟ้า ก็ต้องมีการปฏิบัติตามมาตรการความปลอดภัยท้ังจาก
COVID-19 คือการตรวจหาเช้ือ การแสดงผลรับรองการฉีดวัคซีน เพื่อสร้างความม่ันใจในการปลอดโรคฯ
และการอบรมทบทวนความปลอดภัยในการทางานตามมาตรฐานสถานประกอบการขนาดใหญ่ เพื่อสร้าง
ความมัน่ ใจว่านักศึกษาจะสามารถปฏิบัติตน และฝกึ อาชพี อย่างปลอดภยั

๕. สรุปแนวทางการนาไปประยกุ ต์ใชใ้ นสถานศกึ ษาครอบคลุม ๓ สมรรถนะหลัก
จากการข้อมูลสถานประกอบควรมีการนาองค์ความรเู้ ข้ามาประยุกต์ใชใ้ นสถานศึกษา ในเรือ่ งการดารงตน
ของรองผูอ้ านวยการสถานศึกษา ควรปฏบิ ตั ิ ๓ สมรรถนะ ดังต่อไปน้ี

๑. ผ้นู า 360 องศา (The Leader 360 Degree) คอื การทร่ี องผอู้ านวยการตอ้ งพัฒนาตนเอง
ให้มปี ระสทิ ธิภาพสอดคล้องกับความรู้ ทกั ษะและเจตคติ ทีศ่ นู ย์พัฒนาปโิ ตรเล่ยี มภาคเหนอื กรมพลังงาน
ทหาร กระทรวงกลาโหม ด้วยหลกั การและวธิ ีปฏิบตั ิของผู้นา 360 องศา เพ่ือให้ตนเองมคี วามสอดคล้อง
กบั ความต้องการของบคุ คลแต่ละระดับ โดยท่วั ไปแล้วเราสามารถแบ่งระดบั การเป็นผู้นาเพื่อนาคนแต่ละ
ระดบั ของการพฒั นาผนู้ า 360 องศา ตามหลกั การและวิธีปฏิบัตใิ นการเปน็ ผู้นา นาคนระดบั บน (หัวหนา้ )
,หลกั การและวิธีปฏบิ ตั ิในการเป็นผู้นา นาคนระดับกลาง (เพ่อื นร่วมงาน) ,หลกั การและวธิ ปี ฏิบตั ิในการเปน็
ผ้นู า นาคนระดบั ล่าง (ลูกน้อง) นอกจากความสามารถในการใช้ดิจิทลั เสรมิ กับอาชีพแหง่ ตน สร้างสรรค์
ประโยชนจ์ ากการใช้งานข้อมูล ดแู ลและจัดการดูแลตนเองอย่างปลอดภัย รู้จักบรหิ ารจัดการดแู ล
เอกลกั ษณ์แห่งตวั ตน เช่น รหสั ผ่าน ลายนว้ิ มือ เลขบตั รประชาชน มีความรูเ้ ร่ืองพน้ื ฐานความมั่นคง
ปลอดภัย และป้องกันความเสยี่ ง ทักษะการใชเ้ ทคโนโลยดี ิจิทัล (Digital literacy) รู้จัก เขา้ ใจ เรื่อง
เทคโนโลยดี จิ ทิ ัลพ้นื ฐาน ใช้อุปกรณท์ างดา้ นดิจิทัลได้ ใชบ้ ริการจากท่ีใหบ้ รกิ ารต่าง ๆ ใช้อย่างรคู้ ุณค่า มี
คณุ ธรรม จรยิ ธรรมกบั การใชง้ าน ใช้อย่างรับผิดชอบ มีการแสวงหาความรู้ แยกแยะข้อมลู ข่าวสาร สร้าง
คุณค่า สรา้ งสรรคง์ านจากการเรียนรู้ และสามารถนาความร้มู าชว่ ยการดาเนนิ งาน และสร้างประโยชน์

ทกั ษะการใชข้ ้อมลู ขา่ วสารเพ่ือประโยชน์เชิงวิชาการ รูจ้ ักแหล่งเรยี นรู้ คลงั ความรู้ สือ่ สาระ ฐานข้อมูล
วิชาการ การอ้างองิ มีความเปน็ ผู้เรียนรู้ หาส่งิ ใหม่ เสรมิ ความเป็นผเู้ ชยี่ วชาญ เรียนรูจ้ ากการให้บริการทาง
การศกึ ษาที่มีในระบบดิจทิ ัล สือ่ สาระออนไลน์ การจดั การเรยี นรจู้ ากส่อื สาระ การเรยี นออนไลน์ การทา
วจิ ัยสรา้ งสรรคผ์ ลงานจากดิจิทัล ทักษะการใช้ข้อมลู ข่าวสาร รเู้ ทคนคิ การคน้ หา แปลความ ประเมิน การ
จดั การ ข่าวสาร การแบ่งปัน การส่งกระจาย การมองเห็น การใช้ประโยชน์ การศึกษาของผู้เรียนใน
สถานศึกษาในเรื่องทักษะเหล่าน้ี ใหร้ องรบั การก้าวสเู่ ศรษฐกิจดิจิทัล และสร้างสรรคก์ าลงั พลของชาติ สิ่งท่ี
สาคญั คือ ตอ้ งให้กับโลกยคุ ใหม่ท่ใี ชด้ จิ ิทัลได้อยา่ งมีความสุข

๒.สามารถขับเคล่ือนสถานศกึ ษาเป็นองคก์ รแห่งการเรยี นร้ดู ้วยระบบเทคโนโลยีดิจทิ ัล

- ความรู้ดิจทิ ัล(Digital Literacy)
Digital literacy คือทักษะความเขา้ ใจและใช้เทคโนโลยดี ิจทิ ลั หรือ Digital literacy หมายถึง ทกั ษะ
ในการนาเคร่ืองมือ อปุ กรณ์ และเทคโนโลยีดจิ ทิ ัลท่มี ีอยู่ในปัจจบุ ัน อาทิ คอมพิวเตอร์ โทรศัพท์ แทปเลต
โปรแกรมคอมพวิ เตอร์ และส่ือออนไลน์ มาใช้ใหเ้ กิดประโยชน์สูงสุด ในการสือ่ สาร การปฏิบัตงิ าน และการ
ทางานรว่ มกัน หรือใช้เพื่อพฒั นากระบวนการทางาน หรือระบบงานในองคก์ รให้มีความทันสมัยและมี
ประสิทธภิ าพ
๓. การทางานเป็นทีม (Team work) คือการประสานงานกับบุคคลที่มีการประสานงานกัน ร่วมมือ

กัน มีความสามัคคี มีเป้าหมายร่วมกันและเช่ือใจกัน โดยมีกลยุทธ์ในการสร้างการทางานเป็นทีม 3 ร่วม

ดังนี้

1. ร่วมใจ (Heart) หมายถึง ความรู้สึกของสมาชิกที่รักและศรัทธาในหัวหน้าทีมงานที่ทาและ

เพอ่ื นๆ รว่ มทมี วา่ เปน็ พวกเดยี วกนั หรือทเี่ รียกวา่ Feel like a team

2. ร่วมคิด (Head) หมายถึง การใช้ความคิด เหตุผลให้เพื่อนร่วมงานเชื่อม่ันว่า ทาแล้วดี

มีประโยชน์ต่อตัวเขาเอง ต่อองค์กร โดยช่วยกันระดมสมอง กาหนดเป้าหมาย วางแผน แบ่งงาน แบ่ง

หนา้ ที่ หรือทเี่ รยี กวา่ Think like a team

3. รว่ มทา (Hand) หมายถึง การรว่ มมอื ลงมือทางานซึ่งได้มีการวางแผนไว้ หน้าท่ีใครก็รับไปทา มี

พันธะ สัญญาทีจ่ ะต้องทาตามแผนทุกคน เนือ่ งจากได้คดิ ร่วมกันหรือทเ่ี รียกวา่ Work like a team

ดังน้นั จากทีก่ ล่าวมาขา้ งตน้ ทั้ง ๓ สมรรถนะ ผ้บู ริหารสถานศกึ ษายุคใหม่ ควรนามาประยุกต์
ใหส้ อดคล้องกับบริบทหรือให้สถานศกึ ษาสามารถดาเนินไปได้ดว้ ยความราบรื่น พรอ้ มท้งั ทาความร่วมมือ
และประสานงานในการบริหารสถานศึกษาโดยใช้วิธีการ ตาม ๓ สมรรถนะท่ีกลา่ วมาขา้ งต้น


Click to View FlipBook Version