โครงงานคอมพวิ เตอร์บูรณาการวชิ าสุขศึกษา
เร่ือง การทา CPR หรือการกู้ชีพฉุกเฉิน
เสนอ
คุณครูชัชวาลย์ ฝ่ ายกระโทก
นายศรัณย์ จดั ทาโดย ม.4/2 เลขท่ี 11
นางสาวชลธิชา แนบเนียน ม.4/2 เลขที่ 24
นางสาวนาตฏยา ศิละแสน ม.4/2 เลขท่ี 30
นางสาวรัตนาภรณ์ ชูชัย ม.4/2 เลขที่ 39
นางสาวสิตางศ์ุ สุวรรณคล้าย ม.4/2 เลขท่ี 40
วฒุ วิ รารางค์
โครงงานเล่มนีเ้ ป็ นส่วนหน่ึงของ
วชิ าคอมพวิ เตอร์และวชิ าสุขศึกษา
ปี การศึกษา 2562 ภาคเรียนที่ 1
ก
ช่ือเรื่อง : การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉิน
รายวชิ า : เทคโนโลย(ี วทิ ยาการคานวณ)
กล่มุ สาระการเรียนรู้ : การงานอาชีพและเทคโนโลยสี ารสนเทศ
สมาชิก : นายศรัณย์ แนบเนียน ม.4/2 เลขที่ 11
ครูทป่ี รึกษา ม.4/2 เลขที่ 24
นางสาวชลธิชา ศลิ ะแสน ม.4/2 เลขท่ี 30
ม.4/2 เลขที่ 39
นางสาวนาตฏยา ชูชยั ม.4/2 เลขท่ี 40
นางสาวรัตนาภรณ์ สุวรรณคลา้ ย
นางสาวสิตางศุ์ วฒุ ิวรารางค์
: ครูชชั วาลย์ ฝ่ ายกระโทก
ปี การศึกษา : 2562
บทคดั ย่อ
โครงงานเร่ือง การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉิน มีจุดมุ่งหมายเพ่ือเผยแพร่ข้นั ตอน
การปั๊มหวั ใจผหู้ มดสติไดอ้ ยา่ งถูกตอ้ งและออกสารวจอตั ราของผทู้ ี่หวั ใจหยดุ เตน้ ในโรงเรียน
อุทยั วทิ ยาคม
ซ่ึงข้นั ตอนการดาเนินโครงงานมีดงั น้ี
- ผศู้ ึกษาโครงงานเสนอโครงงานกบั คุณครูที่ใหค้ าปรึกษาเพื่อขอคาแนะนาและกาหนด
ขอบเขตในการทา โครงงาน
- วเิ คราะหห์ วั ขอ้ โครงงานและกาหนดวตั ถุประสงค์
- กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงไดก้ ลุ่มประชากรคือนกั เรียนโรงเรียนอุทยั วิทยาคม
โดยการดาเนินงานจะมีการจาลองสถานการณ์ของผทู้ ่ีมีอาการหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั เพอ่ื ทา
การ CPR และบอกข้นั ตอนชดั เจน และบอกจานวนอตั ราของผทู้ ี่มีอาการหวั ใจหยดุ เตน้ ใน
โรงเรียน หลงั จากดาเนินการเสร็จสิ้น จะเป็นการวเิ คราะหข์ อ้ มลู และสรุปผล
จากการศึกษาเร่ือง การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉิน
ทานาเสนอเป็นรูปเล่ม และเสนอต่อคุณครูท่ีปรึกษา
ข
คานา
โครงงานน้ีเป็นส่วนหน่ึงของการศึกษาวชิ าการงานอาชีพและเทคโนโลยสี ารสนเทศรหสั
วชิ า ว31191 จดั ทาข้ึนเพอ่ื ใหผ้ ทู้ ่ีสนใจและผทู้ ี่ตอ้ งการศึกษาเก่ียวกบั การทา CPR หรือการกชู้ ีพ
ฉุกเฉิน และบอกวธิ ีการทา CPR เบ้ืองตน้ ไวโ้ ดยสังเขป
โครงงานเล่มน้ีเป็นการศกึ ษาคน้ ควา้ เกี่ยวกบั ข้นั ตอนวธิ ีการป้ัมหวั ใจ(CPR)อยา่ งถูกวธิ ี และ
บอกอตั ราท่ีแน่นอนของผทู้ ่ีมีภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั เช่น การช่วยชีวติ ผทู้ ี่ถูกไฟฟ้ าดูด คน
ท่ีจมน้า ชอ็ กเพราะเสียเลือดมาก เป็นตน้
โครงงานน้ีไดร้ ับคาแนะนาจากครูชชั วาลย์ ฝ่ ายกระโทก และขอ้ มลู จากเวบ็ ไซตต์ ่างๆ ทาให้
โครงงานน้ีเสร็จสมบรู ณ์ คณะผจู้ ดั ทาหวงั วา่ โครงงานเรื่องการทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉินน้ี
จะเป็นประโยชนต์ ่อทุกท่านท่ีมีสนใจและจะเป็นประโยชนอ์ ยา่ งยง่ิ ถา้ มีการไปศกึ ษาพฒั นาต่อ
ยอด
คณะผจู้ ดั ทา
ค
กติ ตกิ รรมประกาศ
โครงงานคอมพวิ เตอร์บรู ณาการวชิ าสุขศกึ ษา เรื่อง การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉินน้ี
สาเร็จไดด้ ว้ ยความร่วมมือของสมาชิกในกลุ่ม และรับการช่วยเหลือ และสนบั สนุนจากหลาย ๆ
ท่าน ก่อนอื่นตอ้ งขอขอบคุณคุณครูชชั วาลย์ ฝ่ ายกระโทก ท่ีเป็นที่ปรึกษาโครงงาน และสอนให้
มีความรู้ความสามารถในการนาคอมพวิ เตอร์มาบรู ณาการกบั วชิ าอื่นๆ และทาใหเ้ กิดโครงงานน้ี
ข้ึน
จึงขอขอบพระคุณทุกท่านที่ไดส้ นบั สนุนการทางาน และใหก้ าลงั ใจเสมอมา จน
โครงงานคอมพวิ เตอร์บูรณาการวชิ าสุขศกึ ษาคร้ังน้ีสาเร็จลุล่วงดว้ ยดี และความดีอนั เกิดจาก
การศกึ ษาคน้ ควา้ คร้ังน้ี สมาชิกในกลุ่มขอมอบแด่ผมู้ ีพระคุณทุกท่าน และขอกราบขอบพระคุณ
มา ณ โอกาสน้ี
คณะผจู้ ดั ทา
ง
สารบัญ หน้า
เรื่อง ก
บทคดั ยอ่ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
คานา ง
สารบญั 1
บทที่ 1 บทนา 1
1
1.1 แนวคิดและที่มา 1
1.2 วตั ถุประสงค์ 2
1.3 ขอบเขตการศึกษาคน้ ควา้ 2
1.4 วธิ ีการดาเนินงาน 3
1.5 ประโยชนท์ ่ีไดร้ ับของโครงงาน 3
บทท่ี 2 เอกสารท่ีเก่ียวขอ้ ง 3-4
2.1 การ CPR 5
2.2 Cardiopulmonary Resuscitation 5
บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินงานโครงงาน 5
3.1 วสั ดุ-อุปกรณ์
3.2 ข้นั ตอนการดาเนินงาน 6
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
บทท่ี 5 สรุปผลและขอ้ เสนอแนะ ง
5.1 สรุปผลโครงงาน
5.2 ปัญหาและอุปสรรคในการทาโครงงาน 7
5.3 ขอ้ เสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา 7
7
บรรณานุกรม 7
ภาคผนวก จ
ฉ
1
บทท่ี 1
บทนา
1.1 แนวคดิ และทมี่ า
ในปัจจุบนั มีผสู้ ูงอายมุ ากข้ึนในทุกๆปี มากกวา่ เด็กและเยาวชนเสียอีก จึงทาเกิดอตั ราการหวั ใจ
หยดุ เตน้ มากข้ึนในสงั คม และการกชู้ ีพฉุกเฉินหรือการ CPR เป็นการปฐมพยาบาลอยา่ งหน่ึง ท่ี
หลายคนในสังคมยงั ไม่รู้จกั และรู้ข้นั ตอนการทาอยา่ งถกู วธิ ี และถา้ หากคนในครอบครัวของเขา
เกิด Cardiac Arrest ข้ึนมา จึงเป็นอะไรที่ยากสาหรับพวกในการรับมือ จึงทาใหก้ ลุ่มของขา้ พเจา้
สนใจท่ีจะทาโครงงานคอมพิวเตอร์บูรณาการวชิ าสุขศกึ ษาเร่ือง การทา CPR หรือการกชู้ ีพ
ฉุกเฉิน เพอื่ เผยแพร่ความรู้ในเร่ือง ข้นั ตอนวธิ ีการป๊ัมหวั ใจ CPR อยา่ งถูกตอ้ งถกู วธิ ี
ใหเ้ ป็นประโยชนต์ ่อผทู้ ี่สนใจศกึ ษาต่อไป
1.2 วตั ถุประสงค์
- เพอ่ื การเผยแพร่ข้นั ตอนวธิ ีการปั๊มหวั ใจ CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉินไดอ้ ยา่ งถกู ตอ้ งถูกวธิ ี
- เพอ่ื บอกอตั ราที่แน่นอนของผทู้ ี่มีอาการภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั
1.3 ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1.3.1ขอบเขตเน้ือหา เป็นโครงงานคอมพวิ เตอร์บรู ณาการวชิ าสุขศึกษาในเร่ืองที่กลุ่มสนใจ
โดยจดั ทาโครงงานในหวั ขอ้ เรื่อง การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉิน โดยแบ่งเน้ือหาออกเป็น 4
หวั ขอ้ ดงั น้ี
1.3.2 ศกึ ษาข้นั ตอนการทา CPR อยา่ งถกู วธิ ีจากแหล่งขอ้ มลู ท่ีน่าเชื่อถือ
1.3.3 การสอบถามอตั ราการเกิดภาวะของหวั ใจหยดุ เตน้ ของผคู้ นในโรงเรียน
1.3.4 ประชากรในศึกษาคน้ ควา้ คือนกั เรียนในโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม
1.3.5 ระยะเวลาในการสารวจ ต้งั แต่วนั ท่ี 10 กนั ยายน 2562 - 21 กนั ยายน 2562
2
1.4 วธิ ีการดาเนินงาน
การดาเนินงานเพื่อจดั ทาโครงงานคอมพิวเตอร์บรู ณาการวชิ าสุขศกึ ษาน้ี มีวธิ ีการตามลาดบั
ข้นั ตอนดงั น้ี
1.4.1 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานต่อคุณครูที่ใหค้ าปรึกษาแนะนาและกาหนดขอบเขตการคน้ ควา้
ของโครงงาน
1.4.2 ผศู้ ึกษาวเิ คราะห์และกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการทาโครงงาน
1.4.3 กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงกลุ่มประชากรไดแ้ ก่นกั เรียนในโรงเรียนอุทยั วิทยาคม
1.4.4 ออกสารวจอตั ราของผทู้ ี่มีอาการหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั ในโรงเรียน
1.4.5 เกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู
1.4.6 สรุปผลการศกึ ษา เขียนสรุปตามท่ีเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ อ้ มูลมา
1.4.7 นาเสนอคุณครูที่ปรึกษาเพอื่ รายงานผลของการดาเนินงาน
1.5 ประโยชน์ทไ่ี ด้รับ
1.5.1 คนส่วนมากรับรู้ข้นั ตอนการทา CPR อยา่ งถูกตอ้ งและถกู วธิ ี
1.5.2 สามารถบอกจานวนท่ีแน่นอนของผทู้ ี่มีอาการภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั
3
บทท่ี 2
เอกสารทเ่ี กย่ี วข้อง
ในการทาโครงงานคอมพวิ เตอร์บรู ณาการวิชาสุขศึกษา เร่ือง การทา CPR หรือการกชู้ ีพ
ฉุกเฉิน กลุ่มผศู้ กึ ษาไดร้ วบรวมแนวคิดทฤษฎีและหลกั การต่างๆ จากเอกสารและงานวจิ ยั ที่
เกี่ยวขอ้ งดงั ต่อไปน้ี
2.1 การ CPR
คือวธิ ีปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ท่ีช่วยคืนชีวติ แก่ผปู้ ระสบเหตุมานกั ต่อนกั ดงั น้นั ข้นั ตอนการ
ทา CPR ที่ถกู ตอ้ งจึงควรเป็นความรู้ที่น่าจะติดตวั เราทุกคนไวบ้ า้ ง เพราะอุบตั ิเหตุเป็นส่ิงที่
เกิดข้ึนไดท้ ุกท่ีทุกเวลา และอาจมีบางสถานการณ์ที่เราตอ้ งพบเห็นผปู้ ระสบเหตุหมดสติ หวั ใจ
หยดุ เตน้ เช่น คนจมน้า คนถกู ไฟดูด สูดดมกา๊ ซพิษ ควนั พิษ ช็อกเพราะเสียเลือดมาก หรือผู้
ประสบเหตุที่หวั ใจหยดุ เตน้ ไปชวั่ ขณะจากสาเหตุอ่ืน ๆ กต็ าม ดงั น้นั หากเรามีโอกาสและความรู้
พอที่จะช่วยชีวติ เพือ่ นมนุษยห์ รือแมก้ ระทงั่ คนใกลต้ วั ได้
2.2 Cardiopulmonary Resuscitation
หรือเรียกง่าย ๆ วา่ CPR คือ การปฐมพยาบาลเพื่อช่วยเหลือผทู้ ี่หยดุ หายใจหรือหวั ใจหยดุ
เตน้ ใหก้ ลบั มาหายใจ และมีการไหลเวยี นออกซิเจนรวมท้งั เลือดกลบั คืนสู่สภาพเดิม พร้อมท้งั
ป้ องกนั เน้ือเยอื่ ไม่ใหไ้ ดร้ ับอนั ตรายจากการขาดออกซิเจนอยา่ งถาวร โดยเราสามารถทาการฟ้ื น
คืนชีพข้นั พ้นื ฐานใหผ้ ปู้ ระสบเหตุไดโ้ ดยการกดหนา้ อกและช่วยหายใจ
ท้งั น้ี ภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ เฉียบพลนั เป็นสาเหตุสาคญั ท่ีทาใหเ้ สียชีวติ ซ่ึงอาจเกิดไดจ้ าก
การเป็นโรคหวั ใจ, ออกกาลงั กายมากเกินไป, ตกใจหรือเสียใจกะทนั หนั , จากการสูญเสียเลือด
มาก, เลือดมาเล้ียงหวั ใจไม่ทนั , ทางเดินหายใจอุดก้นั รวมท้งั อาจเกิดจากการไดร้ ับยาเกินขนาด
หรือแพย้ า ดงั น้นั จึงมีการบญั ญตั ิ "ห่วงโซ่แห่งการรอดชีวติ " (Chain of Survival) เพอื่ เป็น
หลกั การช่วยฟ้ื นคืนชีพแนวทางเดียวกนั ทวั่ โลกและเป็นขอ้ ตกลงร่วมกนั ในการปฏิบตั ิ
ประกอบดว้ ย
2.2.1การประเมินผปู้ ่ วยวา่ ยงั รู้สึกตวั อยหู่ รือไม่ หากไม่มีสติ คลาหาชีพจรไม่พบ ควรเรียกขอ
ความช่วยเหลือหรือเรียกบริการการแพทยฉ์ ุกเฉินจากหน่วยงานต่าง ๆ ทนั ที เช่น ศนู ยเ์ อราวณั
(เฉพาะในพ้นื ที่ กทม.) โทร. 1646, สถาบนั การแพทยฉ์ ุกเฉินแห่งชาติ โทร. 1669 (ทวั่ ประเทศ)
4
2.2.2 การกดหนา้ อกอยา่ งถกู ตอ้ งและทนั ท่วงที (ทา CPR)
2.2.3 การทาการช็อกไฟฟ้ าหวั ใจ (AED) ภายใน 3-5 นาที เมื่อมีขอ้ บ่งช้ี
2.2.4 การช่วยฟ้ื นคืนชีพข้นั สูงอยา่ งมีประสิทธิภาพ
2.2.5 การดูแลภายหลงั การช่วยฟ้ื นคืนชีพ
สาหรับอาการของผบู้ าดเจบ็ ท่ีควรไดร้ ับการช่วยเหลืออยา่ งเร่งด่วนดว้ ยการทา CPR สามารถ
สงั เกตได้ ดงั น้ี
1. หมดสติ ไม่รู้สึกตวั
2. ไม่หายใจ หรือหายใจเฮือก
3. หวั ใจหยดุ เตน้
5
บทท่ี 3
วธิ ีการดาเนินโครงงาน
ในการทาโครงงานคอมพวิ เตอร์บรู ณาการวชิ าสุขศกึ ษาเรื่อง การทา CPR หรือการกชู้ ีพ
ฉุกเฉิน กลุ่มผศู้ กึ ษามีวธิ ีการดาเนินโครงงานดงั ต่อไปน้ี
3.1 วสั ดุ-อปุ กรณ์
3.1.1 ปากกา ยางลบ ดินสอ ไมบ้ รรทดั
3.1.2 โปรแกรม Microsoft Word
3.1.3 อินเทอร์เน็ตและคอมพวิ เตอร์
3.1.4 กระดาษแบบสารวจอตั ราการหวั ใจหยดุ เตน้
3.2 ข้นั ตอนการดาเนินงาน
3.2.1 นาเสนอหวั ขอ้ โครงงานต่อคุณครูท่ีใหค้ าปรึกษาแนะนาและกาหนดขอบเขต
การคน้ ควา้ ของโครงงาน
3.2.2 ผศู้ กึ ษาวเิ คราะหแ์ ละกาหนดวตั ถุประสงคใ์ นการทาโครงงาน
3.2.3 กาหนดกลุ่มประชากร ซ่ึงกลุ่มประชากรไดแ้ ก่นกั เรียนในโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคม
3.2.4 ออกสารวจอตั ราของผทู้ ่ีมีอาการหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั ในโรงเรียน
3.2.5 เกบ็ รวบรวมขอ้ มลู และวเิ คราะห์ขอ้ มลู
3.2.6 สรุปผลการศึกษา เขียนสรุปตามท่ีเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลและวเิ คราะหข์ อ้ มลู มา
3.2.7 นาเสนอคุณครูท่ีปรึกษาเพื่อรายงานผลของการดาเนินงาน
6
บทท่ี 4
ผลของการดาเนินโครงงาน
ในการทาโครงงานคอมพิวเตอร์บูรณาการสุขศึกษา เรื่อง การ CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉิน ไดร้ ับ
ผลของการดาเนินโครงงานดงั ต่อไปน้ี
การดาเนินโครงงานคอมพิวเตอร์บูรณาการสุขศกึ ษา เรื่อง การทา CPR หรือการกชู้ ีพ
ฉุกเฉิน ทาใหไ้ ดร้ ับความรู้ในเร่ืองการทา CPR ผทู้ ่ีหมดสติและมีชีพจรที่แผว่ ลงและทาการสอน
วธิ ีการป๊ัมหวั ใจCPRหรือการกชู้ ีพฉุกเฉินดว้ ยการทาเป็นคลิปวดิ ีโอหนงั ส้นั จาลองเหตุการณ์ผล
ปรากฏวา่ มีผคู้ นใหค้ วามสนใจเป็นอยา่ งมาก ท้งั เพื่อนๆ เเละรุ่นนอ้ งในโรงเรียนอุทยั วทิ ยาคมที่
ใหค้ วามสนใจและเขา้ มาสอบถามในเชิงลึกในส่วนของการวดั ระดบั การป๊ัมหวั ใจและข้นั ตอน
ต่างๆ
อตั ราผทู้ ่ีมีอาการภาวะหวั ใจหยดุ เตน้ กะทนั หนั คณะผจู้ ดั ทาไม่สามารถหาอตั ราที่
แน่นอนได้
ดงั น้นั อตั ราเฉล่ียของผทู้ ี่มีอาการภาวะหวั ใจของจงั หวดั อุทยั ธานีคือ100คน/ปี
7
บทท่ี 5
สรุปการดาเนินโครงงาน
5.1 สรุปผลการดาเนินโครงการ
5.1.1 ไดศ้ ึกษาเร่ือง การทา CPR หรือการกชู้ ีพฉุกเฉินซ่ึงเป็นเร่ืองท่ีกลุ่มสนใจไดอ้ ยา่ งละเอียดลึกซ้ึง
มากข้ึน ทาใหม้ ีความเขา้ ใจมากข้ึน
5.1.2 ไดเ้ ผยแพร่ความรู้เรื่อง ข้นั ตอนการทา CPR ใหผ้ ทู้ ่ีสนใจไดศ้ ึกษา
5.1.3 ไดน้ าความรู้ที่ไดจ้ ากการทา CPR ช่วยชีวติ มนุษยม์ าประยกุ ตใ์ ชใ้ หเ้ กิดประโยชนใ์ น
รูปแบบของโครงงาน
5.2 ปัญหาและอปุ สรรคในการโครงงาน
5.2.1 ในการทาโครงงานน้นั ไม่มีความราบร่ืนเท่าไร
5.2.2 เน้ือหาภายในโครงงานมีไม่มากพอ
5.2.3 ในการสารวจมีความยากลาบาก
5.2.4 ในการถ่ายทานาเสนอไม่ค่อยราบรื่นในช่วงที่ถ่ายทา
5.3 ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพฒั นา
เนื่องจากหวั ขอ้ ท่ีใชท้ าโครงงานน้ีเป็นหวั ขอ้ ตามท่ีกลุ่มสนใจ ซ่ึงบางคร้ังอาจไม่เป็นหวั ขอ้
ทางวชิ าการมากนกั ควรนาหวั ขอ้ ทางวชิ าการมาจดั ทาเป็นโครงงานเพอ่ื ประโยชนต์ ่อการศึกษา
จ
บรรณานุกรม
https://www.google.com/search?q=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%97%E0%B9%8
D%E0%B8%B2+cpr&rlz=1C1CHBF_thTH743TH743&oq=%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%
B8%97%E0%B8%B3+C&aqs=chrome.1.69i57j0l5.8717j0j8&sourceid=chrome&ie=UTF-8
https://health.kapook.com/view174233.html?fbclid=IwAR1Da8lQ7swpvJRyGg51DtCMJVawaK6VuQu
b7OkyFudWPkI5ojODM1kiaqY
https://www.pptvhd36.com/news/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%94
%E0%B9%87%E0%B8%99%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%99/70026
https://www.testbkk.org/th/news/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%8A%E0%B9%88
%E0%B8%A7%E0%B8%A2%E0%B8%9F%E0%B8%B7%E0%B9%89%E0%B8%99%E0%B8%84%E0%B8%
B7%E0%B8%99%E0%B8%8A%E0%B8%B5%E0%B8%9E-cpr
ฉ
ภาคผนวก