The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ปรัชญาและแนวคิดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
การใช้สถิติเพื่อการวิจัย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

ปรัชญาของการวิจัย

ปรัชญาและแนวคิดความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับ
การใช้สถิติเพื่อการวิจัย

Keywords: ปรัชญาของการวิจัย,01

1

1 ปรัชญาและแนวคดิ ความรู้ทั่วไปเกยี่ วกับ
การใช้สถติ เิ พ่ือการวจิ ัย

เสนอ
รศ.ดร.สุเทพ อว่ มเจริญ

โดย
1. นางสาวจฑุ าทพิ ย์ การวิจิตร์ รหัสนกั ศกึ ษา 6253200006
2. นางสาวนริษา วชิ ยั ดิษฐ รหสั นกั ศึกษา 6253200015
3. นางสาวพวงมณี อไภราช รหสั นกั ศกึ ษา 6253200024
4. นายยทุ ธภมู ิ สอนวิสัย รหสั นกั ศึกษา 6253200037
5. นางสาวจนั ทริ า จุกหอม รหสั นกั ศึกษา 6053200038
6. นางสาวชมภู่ กาฬจนั ทร์ รหัสนกั ศึกษา 6253200040
7. นางสาวลกั ษณารีย์ รุ้งแกว้ รหัสนกั ศกึ ษา 6253210046

MCI201 Statistics and Computer for Educational Research
(สถติ ิและคอมพิวเตอร์เพอื่ การวจิ ยั ทางการศึกษา)

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

2

ปรัชญาของการวิจัย

ปรัชญาเป็นแนวทางเบ้ืองต้นของมนุษยท์ ี่ใช้ค้นหาความจริงเกี่ยวกบั โลกและชีวิต สารัตถะของ
ปรัชญาคือ การต้งั คาถามกับทุกสิ่งทุกอย่างที่มนุษย์สงสัย จากน้นั จึงใคร่ครวญ พิจารณา หาคาตอบโดย
กระบวนการวจิ ารณญาณ การใคร่ครวญพิจารณาหาคาตอบ ในเชิงปรชั ญา หมายถงึ การทาความเขา้ ใจใหล้ ุ่ม
ลึกว่า ส่ิงน้ันเป็นอย่างไร เราจะเขา้ ถึงส่ิงน้ันไดอ้ ยา่ งไร และคุณค่าของสิ่งน้นั หรือการเขา้ ใจส่ิงน้ันคืออะไร
การศึกษาเชิงปรัชญาตอ้ งหลอมรวม 3 สาขาหลกั ของปรัชญามาผสมผสานกนั เป็นกระบวนทศั น์สู่วิธีวิทยา
ในการแสวงหาความรูค้ วามจริง (ประกอบเกียรตอิ ม่ิ ศริ ิ, 2556: 119)
การวิจัย (Research) คือ การศึกษาเพื่อคน้ ควา้ หาความจริงหรือความรู้ ใหม่ โดยใช้กระบวนการศึกษาที่
เชื่อถือได้ (กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พื่อนาความรู้หรื อความจริงท่ไี ดจ้ ากการวิจยั
มาอธิบายหาสาเหตุ เปลีย่ นแปลง หรือพฒั นางานท่ีปฏบิ ตั ิ

โดยท่ัวไปแล้วการวิจัยน้ัน มีจุดมุ่งหมายเพื่อหาคาตอบในสิ่งที่เป็ นปัญหาหรือมีขอ้ สงสัย ซ่ึง
แนวทางในการหาคาตอบ หรือความรูใ้ หม่น้นั ก็คอื แนวคิดพ้ืนฐานหรือปรชั ญาของการทาวิจยั นนั่ เอง
ปรชั ญาการวิจยั (Philosophy of Research)

ปรัชญาการวิจัย หมายถึง ความรักในการคน้ หาความจริงอย่างมีกระบวนการศึกษาที่เช่ือถือได้
(กระบวนการทางวิทยาศาสตร์) โดยมีวตั ถุประสงคเ์ พ่ือนาความรูห้ รือความจริงท่ไี ดจ้ ากการวจิ ยั มาอธิบายหา
สาเหตุ เปลี่ยนแปลง หรือพฒั นา

เมอ่ื กลา่ วถงึ ปรัชญาจึงมคี าถามท่ตี อ้ งคน้ หาคาตอบเชิงปรชั ญา ซ่ึงแบ่งออกไดเ้ ป็น 2 กลุ่มใหญๆ่ คือ
1. กลุ่มอภิปรัชญา (Metaphysics) โดยทว่ั ไปถือกันว่า อภิปรัชญา เป็นสาขาหน่ึงของปรัชญาซ่ึงว่า
ด้วยปัญหาพ้ืนฐานที่เก่ียวกบั สภาพของโลกและฐานะของมนุษย์ หรือเป็นการศึกษาเรื่องภาวะหรือสัตว์
(Being) และความมีอยู่ (Existence) คือ ศึกษาถึงภาวะทว่ั ไปอย่างใดอย่างหน่ึงของสิ่งท้งั หลาย ซ่ึงจะต้ัง
คาถามเกี่ยวกบั ความจริงจากฐานความเชื่อของผู้แสวงหาความจริง ระหว่างความจริงเป็ นเอกนิยม หรือ
สัมพนั ธน์ ิยม กล่มุ น้ีมคี าถามเชิงปรัชญาวา่ “ความจริง คืออะไร”ซ่ึงแบ่งออกเป็น 3 กลมุ่ ย่อย ไดแ้ ก่

1.1 กลุ่มเอกนิยม (Monism) ทฤษฎีทางปรัชญาที่มีความเชื่อว่า ความแท้จริง คือ ปฐมธาตุ
เพียงอย่างเดียว หรือความจริงเป็นเพียงหน่ึงเดียว ถา้ ถือว่าความแท้จริงเป็นจิตอย่างเดียว เรียกว่า เอกนิยม
แบบจติ ถา้ ถอื วา่ แมจ้ ริงเป็นสสารอยา่ งเดียว เรียกว่า เอกนิยมแบบสสาร แต่ถา้ ถอื วา่ ความแทจ้ ริงไมใ่ ช่ท้งั จิต
และสสารเรียกวา่ มชั ฌิมนิยม

1.1.1 พวกจิตนิยม (Idealism) มีความเช่ือวา่ ความจริงหน่ึงเดยี ว คอื จติ (Mind) หรือ
แบบ (Form) สาหรับเอกนิยมแบบจิตน้ี ถือว่าความแทจ้ ริง ปฐมธาตุมีแต่นามธรรม หรือจิตเพียงอย่างเดียว
เท่าน้ันเป็นตน้ ตอของสรรพส่ิง และสรรพสิ่งข้ึนอยู่กบั ความจริงสูงสุด ได้แก่ ปรัชญาสัต (Philosophy of
being) เป็น ปรัชญาของพาร์มีนิดสี (Parmenides) สมยั กรีกโบราณ กลา่ วว่า ความแทจ้ ริงปฐมธาตุ คือ สตั ซ่ึง

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

3

มีภาวะเป็นนิรันดร์รวมเอาภาวะต่างๆ ไวใ้ นหน่วยเดียวกนั ไม่มีการเปลี่ยนแปลงใดๆ ท้งั สิ้น แต่การท่ีเรา
มองเห็นการเปลี่ยนแปลงน้นั เป็นมายา คือ ความเขา้ ใจผิดไป
ส่วนเฮเกล (Hegel) ถือว่าความแทจ้ ริงมีจิตดวงเดียวเรียกวา่ ส่ิงสัมบูรณ์ (The absolute) เป็นต้นกาเนิดจิตท้งั
ปวง ลกั ษณะของจิต คือ หยุดนิ่งไม่ได้จะต้องมีกิจกรรมอยู่ตลอดเวลา ถ้าเช่นน้ันจิตจะไม่มีตวั ตนจะไม่
เรียกวา่ จิต การเคล่อื นไหวของ จิตเรียกวา่ การพฒั นาแบบปฏิพฒั นาการ (Dialectic) แบ่งออกเป็น 3 ระยะคอื

1. จติ เดิมท่บี ริสุทธ์ิ (Thesis)
2. จติ ขดั แยง้ ยงั แสดงตวั ออกเป็นสสาร (Antithesis)
3. จติ สังเคราะห์ สสารสานึกตวั เองว่าเป็นจติ (Synthesis)

1.1.2 พวกสสารนิยม (Materialism) มีความเชื่อว่าความจริงหน่ึงเดียว คือ กาย
(Body) หรือสสาร (Material) สาหรับกลุ่มสสารนิยม ถือว่าทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสสารหรือวตั ถุ สสารนิยมน้ี
เริ่มตน้ ต้งั แต่ปรัชญายุคแรกของกรีกท่ีพยายามคน้ หาคาตอบของโลกและสรรพส่ิง (วตั ถุ) ที่ปรากฏอยู่ โดย
ไดค้ าตอบแตกตา่ งกนั เช่น ธาเลส บอกว่าโลกเกิดจากน้า อแนกซีแมนเดอร์ บอกว่าโลกเกิดจาก ธาตุ 4 คือ
ดนิ น้า ลม ไฟ เมือ่ ธาตุ 4 น้ีรวมกนั กบั สรรพสิ่งยอ่ มเกิดข้นึ

น้ีเป็นความคิดเบ้ืองต้นของกลุ่มสสารนิยม ลิวคิปปุสและเคโมคลิตุส ได้ชื่อว่าเป็นผูก้ ่อต้ังกลุ่ม
สสารนิยมข้ึนอย่างแท้จริง โดยถือว่าวตั ถุหรือสสารน้นั เกิดข้ึนจากการรวมตวั กนั เองของอะตอมจานวน
มากมายนบั ไม่ถว้ น วตั ถุหรือสสารน้นั เม่ือแบ่งแยกออกเป็นส่วนยอ่ ยทสี่ ุดจนไม่สามารถแบ่งแยกตอ่ ไปอีก
ไดเ้ รียกวา่ อะตอม สสารนิยมแบง่ เป็น 2 กล่มุ ย่อย ไดแ้ ก่

1) อะตอม (Atomism) หรือปรมาณูนิยมน้ีมีความเชื่อว่า ความเป็นจริงมีแต่สสารเพียงอย่าง
เดียว มวลสารน้ีสามารถแบ่งเป็นหน่วยย่อยท่ีสุด เรียกว่า อะตอม (หรือปรมาณู) ซ่ึงคาว่า
อะตอมทใ่ี ชใ้ นทางปรัชญาน้ี หมายถงึ อนุภาคท่ีเล็กท่สี ุด เป็นอนุภาคสุดทา้ ยทแ่ี ยกต่อไปอกี
ไม่ไดแ้ ลว้ อะตอมน้ีเป็นอนุภาคนิรันดร ไมเ่ กดิ ไม่ตาย มีมาเอง ไม่มใี ครสร้าง และไมม่ ีใคร
ทาลายได้ (ทฤษฎีจงึ มีลกั ษณะเป็นพหุนิยมสสารนิยม)

2) พลังนิยม (Energetism) พลังนิยมมีความเห็นว่า สสารมิได้มีมวลสารดังท่ีมนุษย์มี
ประสบการณ์ดว้ ยประสาทสัมผสั แต่เน้ือแท้เป็นพลงั งานซ่ึงเม่ือ ทาปฏิกิริยากบั ประสาท
สัมผสั ของมนุษยท์ าให้รู้สึกไปว่ามีมวลสาร พวกพลงั นิยมจึง ยืนยนั ว่าความเป็นจริงเป็ น
พลังงานเพียงอย่างเดียวที่กระทาการให้เกิดสิ่งต่างๆ และเหตุการณ์ท้งั หลายในเอกภพ
พลงั งานดงั กลา่ วอาจเรียกช่ือเป็นอยา่ งอืน่ ไป ทาให้มชี ่ือผดิ เพ้ยี นกนั ออกไปได้

1.2 กล่มุ ทวนิ ิยม (Dualism) ทฤษฎที างปรัชญาที่ถือว่า ความแทจ้ ริงปฐมธาตุแบง่ เป็น 2 คอื
กายและจติ หรือท้งั แบบและสสาร ท้งั สองส่ิงอย่ดู ว้ ยกนั เสมือนเหรียญสองดา้ น เก่ยี วขอ้ งสมั พนั ธก์ นั ประดุจ
ดงั สสารและพลงั งาน แยกออกเป็น 2 กลุม่ ไดแ้ ก่

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

4

1) รังสรรคน์ ิยม เป็นทวนิ ิยมทางอภิปรัชญาที่ถือว่าความแทจ้ ริงปฐมชาตมิ ี 2 อย่าง
ได้แก่ จิตกับสสาร จิตเป็นใหญ่กวา่ เพราะเป็นผูส้ ร้างสสารเรียกว่า พระเจ้า และปล่อยให้สสารดารงอย่ดู ว้ ย
ตวั เอง แต่พระเจ้าผูส้ รา้ งก็มีอานาจควบคุมและทาลายลา้ งสสาร คือ ธรรมชาติ พืช สัตว์ มนุษยไ์ ดต้ ามพระ
ประสงค์ นกั ปรัชญาคนสาคญั คือ

เซนต์ ออกัสติน ไดก้ ล่าวว่า พระผูส้ ร้างเป็นความแท้จริงสูงสุดทรงเป็นนิรันดร เป็นพระวิญญาณ
บริสุทธ์ิ ตามหลกั ตรีเอกภพ พระเจา้ ทรงเขา้ ใจในพระองคเ์ อง พระเจา้ ผถู้ กู เขา้ ใจและเมอื่ ทรงเขา้ ใจตวั เองเป็น
อย่างดีที่สุดก็ย่อมเกิดความปี ติ ส่วนจิตท่ีปนอยู่กบั สสาร คือ จิตมนุษย์ ความจริงระดับต่าสุด คือ สสาร ซ่ึง
พระเจา้ สร้างข้นึ ใหม้ ีความแทจ้ ริงของตนเอง และมีพลงั ววิ ฒั นาการอยู่ในตวั

2) ชีวสสารนิยม (จิตสสารนิยม) เป็นทวินิยมทางอภิปรัชญาท่ีถือว่าความแท้จริง
น้นั คือจิตและสสารต่างๆ ก็เป็นความจริงท่ีไมข่ ้นึ ต่อกนั มอี ิสระต่อกนั นกั ปรชั ญาคนสาคญั คอื

ธาเลส ซ่ึงเชื่อวา่ จกั รวาลมีกฎเกณฑข์ องตนเอง โดยไม่ไดร้ ับจากจติ หรือเทพใดท้งั ส้ิน เทพสามารถ
ควบคุมหรือบนั ดาลให้เหตุการณ์ธรรมชาติเป็ นไปได้ตามประสงค์ก็เพราะรู้กฎธรรมชาติไม่ใช่มีอานาจ
เด็ดขาดเหนือกฎเกณฑ์ธรรมชาติ หรือเป็ นผู้กาหนดกฎเกณฑ์ธรรมชาติดังท่ีคนดึกดาบรรพ์เข้าใจกัน
เพราะฉะน้นั ท้งั เทพ จติ มนุษย์ และสสารตา่ งๆ กเ็ ป็นความจริงโดยอิสระของตนเอง

1.3 กล่มุ พหนุ ยิ ม (Pluralism) มีความเชื่อวา่ ความจริงมมี ากกว่าสองความจริง คือธาตทุ ้งั 4
คือ ดิน น้า ลม ไฟ เป็นตน้ นน่ั คอื ความจริงมไี ดห้ ลากหลายไม่จากดั ทฤษฎที างปรัชญาท่ถี อื วา่ ความแทจ้ ริงมี
อยู่หลายหน่วยซ่ึงอาจจะเป็นจิตหรือสสาร หรือท้งั จิตและสสารก็ได้นกั ปรัชญาพหุนิยมเช่ือว่าสรรพสิ่งทมี่ ี
จานวนมากหลายหลากในเอกภพน้ีไม่อาจจะลดลงให้เหลือเพียงหน่ึงเดียวหรือสองไดเ้ ลยแตอ่ ยา่ งนอ้ ยที่สุด
ปฐมธาตกุ ็ตอ้ งมสี ามหน่วยข้นึ ไป เพราะเป็นเอกภพท่มี ีความสลบั ซับซ้อนมาก

กล่าวโดยสรุป คาตอบที่ว่าความจริง คืออะไรของกลุ่มอภิปรัชญา (Metaphysics) หรือภวนั ตวิทยา
(Ontology) ก็คอื ความจริง คือส่ิงที่เราเชื่อวา่ จริง

2. กลุ่มญาณวิทยา (Epistemology) หรือเรียกอีกอย่างว่า ทฤษฎีความรู้ (Theory of Knowledge) คา
ว่า ญาณวิทยาน้ีบญั ญตั ิข้ึนเพื่อใชเ้ ป็นคาแปลของคาภาษาองั กฤษว่า Epistemology ซ่ึงมาจากภาษากรีกว่า
Episteme (ความรู)้ + Logos (วชิ า) มีความหมายว่า ทฤษฎแี ห่งความรู้ (Theory of knowledge) ซ่ึงญาณวิทยา
จะอธิบายถงึ ปัญหาเก่ยี วกบั ทม่ี าของความรู้ แหลง่ เกดิ ของความรู้ ธรรมชาตขิ องความรู้ และเหตุแห่งความรูท้ ่ี
แทจ้ ริง การทีม่ นุษยเ์ รามคี วามรูข้ ้ึนมาไดน้ ้นั เพราะมนุษยน์ ้นั รูจ้ กั การคิด ซ่ึงแตกตา่ งจากสตั วโ์ ลกประเภทอ่ืน
การที่เราจะมีความรู้ทีแ่ ทจ้ ริง (อภิปรัชญา) ได้น้ัน เราตอ้ งใชว้ ิธีการของญาณวิทยาสืบและคน้ หาความเป็น
จริงอย่างละเอียด วิธีการคน้ พบความจริงต่างๆ น้นั ทาไดอ้ ยา่ งไร ซ่ึงแบง่ เป็น 2 กลุ่มยอ่ ย คอื

2.1 กลุ่มเหตุผลนิยม (Rationalism) นักคิดในลทั ธิเหตุผลนิยม เช่ือว่า เหตุผลเป็นหนทาง
เดียวที่นาไปสู่ความรู้และความรู้เป็นสิ่งที่ติดตวั มนุษยม์ าแต่เกิดเป็นความรู้ก่อนประสบการณ์จึงไม่เช่ือว่า

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

5

ประสบการณจ์ ะให้ความรู้ทถ่ี ูกตอ้ งแน่นอน เพราะบ่อยคร้งั ที่ประสาทสมั ผสั ลวงเรา (Seeing is deceiving) มี
การแบง่ แยกชดั เจนระหว่าง จติ กบั สสาร โดยเชื่อว่าสองสิ่งน้ีเป็นอสิ ระจากกนั มนุษยม์ ีสสาร คอื ร่างกาย ที่
เป็นเหมอื นเคร่ืองจกั รทีส่ มบูรณ์แบบ แตก่ ม็ ีจติ ที่ทางานอย่างเป็นอิสระจากกายมนุษย์ จงึ มคี วามสามารถที่อยู่
เหนือความตอ้ งการทางกายและปฏิบตั ติ นอยา่ งมีเหตุผล นอกจากน้ีเขาเช่ือเหมือนเพลโต ทว่ี ่าจติ วญิ ญาณกบั
สสารน้นั แยกจากกนั อยา่ งชดั เจน

กล่าวโดยสรุป กลุ่มน้ีเช่ือวา่ การคน้ หาความจริงทาไดโ้ ดยการให้เหตุผล ครุ่นคดิ หรือกล่าวอีกอย่าง
หน่ึงว่า การคิดอย่างมีเหตุผล ซ่ึงอาศยั หลกั นิรนยั (Deduction) เป็นเคร่ืองมือ ความจริงเป็นส่ิงที่ไดม้ าจาก
ภายใน ไม่ใช่ภายนอก ความจริงเป็นส่ิงนิรันดร ไม่แปรเปล่ียน

2.2 กล่มุ ประจักษ์นิยม (Empiricism) ลทั ธิน้ีเช่ือวา่ มนุษยม์ คี วามรูใ้ นความจริงไดด้ ว้ ยการ
อาศยั ประสาทสัมผสั เท่าน้ัน ความรู้จึงเป็นสิ่งแปลกใหม่และเป็นความรู้หลงั ประสบการณ์(A Posteriori)
บางคร้ังกเ็ รียกลทั ธิน้ีว่า ลทั ธิประสบการณ์นิยม นกั ปรชั ญากลุ่มน้ี เชน่

จอห์น ล็อค(John Locke) เป็นอีกคนหน่ึงท่ีมีแนวคิดเช่นน้ีเพราะเขาไม่เชื่อว่าเรามีความรู้เก่ียวกับ
โลกมาแต่เกิด เราจะเริ่มมคี วามรู้เมื่อเรา “เหน็ ” โลกแลว้ เท่าน้ัน เขาเชื่อว่าการเห็นหรือการมีประสบการณ์มี
อยู่ 2 ลกั ษณะ คอื

1. ประสบการณ์ภายนอก (Sensation) หรือประสาทสัมผสั เป็นความรู้เชิงเด่ียว คือ ไม่ไดเ้ ป็นความรู้
เกยี่ วกบั สิ่งน้นั ท้งั หมด

2. ประสบการณ์ภายใน (Reflection) คือ การท่ีสมองนาเอาประสาทสัมผสั เบ้ืองต้นไปคิดใคร่ครวญ
วิเคราะหจ์ นกระทงั่ สามารถจดั ระบบเป็นหน่วยความรูท้ ีเ่ รียกว่า มโนทศั น์(Concept) หรือความคิด
รวบยอดไดจ้ ากน้นั จงึ จะสรา้ งเป็นความรูท้ ีซ่ ับซอ้ นไดต้ ่อไป
อย่างไรก็ตามกลุ่มน้ีเช่ือว่าการคน้ หาความจริงตอ้ งอาศยั ประสบการณ์ ความจริงเกิดภายหลงั จาก

มนุษยเ์ กดิ ความจริงไม่อยกู่ อ่ นเป็นนิจนิรันดร ส่ิงที่ทาใหม้ นุษยม์ ีประสบการณ์ คอื ประสาทสมั ผสั ท้งั 5 คอื
ตา หู จมูก ลิ้น ผิวกาย ซ่ึงเป็นเคร่ืองมือในการคน้ หาความจริง ไม่ใช่จิตแต่อย่างใด แมจ้ ะต้องใชจ้ ติ ครุ่นคิด
แต่กค็ ือความสัมพนั ธก์ ันเท่าน้นั เอง ซ่ึงอาศยั หลกั การอุปนยั (Induction) เป็นเครื่องมือสรุปขอ้ คน้ พบ ความรู้
ท่ีอธิบายความจริงใชว้ ธิ ีศึกษาแบบวตั ถุวสิ ัย หรืออตั วิสัย การหลอมรวมปรัชญาที่ใชใ้ นการแสวงหาความรู้
ดว้ ยวิธีการวจิ ยั เพอ่ื สร้างองคค์ วามรู้นน่ั เอง ปรัชญากลุ่มประจกั ษน์ ิยม (Empiricism) แบง่ ออกเป็น 2 กล่มุ ย่อย
ไดแ้ ก่

2.2.1 กลุ่มปฏิฐานนิยม (Positivism) กลุ่มน้ีมีความเชื่อเนน้ การศกึ ษาปรากฏการณ์
ที่เป็นวตั ถุสสารที่สามารถสัมผสั จับต้องได้ แจงนบั วดั ค่าได้ อย่างเป็นวตั ถุวิสัย หรือมีความเป็ นปรนัย
(Objectivity) และเช่ือว่าปรากฏการณต์ า่ งๆ ในธรรมชาติเกดิ ข้นึ อยา่ งสม่าเสมอไม่แปรเปลยี่ นงา่ ยๆ ความเช่ือ
กลุ่มน้ีทาให้เกิดระเบียบวิธีวิจยั เชิงปริมาณ (Quantitative research methodology) ทาให้การคน้ พบความจริง
ในลกั ษณะเป็นกฎทฤษฎีตา่ งๆ

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

6
2.2.2 กลมุ่ ปรากฏการณ์นิยม (Phenomenologism) กลุ่มน้ีมคี วามชื่อว่าปรากฏการณ์
ทางสังคมมีความเคล่ือนไหวเปลี่ยนแปลงหรือมีความเป็ นพลวัต (Dynamics) สูง ดังน้ันการเข้าใจ
ปรากฏการณ์ไม่สามารถทาไดโ้ ดยการแจงนบั วดั ค่าเป็นตวั เลข หากตอ้ งเขา้ ใจถึงความหมายแล ะระบบ
คุณค่าวฒั นธรรมของกลุ่มคนดังกล่าวก่อน ความเช่ือน้ีทาให้เกิดระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative
research methodology)

แผนภมู ิท่ี 1 การหลอมรวมปรัชญาท่ีใชใ้ นการแสวงหาความรู้ดว้ ยวธิ ีการวจิ ยั
ที่มา: ประกอบเกียรตอิ ่มิ ศิริ(2553)

สถิติเขา้ มาเก่ียวขอ้ งกบั กระบวนการวิจยั หลายข้นั ตอน ตวั อย่างเชน่ การคานวณขนาดตวั อยา่ ง การ
สุ่มตวั อย่าง การสร้างเคร่ืองมอื และหาคุณภาพของเคร่ืองมอื ในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู การวิเคราะห์ ขอ้ มูล
เพ่ือบรรยายลกั ษณะกลุ่มที่ศึกษา การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อตอบคาถามการวิจัยหรื อสรุปผลการศึกษา ตาม
วตั ถุประสงค์ การทดสอบสมมติฐานการวิจัย การนาเสนอและสรุปผลการวิจยั ใช้เป็ นเครื่องมือในการ
ตดั สินและสรุปผลการวจิ ยั ซ่ึงแนวคิดเกี่ยวกับการใชส้ ถิติเชิงพรรณนาและสถิติเชิงอา้ งอิง โดยการวิจัยเชิง
ปริมาณจะใชส้ ถิติ 2 ประเภท คือใช้สถิติเชิงพรรณนาอย่างเดยี ว และใชส้ ถิติเชิงพรรณนาควบคู่กับสถติ ิเชิง
อา้ งองิ โดยเฉพาะอย่างยงิ่ การใชส้ ถิตเิ ชิงอา้ งอิงวา่ ดว้ ยการทดสอบสมมติฐานทางสถิติ ดงั น้นั ผวู้ จิ ยั จงึ ศกึ ษา
การทดสอบตา่ งๆ ท้งั การทดสอบองิ พารามิเตอร์และการทดสอบไมอ่ ิงพารามิเตอร์

1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) คือการใช้สถิติเพื่ออธิบายขอ้ มูลที่มีอยู่ โดยไม่ได้
นาไปพยากรณป์ ระชากรแตอ่ ย่างใด โดยลกั ษณะที่จะพรรณนาขอ้ มูลน้นั มอี ยู่ 2 ลกั ษณะ

1.1 โดยใชต้ วั อกั ษร หรือตวั เลข ดังตวั อย่างตอ่ ไปน้ี เป็นขอ้ มูลการเก็บตวั อย่างน้าหนักของชิ้นงาน
(กรมั ) จานวน 100 ตวั อย่าง

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

7

Variable N Mean Median TrMean StDev SE Mean
Weight 100
167.61 166.66 167.67 8.78 0.88

1.2 โดยใชแ้ ผนภาพเพ่อื อธิบาย ซ่ึงมีขอ้ ดีคือ เราสามารถมองเห็นรูป แลว้ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ไดง้ ่ายกวา่ จาก
ตวั อยา่ งขา้ งบน ถา้ อธิบายดว้ ยรูปกราฟแทง่ จะไดด้ งั น้ี

2. สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เป็นสถิติท่ีมีความสาคญั และถูกใชม้ ากกว่า ลกั ษณะท่ี
สาคญั คือเป็นการศึกษาขอ้ มูลของกลุ่มตวั อย่าง แลว้ นาผลสรุปไปประมาณหรือคาดการณ์ประชากร หรือ
เหตุการณ์ทีจ่ ะเกดิ ข้ึนในอนาคตท้งั น้ีสามารถแยกยอ่ ยลกั ษณะของ สถิติอนุมานได้ 2 ลกั ษณะดงั น้ี

2.1 การประมาณค่าพารามิเตอร์ (Parameter Estimation) ค่าพารามิเตอร์ คือ ค่าท่ีบ่งบอก
คุณลกั ษณะเฉพาะของประชากร เช่น. ค่าเฉล่ีย ค่าเบ่ียงเบนมาตรฐาน ซ่ึงวิธีประมาณค่าพารามิเตอร์น้ีก็ยงั
สามารถแบง่ ได้ 2 วธิ ีคือ

- การประมาณการแบบบอกค่าเดียวหรือแบบจุดเดียว (Point Estimation) เช่น
ประมาณค่าน้าหนกั เฉล่ียของชิ้นงานท้งั หมด (ประชากร) เท่ากบั 167.6 กรมั เป็นตน้ โดยทคี่ า่ ทีเ่ ราไดม้ าน้ีจะ
ได้มาจากการวิเคราะห์ขอ้ มลู ของกลุ่มตวั อยา่ งเทา่ น้ัน ทาให้การประมาณค่าวิธีน้ีมีโอกาสคลาดเคลื่อนมาก
เพราะเราเองกไ็ มอ่ าจรูค้ ่าน้าหนกั ท่ีแทจ้ ริงชิน้ งาน (ประชากร) ไดท้ ุกตวั

- การประมาณค่าแบบบอกเป็ นช่วง (Interval Estimation) เม่ือวิธีประมาณการ
แบบจดุ มโี อกาสผดิ พลาด ท้งั น้ี เพราะเมื่อเราไปเกบ็ ตวั อย่างมาอีกกลุ่ม เมอ่ื หาคา่ เฉลี่ยออกมาก็จะไดไ้ ม่ตรง
กบั ของกลุ่มตวั อย่างแรก และถา้ เราไปเก็บตวั อยา่ งมาหลายๆ กลุ่มค่าเฉล่ียของแต่ละกลุ่มก็เปลี่ยนไปท้งั ได้
มากกว่าและนอ้ ยกว่า นน่ั แปลวา่ เมือ่ เรานาไปประมาณค่าเฉลยี่ ของประชากร แต่ละคร้งั ก็จะไดค้ า่ ไมต่ รง แต่
ถา้ สังเกตดูจะเห็นว่า ค่าเฉลี่ยของกลุ่มตวั อย่างหลายๆกลุ่มน้ันจะตกอยู่ในกลุ่มๆ หน่ึงเสมอ เราเรียกว่า
Interval

ดงั น้นั แทนที่เราจะบอกเป็นค่าเดียว เรากเ็ ปลีย่ นมาบอกเป็นกลมุ่ ท่ีค่าพารามเิ ตอร์จะตกอยแู่ ทน แลว้
เรากค็ าดการไดว้ ่าโอกาสที่คา่ พารามเิ ตอร์จะอย่ภู ายใน Interval น้ีดว้ ยระดบั ความมน่ั ใจเทา่ ไหร่

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)

8
2.2 การทดสอบสมมุตฐิ าน (Hypothesis Testing) เมอ่ื เรามีความสงสยั ในเรื่องใด ส่ิงสาคญั
ที่สุดคือเราจะต้งั สมมตุ ฐิ านเก่ยี วกบั ปัญหาน้นั เสียกอ่ น ซ่ึงแทจ้ ริงกค็ ือเราต้งั สมมุติฐานเกี่ยวกบั ประชากรแลว้
เราก็ทาการเกบ็ ขอ้ มลู จากกลุ่มตวั อยา่ ง เพือ่ หาขอ้ สรุปวา่ สมมุตฐิ านที่เราต้งั น้นั เราจะยอมรับหรือปฏิเสธ
จะเห็นว่าขอ้ แตกต่างของสถิติเชิงพรรณนากบั อนุมาน คือสถิติเชิงอนุมานจะมีการนาผลที่ได้ไป
กล่าวอา้ ง (อนุมาน) ถึงประชากรจานวนมาก ดงั น้นั หากเมอ่ื ใดกต็ ามที่ผใู้ ชว้ ิเคราะห์ขอ้ มูลดว้ ยเครื่องมือทาง
สถิติแลว้ ไม่ไดน้ าไปกล่าวอา้ งจะเรียกว่าเป็นการพรรณนา แมว้ ่าจะมีการใชเ้ คร่ืองของสถิติอนุมานก็ตาม
เช่นเดียวกนั หากมกี ารนาผลการวเิ คราะห์ไปกล่าวอา้ งถึงประชากรส่วนมาก เราก็จะเรียกวา่ เป็นการใชส้ ถิติ
อนุมาน แมว้ า่ จะใชก้ ราฟ หรือตวั เลขก็ตาม

เอกสารอ้างองิ
จติ ตนิ นั ท์ บญุ สถริ กลุ . (2560). ปรัชญาการวิจยั และจรรยาบรรณการวจิ ยั . โครงการฝึกอบรม “สร้างนกั วจิ ยั

รุ่นใหม่” โดย สานกั งานคณะกรรมการการวจิ ยั แห่งชาต(ิ วช.), วนั ที่ 14–18 สิงหาคม 2560, หนา้
2-18.
สญั ญา เคณาภูม. (2014). ปรชั ญาการวิจยั : ปริมาณ คณุ ภาพ. วารสารรฐั ศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั
ราชภฏั กาฬสินธุ์, ปี ที่ 3 เล่มท่ี 2(ก.ค.-ธ.ค. 2557), หนา้ 40-47.
สุภมาส องั ศุโชต.ิ (2555). การเลอื กใชส้ ถติ ิใหเ้ หมาะสมกบั การวจิ ยั .มหาวทิ ยาลยั สุโขทยั ธรรมธิราช, วนั ท่ี
17 มกราคม 2555, หนา้ 2-54.
John Dudovskiy. (2011). Research Philosophy. Retrived Dec 16, 2019. From : https://research-
methodology.net/research-philosophy/

Statistics and Computer for Educational Research (MCI 201)


Click to View FlipBook Version