The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (1)

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2021-09-18 12:01:06

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (1)

เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ (1)

โ ร ง เ รี ย น ส่ ว น บุ ญ โ ญ ป ถั ม ภ์ ลำ พู น ภ า ค เ รี ย น ที่ 1 ปี ก า ร ศึ ก ษ า 2 5 6 4

การเพาะเลี้ยง

เนื้อเยื่อ




เสนอ ครูกายทิพย์ แจ่มจันทร์

นางสาวสุพิ ชญา วงค์สถาน
เลขที่ 24 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/2

คำนำ

ม า รู้จั ก ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช กั น เ ถ อ ะ

ย้อนกลับไปตอนเด็กๆ ในการเรียนการสอน

วิชาเกษตร เราก็คงได้รู้จักวิธีการขยายพันธุ์


และผสมพันธุ์พืชด้วยการผสมเกสร การเพาะ

เมล็ด การตอนกิ่ง การปักชำ การต่อกิ่ง ซึ่งวิธี

เหล่านี้ต้องใช้ทั้งแรงงาน และทรัพยากร เช่น

น้ำ และปุ๋ย เ พื่ อ ใ ห้ ต้ น ก ล้ า เ ติ บ โ ต แ ข็ ง แ ร ง

พ ร้อ ม สำ ห รับ นำ ไ ป ป ลู ก ห รือ จำ ห น่ า ย ต่ อ ไ ป

ซึ่งถ้าต้องการต้นกล้าซัก 100-200 ต้น วิธีนี้คงจะพอทำได้ แต่อาจจะต้องใช้เวลา และพื้นที่จำนวนมากสำหรับ
การเตรียมต้นกล้าแล้วถ้าหากเราต้องการต้นกล้าซัก 1,000 ต้น หรือมากกว่านั้น ในระยะเวลาและพื้นที่ที่จำกัด
เราจะทำอย่างไร?
ห ล า ย ท่ า น น่ า จ ะ เ ค ย ไ ด้ ยิ น เ ท ค นิ ค ข ย า ย พั น ธุ์ ด้ ว ย วิ ธี ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช ม า บ้ า ง แ ล้ ว

วิธีการนี้ไม่ใช่วิธีหรือเทคโนโลยีใหม่แต่เป็นเทคนิคที่ได้ถูกพัฒนามาเป็นระยะเวลากว่า 30ปีแล้ว

ซึ่งวิธีการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อนี้สามารถเพิ่มจำนวนต้นกล้าได้นับหมื่นนับแสนต้นในระยะเวลาไม่กี่สัปดาห์ อีกทั้ง
ยังได้ต้นกล้าที่แข็งแรงและปลอดเชื้ออีกด้วย นับกว่าเป็นเทคนิคที่มีประสิทธิภาพสูงมากในปัจจุบัน เอาล่ะครับ
เ ร า ม า ทำ ค ว า ม รู้จั ก ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช ใ ห้ ม า ก ขึ้ น กั น

องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้มีพื้นที่ป่าเศรษฐกิจ กระจายอยู่ทั่วประเทศ และยังเป็นแหล่งรวบรวมความ
หลากหลายทางพันธุกรรมของไม้เศรษฐกิจสายพันธุ์ดีที่ส าคัญจำนวนมาก ซึ่งถือเป็นทรัพยากรที่มีคุณค่า
และมี ความส าคัญ หากนำไม้เศรษฐกิจที่มีอยู่มาปรับปรุงพันธุ์ และขยายพันธุ์ก็จะท าให้ได้กล้าไม้สาย

พันธุ์ดีมาใช้ใน การปลูกสร้างสวนป่าไม้เศรษฐกิจที่ให้ผลผลิตต่อไร่สูงขึ้น ซึ่งการปลูกสร้างสวนป่า
เศรษฐกิจ เป็นกิจกรรมที่ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2510 จนถึงปัจจุบัน

และเป็นรายได้หลักขององค์การ อุตสาหกรรมป่าไม้

สารบัญ

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ 1

ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ 2

ข้ อ จำ กั ด ข อ ง ก า ร เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ 4
6



ก า ร เ จ ริญ ข อ ง ชิ้ น ส่ ว น ที่ ทำ ม า เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ

ก า ร ป ฎิ บั ติ ตั ว เ มื่ อ ทำ ง า น ใ น ส ภ า พ ป ล อ ด เ ชื้ อ 7

เ ท ค นิ ค สำ ห รับ ก า ร ย้ า ย ก ล้ า เ ยื่ อ อ อ ก 10
จากขวดเพาะ เลี้ยง

1

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ

ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช
เ ป็ น วิ ธี ก า ร ข ย า ย พั น ธุ์ พื ช วิ ธี ห นึ่ ง โ ด ย นำ ชิ้ น ส่ ว น

ของพืช
ได้แก่ ลำต้น ยอด ตาข้าง ดอก ใบ
ม า เ พ า ะ เ ลี้ ย ง บ น อ า ห า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ ภ า ย ใ ต้
สภาวะที่ควบคุมในเรื่องของความสะอาดแบบ

ปลอดเชื้อ อุณหภูมิ และแสง
เ พื่ อ ใ ห้ ชิ้ น ส่ ว น เ ห ล่ า นั้ น

ส า ม า ร ถ เ จ ริญ แ ล ะ พั ฒ น า เ ป็ น ต้ น พื ช ที่ ส ม บู ร ณ์
ส า ม า ร ถ นำ อ อ ก ป ลู ก ใ น ส ภ า พ ธ ร ร ม ช า ติ ไ ด้





โดยการ เพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช เป็นการน าเอา
ส่วนใดส่วนหนึ่งของพืช มาเพาะเลี้ยงใน

อาหารวิทยาศาสตร์ที่ ประกอบด้วย แร่ธาตุ
น้ำตาล วิตามิน และสารควบคุมความเจริญ
เติบโต ภายใต้สภาพปลอดเชื้อจุลินทรีย์และ

อยู่ในสภาวะควบคุมอุณหภูมิ แสง และ
ความชื้น โดยชิ้นส่วนของพืชที่นำมาเลี้ยงนี้จะ

ส า ม า ร ถ เ จ ริญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ
พั ฒ น า ไ ด้ ห ล า ย รู ป แ บ บ





ไ ม่ ว่ า จ ะ พั ฒ น า เ ป็ น ส่ ว น อ วั ย ว ะ ห รือ เ กิ ด เ ป็ น ก
ลุ่มเซลล์ที่เรียกว่า แคลลัส หรือ
คัพภะ (ต้นอ่อนขนาดเล็ก)
ที่เรียกว่า เอ็มบริโอ ซึ่งสามารถชักน าส่วน
ต่างๆ เจริญไปเป็นต้นพืชที่มีรากที่สมบูรณ์
สำ ห รับ ก า ร นำ ไ ป ป ลู ก ล ง ดิ น ต่ อ ไ ป ไ ด้

2

ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ

•การขยายพันธุ์พืช(Micropropagation)
- ผลิตต้นพันธุ์ปลอดโรคปริมาณมากในระยะเวลา
อั น ร ว ด เ ร็ว

- ต้นพันธุ์ที่ได้มีลักษณะตรงตามพันธุ์เหมือน ต้น
แม่

•การปรับปรุงพันธุ์พืช(Plant improvement)
- การเพาะเลี้ยงเอ็มบริโอ (Embryo culture)
เ ป็ น ก า ร ส ร้า ง ลู ก ผ ส ม โ ด ย ช่ ว ย ชี วิ ต เ อ็ ม บ ริโ อ ซึ่ ง ร อ ด
ชี วิ ต ไ ด้ ย า ก ใ น ส ภ า พ ธ ร ร ม ช า ติ
- ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง อั บ ล ะ อ อ ง เ ร ณู แ ล ะ ล ะ อ อ ง เ ร ณู
(Pollen and anther culture) เป็นการสร้าง
ต้นHaploid plantเพื่อลดระยะเวลาใน การสร้าง
พันธุ์แท้
- การชักนำการกลายพันธุ์ (Induced mutation)
โ ด ย ใ ช้ ส า ร เ ค มี ห รือ รัง สี เ พื่ อ ใ ห้ ไ ด้ พื ช ก ล า ย พั น ธุ์
- การใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

•การอนุรักษ์ เชื้อพันธุกรรมพืช(Germplasm
conservation, Gene bank)
- การเก็บรักษาพันธุ์พืชหายาก โดยชักนำ ให้
พืช ในขวดเพาะเลี้ยงมีอัตราการเจริญอย่าง
ช้าๆ สามารถคงสภาพและมีชีวิตได้ในเวลาที่
ยาว นาน เป็นการประหยัดพื้นที่และแรงงาน
- ก า ร เ ก็ บ ร ว บ ร ว ม พั น ธุ์ พื ช ใ น ข ว ด เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ พื่ อ
เ ป็ น แ ห ล่ ง พั น ธุ ก ร ร ม ที่ มี สำ ร อ ง ต ล อ ด เ ว ล า

3

• ก า ร ผ ลิ ต ส า ร ทุ ติ ย ภู มิ ( s e c o n d a r y • ก า ร แ ล ก เ ป ลี่ ย น พั น ธุ์ พื ช ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ
metabolite production) (International transfer)
- ก า ร ผ ลิ ต ส า ร ต่ า ง ๆ ที่ ใ ช้ ท า ง ด้ า น ก า ร แ พ ท ย์ - การแลกเปลี่ยนพันธุ์พืชที่อยู่ในสภาพปลอดเชื้อ
และการเกษตร ช่วยลดความเสี่ยงของการแพร่กระจายโรค พืช

4

ข้ อ จำ กั ด ข อ ง ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ

1. การสร้างห้องปฏิบัติงาน เนื่องจากการปฏิบัติ
งานต้องมีการจัดการพื้นที่ทำงาน และการใช้
เ ค รื่อ ง มื อ แ ล ะ ส า ร เ ค มี ที่ มี ร า ค า ค่ อ น ข้ า ง สู ง






2.การอบรมและฝึกฝนผู้ปฏิบัติงาน เนื่องจาก
ก า ร ทำ ง า น ก า ร เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ มี ก า ร ทำ ง า น
ด้ ว ย เ ท ค นิ ค ป ล อ ด เ ชื้ อ แ ล ะ ทำ ง า น ต า ม ลำ ดั บ ขั้ น
ตอน
ตั้ ง แ ต่ ก า ร ฟ อ ก ฆ่ า เ ชื้ อ
วิ ธี ก า ร ตั ด แ ล ะ ว า ง เ นื้ อ เ ยื่ อ พื ช
การเพิ่มปริมาณต้น การชักนำ ราก รวมถึงการ
ฆ่าเชื้อเพื่อทำความสะอาดของเครื่องมือที่ใช้







3. การค้นคว้าวิจัยในการค้นหาเทคนิคและสูตร
อาหารเพาะเลี้ยงพืชที่เหมาะสม รวมถึงการ
เลือก ชนิดและปริมาณสารควบคุมการเจริญ
เติบโตที่ เหมาะสม เพื่อให้ต้นพืชมีการเจริญ
เติบโตและ พัฒนาพร้อมกัน และลดการเกิด
ลักษณะของต้น พืชที่แตกต่างไปจากเดิม
(Somaclonal variation)



ก า ร เ จ ริญ ข อ ง ชิ้ น ส่ ว น พื ช ที่ นำ า ม า เ พ า ะ เ ลี ย ง บ น อ า ห า ร สั ง เ ค ร า ะ ห์ 6
เ พื่ อ ใ ห้ เ กิ ด เ ป็ น ต้ น พื ช ที่ ส ม บู ร ณ์

มีกระบวนการเปลี่ยนแปลงของเนื้อเยื่อ 3 แบบ คือ

แคลลัส คือ กลุ่มเซลล์ที่ยังไม่พัฒนาเป็น
ยอดและราก

ยอดหรือราก โดยเกิดเป็นอิสระต่อกัน
เ รีย ก ก ร ะ บ ว น ก า ร นี้ ว่ า
organogenesis

แคลลัส คือ กลุ่มเซลล์ที่ยังไม่พัฒนาเป็น
ยอดและราก

7

ก า ร ป ฏิ บั ติ ตั ว เ มื่ อ ทำ ง า น ใ น ส ภ า พ ป ล อ ด เ ชื้ อ

1. การรักษาความสะอาดด้วยการล้างมือให้สะอาด ด้วยสบู่
และสวมชุดปฏิบัติการ ประกอบด้วย ถุงมือ ผ้าคลุมผม ผ้า
ปิดปากปิดจมูก และเปลี่ยน รองเท้าก่อนเข้าห้องปฏิบัติการ

ทุกครั้ง



2. ไม่สวมเครื่องประดับ ได้แก่ แหวน นาฬิกา และสร้อยข้อ
มือ เมื่อทำ งานในตู้ถ่ายเนื้อเยื่อ



3. เช็ดทำความสะอาดตู้ปลอดเชื้อก่อนใช้งานด้วย แอลกอ
ฮอลล์ 70 เปอร์เซ็นต์ และควรเปิด สวิทช์ตู้ให้ระบบต่างๆ

ภายในตู้ทำ งานก่อน ปฏิบัติงาน 15-30 นาที



4. ฉีดพ่นมือหรือเช็ดมือจนถึงข้อศอก ด้วย แอลกอฮอลล์ 70
เปอร์เซ็นต์ ทุกครั้งเมื่อนำ มือเข้าตู้ย้ายเนื้อเยื่อ















5. วางอุปกรณ์ที่ใช้ตัดเนื้อเยื่อในตำ แหน่งที่ เหมาะสมและ
ส ะ ด ว ก ต่ อ ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น















6. ลนไฟเครื่องมือ (แอลกอฮอลล์ 95 เปอร์เซ็นต์) ที่ใช้
ปฏิบัติงานเพื่อฆ่าเชื้อจุลินทรีย์ก่อนเริ่ม ตัดเนื้อเยื่อ

8

ก า ร ป ฏิ บั ติ ตั ว เ มื่ อ ทำ ง า น ใ น ส ภ า พ ป ล อ ด เ ชื้ อ

7. เริ่มตัดเนื้อเยื่อ

















8. นำชิ้นพืชที่ตัดแบ่งวางบนอาหารในขวดก่อนปิดฝา



















9. ลนไฟบริเวณปากภาชนะ



















10. ลงบันทึกชนิดพืชและ วัน/เดือน/ปี ที่ตัดย้าย เนื้อเยื่อ



11. นำขวดเนื้อเยื่อวางบนชั้น ในห้องเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่
ควบคุมแสงและ อุณหภูมิ



12. ทำ ความสะอาดตู้ย้ายเนื้อเยื่อโดยการฉีดพ่น ด้วยแอล
กอฮอลล์ 70 เปอร์เซ็นต์และเช็ด ทำความสะอาดทุกครั้ง
และเปิดหลอดไฟ UV ก่อนและหลังปฏิบัติง

9

กิ จ ก ร ร ม ภ า ย ใ น ห้ อ ง เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ

1. ทำ ความสะอาดชั้นวางขวดเนื้อเยื่อพืชด้วย แอลกอฮอล์
70 เปอร์เซ็นต์ ก่อนการจัดวาง ขวดเนื้อเยื่อทุกครั้ง



2. ตรวจสอบการปนเปื้ อนเชื้อจุลินทรีย์ทุกวัน เมื่อพบต้อง
เก็บทันที และนำ ไปนึ่งฆ่าเชื้อก่อน ล้างทำความสะอาด
ภาชนะใส่อาหารเพาะเลี้ยง ในกรณีพบเชื้อราหากปล่อย

ทิ้งไว้จะทำ ให้ สปอร์ของเชื้อราแพร่กระจายออกจากขวด
สู่ บรรยากาศของห้องได้



3. บันทึกรายละเอียดและลักษณะของชิ้นพืช



4. จัดเตรียมส่งต้นพันธุ์ที่สมบูรณ์เพื่อย้ายออก ปลูกใน
สภาพโรงเรือน

10

เ ท ค นิ ค สำ ห รับ ก า ร ย้ า ย ก ล้ า เ นื้ อ เ ยื่ อ อ อ ก จ า ก ข ว ด เ พ า ะ เ ลี้ ย ง

1. การสัมผัสกล้าเนื้อเยื่อควรระมัดระวังเป็นอย่างยิ่ง เพื่อ
ป้องกันกล้าเนื้อเยื่อช้า และรากหักหรือขาด เพราะจะท า

ใ ห้ ก ล้ า ไ ม้ ห ยุ ด ก า ร เ จ ริญ เ ติ บ โ ต แ ล ะ อ า จ ต า ย ไ ด้



2. โรงเรือนที่ใช้อนุบาลกล้าเนื้อเยื่อ จะต้องมีการควบคุม
ค ว า ม ชื้ น สั ม พั ท ธ์ ใ ห้ เ ห ม า ะ ส ม กั บ ก ล้ า เ พ า ะ เ ลี้ ย ง เ นื้ อ เ ยื่ อ



3. โรงเรือนเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ จะต้องมีการนำสแลนออก
ตามระยะเวลาที่เหมาะสมเพื่อเปิดให้กล้า เนื้อเยื่อได้รับ
แสง ให้กล้าเนื้อเยื่อแข็งแรง และสามารถปรับตัวให้เข้ากับ

ส ภ า พ แ ว ด ล้ อ ม ไ ด้



4. การให้น้ำกล้าเนื้อเยื่อนั้น ต้องให้อย่างเหมาะสม ไม่
มากหรือน้อยจนเกินไป เนื่องจากกล้าเนื้อเยื่อยัง ที่ออกมา

จากขวดในระยะแรกๆ มีความอ่อนแออย่างมาก

บรรณานุกรม

Piamporn,Meat Cultivation Manual.
Retrieved from https://bit.ly/3lThXR1



Sirindhorn Science House,Handbook to promote


learning about plants

"Cultivation of ornamental plants"
Retrieved from https://bit.ly/3zko0m7


Click to View FlipBook Version