The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

สมุดความรู้ นางสาวแพรวพรรณ ศรีจันทร์ทอง 61E101005 ครุศาสตร์ ภาษาไทย

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by praewpan05, 2022-03-30 09:05:10

สมุดความรู้ นางสาวแพรวพรรณ ศรีจันทร์ทอง 61E101005 ครุศาสตร์ ภาษาไทย

สมุดความรู้ นางสาวแพรวพรรณ ศรีจันทร์ทอง 61E101005 ครุศาสตร์ ภาษาไทย

สมดุ ความรู้

นางสาวแพรวพรรณ ศรีจันทร์ทอง
รหัสนักศึกษา ๖๑E๑๐๑๐๐๕

คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา

คาภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
ชั้นประถมศึกษาปีที่ ๕

คำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย ชนั้ ประถมศึกษำปที ่ี ๕

มำตรฐำนและตัวช้ีวัด
ท ๔.๑ ป.๕/๕ บอกคำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย

จุดประสงค์กำรเรยี นรู้
เมือ่ นักเรียนเรียนเร่ือง “คำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทย” แล้ว นักเรยี นสำมำรถปฏบิ ัติได้ดงั น้ี
๑. บอกลกั ษณะของคำตำ่ งประเทศในภำษำไทยได้
๒. ระบคุ ำยมื ภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทยได้
๓. มคี ณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
- มีวินยั
- ใฝ่เรียนรู้
- มงุ่ มั่นในกำรทำงำน

โครงรำ่ งเน้อื หำ
๑. กำรยืมคำภำษำตำ่ งประเทศ
๒. สำเหตกุ ำรยืมคำอื่น ๆ มำใช้ในภำษำไทย
๓. คำภำษำตำ่ งประเทศทใี่ ชใ้ นภำษำไทย
๓.๑ คำยืมภำษำจนี
๓.๑.๑ ทม่ี ำของกำรยมื คำภำษำจีน
๓.๑.๒ หลกั กำรสงั เกตคำภำษำจีน
๓.๑.๓ ตวั อยำ่ งคำยืมภำษำจีน
๓.๒ คำยืมภำษำอังกฤษ
๓.๒.๑ ทมี่ ำของกำรยืมคำภำษำองั กฤษ
๓.๒.๒ หลักกำรสงั เกตคำภำษำอังกฤษ
๓.๒.๓ ตัวอยำ่ งคำยืมภำษำอังกฤษ
๓.๓ คำยมื ภำษำเขมร
๓.๓.๑ ท่ีมำของกำรยืมคำภำษำเขมร
๓.๓.๒ หลกั กำรสงั เกตคำภำษำเขมร
๓.๓.๓ ตัวอย่ำงคำยมื ภำษำเขมร
๓.๔ คำยมื ภำษำบำลีและสนั สกฤต
๓.๔.๑ ทีม่ ำของกำรยืมคำภำษำบำลแี ละสนั สกฤต

๓.๔.๒ หลักกำรสังเกตคำภำษำบำลีและสนั สกฤต
๓.๔.๓ ตวั อยำ่ งคำยืมภำษำบำลแี ละสนั สกฤต
เน้อื หำ
๑. กำรยืมคำภำษำตำ่ งประเทศ
กำรยืมคำจำกภำษำหน่ึงไปใช้อีกภำษำหน่ึง เป็นลักษณะของทุกภำษำ ทุกภำษำในโลกน้ีย่อมมีกำรใช้
คำภำษำอื่นปะปนกัน เนื่องจำกแต่ละชำติจำเป็นต้องมีกำรติดต่อสัมพันธ์กันมำตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน
จึงเกิดกำรนำคำภำษำอื่นเข้ำมำใช้ในภำษำของตนเอง กำรยืมคำภำษำต่ำงประเทศมำใช้ในภำษำไทย
ทำให้ภำษำมีควำมเจริญงอกงำมและมีคำใช้มำกขึ้น เพรำะมีกำรติดต่อระหว่ำงประเทศ มีกำรรับควำมรู้ซึ่งกัน
และกัน จึงมีคำภำษำต่ำงประเทศในภำษำไทยหลำยภำษำ เช่น ภำษำจีน ภำษำอังกฤษ ภำษำเขมร ภำษำบำลี
ภำษำสันสกฤต เป็นต้น
๒. สำเหตุกำรยมื คำภำษำอ่นื ๆ มำใช้ในภำษำไทย
๒.๑ สภำพภูมิศำสตร์ ประเทศไทยมีอำณำเขตติดต่อกับประเทศต่ำง ๆ เป็นเหตุให้คนไทยที่อยู่
อำศยั บรเิ วณชำยแดนเดินทำงขำ้ มแดนไปมำหำสู่กัน ทำให้เกิดกำรแลกเปล่ยี นภำษำซง่ึ กันและกันขน้ึ
๒.๒ ประวัติศำสตร์ ในอดีตมกี ำรอพยพโยกย้ำยของคนไทยเขำ้ มำอยู่ในถ่ินอำศัยปจั จบุ ัน ซงึ่ แต่เดิม
มชี นชำตอิ น่ื อำศัยอยกู่ อ่ นแลว้ คนเหล่ำน้ีจงึ ไดน้ ำถ้อยคำภำษำเดิมของตนเองมำใชป้ ะปนกบั ภำษำไทยร่วมดว้ ย
๒.๓ ศำสนำและวัฒนธรรม คนไทยมีเสรีภำพในกำรนบั ถือศำสนำ เม่ือนับถือศำสนำใดก็ย่อมได้รับ
ถ้อยคำภำษำท่ีใชใ้ นคำสอนหรือคำเรียกชื่อต่ำง ๆ ในทำงศำสนำมำปะปนในภำษำไทย
๒.๔ กำรคำ้ ขำย ประเทศไทยมีกำรตดิ ตอ่ ค้ำขำย แลกเปลย่ี นสินค้ำกับชนชำติต่ำง ๆ ทำใหม้ ถี อ้ ยคำ
ในภำษำของชนชำตนิ ั้น ๆ เขำ้ มำปะปนอยใู่ นภำษำไทยเปน็ จำนวนมำก
๒.๕ วรรณคดี วรรณคดีอินเดียที่ไทยนำเข้ำมำ เช่น เรื่องมหำกำพย์รำมำยณะ แต่งข้ึนเป็นภำษำ
สันสกฤต อิเหนำเป็นวรรณคดีท่ีมีเค้ำเรื่องมำจำกเรื่องดำหลังของชวำ ด้วยเหตุน้ีวรรณคดีจึงทำให้ภำษำ
สนั สกฤตและภำษำชวำเขำ้ มำปะปนในภำษำไทย
๒.๖ กำรศึกษำและวทิ ยำกำรด้ำนตำ่ ง ๆ จำกกำรทค่ี นไทยเดนิ ทำงไปศึกษำยงั ต่ำงประเทศ ทำให้ได้
พูดภำษำอื่น ๆ และรับเอำวิทยำกำรต่ำง ๆ เมื่อสำเร็จกำรศึกษำ จึงนำภำษำของประเทศน้ันมำใช้ปะปนกับ
ภำษำของตน
๒.๗ ปัจจัยด้ำนอน่ื ๆ เชน่ วฒั นธรรมและประเพณี ควำมสัมพันธก์ ำรทูต กำรกฬี ำ เปน็ ตน้

๓. คำภำษำตำ่ งประเทศท่ีใชใ้ นภำษำไทย
๓.๑ คำยืมภำษำจีน

๓.๑.๑ ทีม่ ำของกำรยืมคำภำษำจนี
ประเทศไทยกับประเทศจีนมีกำรติดต่อสัมพันธ์ทำงกำรทูตมำต้ังแต่อดีต ผลของกำรที่

ชำวจนี อพยพมำตัง้ รกรำกถิน่ ฐำนทำมำหำกนิ ในประเทศไทย มีกำรประกอบอำชีพต่ำง ๆ ทำใหม้ กี ำรผสมผสำน
กันทำงวัฒนธรรมและประเพณีต่ำง ๆ กำรยืมคำภำษำจีนบำงคำเข้ำมำใช้ในภำษำไทยส่วนใหญ่เป็นสำเนียง
ภำษำแต้จ๋ิว และมักเป็นคำเรียกช่ือสิ่งของเคร่ืองใช้ อำหำร พืช ผัก ผลไม้ รวมท้ังคำที่เก่ียวกับวัฒนธรรมจีน
นยิ มใชค้ ำจีนเป็นภำษำพูด แต่ไม่นิยมใช้เปน็ ภำษำเขียน

๓.๑.๒ หลกั กำรสังเกตคำภำษำจนี
คำยืมภำษำจีน ส่วนใหญ่เป็นคำโดดและน้ำเสียงฟังมีเอกลักษณ์เฉพำะ ใช้เสียง

วรรณยุกต์ตรีและจตั วำ ซง่ึ มีหลักสังเกตดงั น้ี
๑) นำมำเปน็ ชอ่ื อำหำรกำรกนิ เชน่ ก๋วยเตย๋ี ว เตำ้ ทงึ แปะ๊ ซะ เฉำกว๊ ย เป็นต้น
๒) เป็นคำที่เกี่ยวกับสิ่งของเคร่ืองใช้ท่ีรับมำจำกชำวจีน เช่น ตะหลิว ตึก เก้ำอี้ เก๋ง
ฮวงซุ้ย เปน็ ตน้
๓) เปน็ คำท่ีเกี่ยวกบั กำรค้ำ และกำรจดั ระบบทำงกำรค้ำ เชน่ เจ๋ง หนุ้ ห้ำง เปน็ ตน้
๔) เปน็ คำทใี่ ชว้ รรณยุกตต์ รี จตั วำ เปน็ สว่ นมำก เช่น กวยจ๊ับ กุย๊ เก๊ ก๋ง ตนุ๋ เป็นตน้

๓.๑.๓ ตัวอย่ำงคำยืมภำษำจนี

ตวั อยำ่ งคำยมื ภำษำจนี หมวดอำหำร

คำยมื ภำษำจีน ควำมหมำย
เต้ำหู ถั่วที่โมเ่ ป็นแป้งแล้วทำเป็นแผ่น ๆ
เตำ้ เจย้ี ว ถ่วั เหลืองหมกั เกลอื ใช้ปรงุ อำหำร
เตำ้ ส่วน ขนมหวำนทำด้วยแปง้ เปียกกวนกบั ถ่ัวเขียวท่เี ปลือกออก แล้วรำดด้วยกะทิ
เกย้ี มอ๋ี ของกนิ ทำดว้ ยแป้งข้ำวเจ้ำเปน็ เสน้ ส้ัน ๆ กลม ๆ สองปลำยแหลมปรงุ แบบก๋วยเต๋ียว
ก๋วยเตยี๋ ว ของกินชนดิ หน่ึงทำดว้ ยแป้งข้ำวเจำ้ เป็นเส้น ๆ ปรุงอำหำรท้ังแหง้ และนำ้
ซำลำเปำ ขนมชนิดหน่งึ ของจีน ทำด้วยแปง้ สำลีป้ันเป็นลูกกลมมที ้ังไส้หวำนและไสเ้ ค็ม
บะหม่ี แป้งซง่ึ ทำเป็นเสน้ เล็ก ๆ แล้วตำกแห้ง
เกยี๊ ว ของกินทำด้วยแปง้ เป็นแผน่ บำง ๆ ทอดกรอบ หรือห่อหมแู ล้วนงึ่
แปะ๊ ซะ ชอื่ อำหำรใช้ปลำน่ึงจ้ิมน้ำสม้ กนิ กับผัก
จบั ฉ่ำย ชอ่ื ตม้ อย่ำงหนึง่ ใส่ผกั หลำยชนิด

ตวั อยำ่ งคำยมื ภำษำจนี หมวดพืชผกั ผลไม้

คำยมื ภำษำจนี ควำมหมำย
แปะกว๊ ย เมล็ดของต้นแปะก๊วย ใช้ต้มกับน้ำตำลรบั ประทำน
เกก๊ ฮวย ดอกเบญจมำศหนใู ช้เป็นยำรกั ษำโรคไดห้ ลำยอย่ำง หรอื ตม้ เปน็ นำ้ ดื่มกินได
ตงั้ โอ๋ ผักจนี ชนิดหนงึ่ ใบเล็กหนำมกี ล่ินหอม
กยุ ชำ่ ย ผักชนิดหน่ึงคล้ำยต้นหอมหอมหรอื กระเทยี มใบแบน ๆ มกี ล่นิ หอมฉยุ
กะหล่ำ ชือ่ ไมล้ ้มลุก มีหลำยพันธ
เกำลดั ไม้ตน้ ขนำดเล็ก เปลอื กผลหนำ ไม่มีหนำม เมล็ดเกล้ียง
ลนิ้ จ่ี ไม้ผล ผลกลมสีแดง รสเปรยี้ วอมหวำน
ลันเตำ ถ่ัวชนิดหนง่ึ เปน็ ไมเ้ ถำมีมือเกำะเปน็ ยอดและฝักอ่อนสำมำรถกนิ ได้
สำลี่ ไม้ผล มีเนื้อกรอบ รสหวำนอมเปรีย้ ว กลน่ิ หอม

ตัวอยำ่ งคำยมื ภำษำจนี หมวดกรยิ ำ

คำยืมภำษำจีน ควำมหมำย
เจ๊ำ เลิกกันไป หำยกัน
ซวย เครำะห์ร้ำย อบั โชค
แฉ แบ ตแี ผ่ เปิดเผย
เซียน ชำนำญ
ตนุ กำรเกบ็ หรอื กนั สง่ิ ของเอำไวใ้ นยำมขำดแคลน
ตนุ๋ กำรปรุงอำหำร
โละ ไมเ่ อำ ท้งิ
เกก๊ วำงท่ำ
เจี๊ยบ จดั หนกั มำก ยง่ิ นัก

ตัวอยำ่ งคำยืมภำษำจนี หมวดบุคคลเครือญำติ

คำยมื ภำษำจนี ควำมหมำย
กง๋ ปู่ ตำ
อำม่ำ ยำ่ ยำย
ซอ้ พสี่ ะใภ้ คำเรยี กผหู้ ญิงเพื่อยกย่อง
ต๋ี เดก็ ผูช้ ำยจนี
เตี่ย พ่อ
แปะ สรรพนำมใช้เรยี กคนแกช่ ำยชำวจนี มีควำมหมำยว่ำลุง
หมวย เด็กหญิงหรือหญิงสำวลกู จนี ม่วยก็ใช่
เฮยี พี่ชำย, คอื ทใี่ ช้เรยี กผ้ชู ำยเพ่อื ยกยอ่ ง
เจ๊ พ่ีสำว, คำเรียกผ้หู ญงิ เพอื่ ยกยอ่ ง
ป๋ำ พอ่ หรือชำยสงู วัยท่ีมีกำลังทรัพย์ปรนเปรอผู้หญิง

ตวั อย่ำงคำยืมภำษำจีน หมวดทวั่ ไป

คำยืมภำษำจีน ควำมหมำย
เกำ้ อ้ี ที่นงั่ มีขำ ยกย้ำยได้มีหลำยรปู แบบ
โต๊ะ ทเ่ี ขียน ทว่ี ำงของ ใช้คูก่ บั เก้ำอี้
งิ้ว ละครจีนโบรำณ
จับกัง กรรมกร ผู้ใช้แรงงำน
แตะ๊ เอยี เงินที่ใชใ้ นโอกำสพิเศษ
บ๊วย สุดท้ำย ทีหลงั
โป๊ะ ทุ่นสำหรับทอดสะพำน
อัง้ โล เตำไฟแบบจนี ใช้ถำ่ นกบั ฟนื
ฮวงซยุ้ ที่บรรจุศพของชำวจนี
ฮวงจุย้ ลมและน้ำ ศำสตร์ในกำรกำหนดท่ีต้ังให้เหมำะสม

๓.๒ คำยมื ภำษำอังกฤษ
๓.๒.๑ ทมี่ ำของกำรยมื คำภำษำอังกฤษ
ประเทศอังกฤษมีกำรติดต่อกับประเทศไทยมำต้ังแต่สมัยอยุธยำ โดยเข้ำมำค้ำขำย

และภำษำอังกฤษเร่ิมมีบทบำทในไทยมำกข้ึนในสมัยพระบำทสมเด็จพระนั่งเกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลท่ี ๓)
เนื่องจำกประเทศสหรัฐอเมริกำเข้ำมำเผยแผ่คริสต์ศำสนำนิกำยโปรเตสแตนต์ในประเทศไทย และในรัชสมัย
พระบำทสมเด็จพระจอมกล้ำเจ้ำอยู่หัว (รัชกำลท่ี ๔) ประเทศไทยได้มีกำรติดต่อกับฝรั่งชำติอังกฤษ
และอเมริกันมำกข้ึน อีกท้ังพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัวมีควำมสนพระรำชหฤทัยในกำรศึกษำ
ภำษำอังกฤษจนแตกฉำน คำยมื จำกภำษำองั กฤษจึงมจี ำนวนเพมิ่ มำกขึน้

๓.๒.๒ หลักกำรสงั เกตคำภำษำองั กฤษ
๑) คำยืมภำษำอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคำหลำยพยำงค์ เช่น ช็อกโกแลต แคปซูล โฟกัส

เทรนเนอร์ คอมพวิ เตอร์ ไวโอลิน เทคโนโลยี อิเลก็ ทรอนิกส์ เปน็ ต้น
๒) คำยืมภำษำอังกฤษสว่ นใหญ่เปน็ คำทับศพั ท์ ดังตวั อยำ่ ง

คำทบั ศัพท์ภำษำไทย คำอังกฤษ
ออกซเิ จน oxygen
เคก้ cake
คกุ ก้ี cookie
ครมี cream
ชสี cheese
สลดั salad
โซดำ soda
เบียร์ beer
ฟุตบอล football
โซฟำ sofa
ไมโครโฟน microphone
วิดีโอ video
กีตำร์ guitar
กลโู คส glucose

๓) คำยืมภำษำอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคำท่ีมีตัวสะกดหลำยตัว และมีเคร่ืองหมำย
ทัณฑฆำตกำกับอยู่บนตัวสะกดตัวแรกหรือตัวสะกดตัวสุดท้ำย เช่น ฟิล์ม กำร์ด ปำล์ม มำร์ค ชอล์ก ฟำร์ม
คอรส์ ฟอร์ม เบียร์ ออกไซด์ ไวน์ ฟิวส์ กตี ำร์ เป็นตน้

๔) คำยมื ภำษำอังกฤษสว่ นใหญ่เปน็ คำท่ใี ช้ในกรณที ี่ไมเ่ ปน็ ทำงกำร ดังตวั อยำ่ ง

คำทับศัพทภ์ ำษำไทย คำอังกฤษ
แอร์ air-conditionner

แอร์ (แอรโ์ ฮสเตส) air-hostess
แบด (แบดมนิ ตนั ) badminton
แบต (แบตเตอรี)่
คอม (คอมพวิ เตอร)์ battery
มอไซค์ (มอเตอร์ไซค์) computer
motercycle

๕) คำยืมภำษำอังกฤษส่วนใหญ่เป็นคำที่มีเสียงพยัญชนะควบกล้ำ บล บร ดร ฟล
ฟร ทร เช่น บล็อก เบรก บร็อกโคลี บรอนซ์ ดรัมเมเยอร์ ดร็อป แอดเดรส แฟลต ฟลุก ฟรี เฟรม แฟรนไชส์
ทรัมเป็ต เทรน อเิ ล็กทรอนกิ ส์ เป็นตน้

๖) คำยมื ภำษำองั กฤษสว่ นใหญ่เปน็ คำท่ีสะกดด้วยพยัญชนะ ฟ ล ส ศ ต เช่น กรำฟ
กอล์ฟ บอล อีเมล โบนัส โฟกสั แก๊ส ชอกโกแลต รสี อร์ต แครอต โดนัต เป็นต้น

๓.๒.๓ ตัวอย่ำงคำยมื ภำษำองั กฤษท่ีใช้ในภำษำไทย
๑) คำศัพท์ในวงกำรกำรช่ำง เช่น คลัตซ์ คำร์บูเรเตอร์ โซลำ ดีเซล ไดนำโม

แทรกเตอร์ น็อต ปัม๊ ปำรเ์ กต์ แป๊บ มอเตอรส์ ปรงิ สวิตซ์คอนกรีต เปน็ ตน้
๒) คำศัพท์ในวงกำรกีฬำ เช่น กอล์ฟ เทนนิส ฟุตบอล มำรำธอน ยิมนำสติก

วอลเลยบ์ อล สกี สเกต็ สนกุ เกอร์ เสริ ์ฟ สเตเดียม สปอร์ต เกม เป็นตน้
๓) คำศัพท์ในวงกำรแพทย์เช่น กอซ เกำต์คลินิก โคม่ำ เซรุม วัคซีน ไวรัส ปรสิต

เป็นต้น
๔) คำศัพท์ในวงกำรวิทยำศำสตร์เช่น กลูโคส ก๊ำซ แก๊ส คลอรีน แคลเซียม แคลอรี

เซลล์ โซดำ ตะกั่ว ไนลอน โปรตีน โฟกัส ฟิล์ม ยิปซัม โมเลกุล เลเซอร์ ออกซิเจน อิเล็กทรอนิกส์ แอลกอฮอล์
ฟสิ กิ ส์ เปน็ ตน้

๕) คำศพั ทใ์ นวงกำรศกึ ษำ เช่น ชอลก์ เทอม ฟังก์ชัน สถติ เป็นตน้
๖) คำศัพท์ในวงกำรเศรษฐกิจ เช่น เครดิต เคำน์เตอร์ แค็ตตำล็อก เช็ค แชร์ สต็อค
สโตร์ อีเมล สเตชัน เฮลิคอปเตอร์ แอร์โฮสเตส เปน็ ตน้
๗) คำศัพท์เก่ียวกับอำหำร ผลไม้และเคร่ืองดื่ม เช่น กำแฟ เค้ก แซนด์วิช ทูน่ำ
สตรอเบอร่ี ไอศกรีม ไวน์ วสิ กี้ ซอส ซปุ เป็นต้น
๘) คำศัพท์เก่ียวกับเครื่องใช้ต่ำง ๆ เช่น คลิป คัตเตอร์โซฟำ เน็กไท เชิ้ต โน้ตบุ๊ก
เป็นต้น

๓.๓ คำยืมภำษำเขมร
๓.๓.๑ ท่ีมำของกำรยืมคำภำษำเขมร
คำว่ำ “เขมร” เป็นคำใช้เรียกประชำกรและภำษำของประเทศกัมพูชำ ประเทศ

กัมพูชำเป็นชำติที่มีควำมสัมพันธ์มำนำนทั้งกำรค้ำ กำรสงครำม กำรเมือง กำรปกครอง และวัฒนธรรม มี
อิทธิพลเหนือดินแดนสุวรรณภูมิก่อนกรุงสุโขทัยและกรุงศรีอยุธยำจะรุ่งเรืองอำนำจ ทำให้ภำษำเขมรเข้ำมำ
ปะปนในภำษำไทยเป็นเวลำชำ้ นำน

๓.๓.๒ หลกั กำรสังเกตคำภำษำเขมร
๑) มักเป็นคำท่ีมักสะกดด้วย จ ญ ร ล เช่น เสด็จ เผด็จ อำจ อำนำจ บำเพ็ญ สรำญ

กำจร จรำจร ตำบล บนั ดำล เปน็ ตน้
๒) มักเปน็ คำควบกลำ้ เช่น ไกร ขลงั ปรุง ปรับปรำ ปรอง เปน็ ตน้
๓) มักขึ้นต้นด้วยคำท่ีใช้ บัง บัน บรร บำ นำหน้ำ เช่น บังคับ บังคม บังเกิด บังอำจ

บันได บนั ดำล บันลือ บำเพ็ญ บำบัด บำเหน็จ เป็นต้น
๔) มกั ข้ึนตน้ ดว้ ยคำวำ่ กำ ดำ ตำ จำ ชำ สำ บำ รำ เชน่
กำ = กำเดำ กำแพง กำลัง กำไร กำจดั กำจร กำธร กำพรำ้ กำสรวล กำเนิด
ดำ = ดำเนนิ ดำริ ดำรู ดำรง (ดำรี ดำไร แปลวำ่ ช้ำง)
ตำ = ตำนำน ตำรวจ ตำบล ตำรำ ตำลงึ ตำหนัก ตำหนิ
จำ = จำนำ จำนอง จำหนำ่ ย จำแนก
ชำ = ชำนิ ชำนำญ ชำรว่ ย ชำระ ชำแหละ ชำรดุ
สำ = สำรำญ สำรวย สำเรงิ สำเนำ สำเภำ
บำ = บำเรอ บำรำบ บำนำญ บำเหนจ็ บำรุง บำเพ็ญ
รำ = รำคำญ รำไร
๕) นิยมเป็นคำที่นิยมใช้อักษรนำ เช่น สนุก สนำน สมัคร สมำน เสด็จ สมอ ถนน

เฉลยี ว เป็นตน้
๖) คำเขมรส่วนใหญ่ใช้เป็นคำรำชำศัพท์ เช่น เสวย ผนวช บรรทม เสด็จ โปรด ขนง

เขนย สรวล เป็นตน้
๗) เป็นคำแผลง เชน่ ครบ - คำรบ ขดำน - กระดำน จำ่ ย - จำหนำ่ ย

แจก - จำแนก ชำญ - ชำนำญ เดนิ - ดำเนนิ เรยี บ – ระเบียบ ตรวจ-ตำรวจ ตริ - ดำริ
รำ - ระบำ เปน็ ต้น

๓.๓.๓ ตัวอย่ำงคำยมื ภำษำเขมร

คำยมื ภำษำเขมร ควำมหมำย
กระแส อำกำรไหลไป,สำย
กลด
กำเดำ รม่ ชนิดหนง่ึ
ขจร ควำมรอ้ น,เลือดท่ีออกทำงจมูก
ขจี
ผทม ฟุง้ ไป
ผจง หนมุ่ ,เขยี วสด
เผดจ็
เผดยี ง นอน
ไผท ควำมตงั้ ใจ
เสวย ขจัด,ตดั ,ขำด
ลบอง บอกใหร้ ู้,นมิ นต์
จำร แผ่นดนิ
เสน่ง กนิ ,ได้รบั ,ได้ประสบ
เดิน แบบ,ฉบับ
ขนง เขยี นด้วยเหลก็ แหลม
ขมัง เขำสตั ว์
ทูล ยกเท้ำก้ำวไป,เคล่ือนไปด้วยกำลัง
เนำ
บงั คม คว้ิ
พนม พรำนธนู
เพนยี ด บอกกล่ำว
ถนนทำง
เพลำ อยู่
เพลงิ ไหว้
สรง ภูเขำ
แด วงลอ้ มเป็นคอกสำหรับจับช้ำง
เขนย หนทำงทใ่ี ช้ในกำรสญั จร, คมนำคม
แข ตกั , เบำลง
ไฟ
อำบน้ำ
ใจ
หมอนหนนุ
ดวงจนั ทร์

๓.๓ คำยมื ภำษำบำลแี ละสนั สกฤต
๓.๔.๑ ทีม่ ำของกำรยมื คำภำษำบำลแี ละสันสกฤต
ในบรรดำภำษำต่ำงประเทศท่ีมีอิทธิพลต่อภำษำไทยมำกที่สุด คือ ภำษำบำลี

และภำษำสันสกฤต คำยืมในภำษำไทยท่ียืมมำจำกทั้งสองภำษำนี้ เป็นคำท่ีมีใช้ในชีวิตประจำวันเป็น
จำนวนมำก ทั้งภำษำพูดและภำษำเขียน ภำษำบำลีเข้ำมำทำงศำสนำพุทธ ส่วนภำษำสันสกฤตเข้ำมำทำง
ศำสนำพรำหมณ์ และวรรณคดีเรื่องมหำภำรตะและรำมำยณะ

๓.๔.๒ หลักกำรสังเกตคำภำษำบำลีและสนั สกฤต

ภำษำบำลี ภำษำสันสกฤต
มีสระ ๘ ตวั มสี ระ ๑๔ ตวั
มพี ยญั ชนะ ๓๓ ตวั มพี ยัญชนะ ๓๕ ตวั เพม่ิ ศ ษ
มีตวั สะกดตวั ตำมท่แี นน่ อน ไม่นิยมใชต้ ัวสะกดตัวตำม
นยิ มใช้ ริ นยิ มใช้ รร
นิยมใช้ ฬ นยิ มใช้ ฑ
ไม่ใชค้ ำควบกล้ำ ใช้คำควบกล้ำ

๑) ภำษำบำลี
๑.๑ มสี ระ ๘ ตัว ไดแ้ ก่ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ
๑.๒ มีพยัญชนะ ๓๓ ตัว ได้แก่ ก ข ค ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ

ฏฐฑฒณตถ ทธ น ป ผพภมยรลว สห ฬ
๐(นคิ หติ )

๑.๓ มตี ัวสะกดตัวตำมทีแ่ นน่ อน
ตัวสะกด คือ พยัญชนะท่ีประกอบอยู่ข้ำงท้ำยสระประสมกับสระและ

พยญั ชนะต้น เชน่ ทุกข์ = ก เปน็ ตวั สะกด
ตัวตำม คือ ตัวที่ตำมหลังตัวสะกด เช่น สัตย สัจจ ทุกข เป็นต้น

คำในภำษำบำลีจะตอ้ งมีตวั สะกดและตัวตำมเสมอ โดยดจู ำกพยัญชนะบำลี มี 33 ตวั แบ่งออกเป็นวรรค ดังนี้

*หลกั กำรใช้ตวั สะกดตัวตำมในภำษำบำลี

*ตวั อย่ำงหลักกำรใช้ตัวสะกดตัวตำมในภำษำบำลี

วรรค แถวที่ 1 แถวที่ 2 แถวท่ี 3 แถวท่ี 4 แถวท่ี 5
วรรค กะ ฐำนคอ ก ขคฆง

เช่น ทุกข์ = ก เป็นพยญั ชนะแถวท่ี ๑ เป็นตัวสะกด ข เป็นพยัญชนะแถวที่ ๒ เป็นตวั ตำม
พยัคฆ์ = ค เปน็ พยญั ชนะแถวที่ ๓ เป็นตวั สะกด ฆ เปน็ พยัญชนะแถวท่ี ๔ เป็นตวั ตำม

วรรค แถวที่ 1 แถวท่ี 2 แถวท่ี 3 แถวที่ 4 แถวที่ 5
วรรค จะ ฐำนเพดำน จ ฉ ช ฌญ

เชน่ มัจฉำ = จ เปน็ พยัญชนะแถวท่ี ๑ เป็นตัวสะกด ฉ เปน็ พยญั ชนะแถวที่ ๒ เป็นตัวตำม
ปญั ญำ = ญ เปน็ พยญั ชนะแถวที่ ๕ เปน็ ตวั สะกด ญ เปน็ พยัญชนะแถวท่ี ๕ เปน็ ตัวตำม

๑.๔ นิยมใช้คำว่ำ “ริ” ในภำษำบำลีจะมีกำรใช้คำว่ำ ริ ระหว่ำงคำ เช่น ภริยำ
จรยิ ำ อจั ฉริยะ กิริยำ อริ ยิ ำบถ บรเิ วณ บริโภค เปน็ ตน้

๑.๕ นิยมใช้พยัญชนะตัว ฬ จะมีใช้ในภำษำบำลีในไทยเท่ำน้ัน เช่น กีฬำ จุฬำ
ครุฬ เป็นตน้

๑.๖ ไม่ใช้คำควบกล้ำ เช่น ปกติ กีฬำ เปน็ ตน้

๒) ภำษำสนั สกฤต
๒.๑ มีสระ ๑๔ ตัว ได้แก่ อะ อำ อิ อี อุ อู เอ โอ ฤ ฤๅ ฦ ฦๅ ไอ เอำ ถ้ำมีสระ

เหล่ำนี้อยู่ และสะกดไม่ตรงตำมมำตรำจะเป็นภำษำสันสกฤต เช่น ตฤณมัย ไอศวรรย์ เสำร์ ไปรษณีย์ ฤำษี
คฤหำสน์ เปน็ ต้น

๒.๒ มีพยัญชนะ ๓๕ ตัว คือ พยัญชนะบำลี ๓๓ ตัว + ๒ ตัว คือ ศ, ษ ดังน้ี
กข ค ฆ ง จ ฉ ช ฌ ญ ฏ ฐ ฑ ฒ ณ ต ถ ท ธ น ป ผ
พ ภ ม ย ร ล ว ส ห ฬ ๐(นคิ หิต) ศ ษ

หลักกำรจำ บำลี + ศ ษ เจอ ศ ษ เม่ือไหร่ = สันสกฤต
เชน่ ศลี ศำล ศำสนำ ศำสตร์ อำกำศ ศกุนี ศึกษำ ศรี ษะ กระดำษ เศรษฐี เป็นต้น
ยกเวน้ คำว่ำ ศอก ศึก เศิก เศร้ำ = คำภำษำไทย

เลศิ มำศ = คำภำษำเขมร
๒.๓ ไม่นิยมใช้ตัวสะกดตัวตำม ภำษำสันสกฤต ตัวสะกดตัวตำมจะอยู่ข้ำมวรรค
กนั ได้ ไมก่ ำหนดตำยตัว เชน่ อัปสร ปรัชญำ อกั ษร เป็นตน้
๒.๔ นิยมใช้ รร เช่น ธรรม กรรม มรรค สวรรค์ วรรณ พรรณ บรรณ

ยกเวน้ บรร เป็นคำเขมร เชน่ บรรทดั บรรเทำ บรรทกุ
๒.๕ นิยมใช้ ฑ เชน่ จุฑำ กรีฑำ ครุฑ มณเฑยี ร จัณฑำล เปน็ ต้น
๒.๖ ใช้คำควบกล้ำ ภำษำสันสกฤตมักจะมีคำควบกล้ำข้ำงท้ำย เช่น ปรกติ กรีฑำ
ครฑุ ประถม จกั ร บำตร เปน็ ตน้
๓.๔.๓ ตวั อยำ่ งคำยมื ภำษำบำลีและสันสกฤต
๑) ตวั อยำ่ งคำยืมภำษำบำลี

คำยมื ภำษำบำลี ควำมหมำย
กตญั ญู ซง่ึ ร้อู ุปกำระทีท่ ่ำนทำให้, ซง่ึ รู้คุณท่ำน, เปน็ คำคกู่ นั กบั กตเวที
มจั ฉำ ปลำ
พระหตั ถ์ อวัยวะส่วนหนึ่งของร่ำงกำยอยู่ต่อจำกปลำยแขน ประกอบด้วย ฝ่ำมือ
และน้วิ มอื

คำยืมภำษำบำลี ควำมหมำย
พระอนิ ทร์ ชื่อเทวรำชผู้เปน็ ใหญใ่ นสวรรคช์ ้ันดำวดงึ ส์และชน้ั จำตมุ หำรำช
สำยสญิ จน์ ด้ำยสขี ำวทนี่ ำมำจบั ทบเป็น 3 เส้น หรือ 9 เสน้ ใช้ในพธิ ที ำงศำสนำ เช่น
สำหรบั พระถอื ในเวลำสวดมนต์
สิขร ยอดเขำ
อัคคี ไฟ
พงศำวดำร เร่ืองรำวของเหตุกำรณ์เก่ียวกับประเทศชำติหรือพระมหำกษัตริย์ผู้เป็น
ประมุขของประเทศนั้น
กีฬำ กิจกรรมหรอื กำรเลน่ ท่ีมีกฎกตกิ ำกำหนด เพ่ือควำมสนกุ เพลดิ เพลิน
กญั ญำ ผหู้ ญงิ
บณั ฑิต ผรู้ ู้, ผู้ทรงควำมรู้, คนฉลำด
บปุ ผำ ดอกไม้

๒) ตวั อยำ่ งคำยมื ภำษำสนั สกฤต

คำยมื ภำษำสนั สกฤต ควำมหมำย
เกษตรกรรม กำรใช้ท่ีดินเพำะปลูกพืชต่ำง ๆ รวมท้ังกำรเล้ียงสัตว์ กำรประมง และ
กำรปำ่ ไม้
ครรภ์ ทอ้ ง เชน่ หญิงมคี รรภ์ (ใชเ้ ฉพำะผู้หญงิ ทม่ี ลี ูกอยู่ในท้อง)
ปรำศรยั กำรพูดด้วยไมตรีจิต, กำรแสดงอัชฌำสัยในระหว่ำงผู้ใหญ่ต่อผู้น้อยหรือ
ผู้ทเ่ี สมอกนั
ไปรษณยี ์ วธิ ีกำรสง่ หนังสอื และหบี ห่อของโดยมอี งคก์ รที่ตง้ั ข้นึ เป็นเจ้ำหนำ้ ท่รี ับส่ง
ปฏิบตั ิธรรม หมำยถึง เจริญภำวนำ
ปศสุ ัตว์ คำท่ีให้ควำมหมำยท่ัวไปของกำรเล้ียงให้สัตว์เชื่องในสภำพแวดล้อม
เกษตรกรรม เพือ่ ใช้เป็นแรงงำนและบรโิ ภค
พรรณไม้ ตน้ ไมช้ นดิ น้นั ๆ หรือพชื ชนดิ นน้ั ๆ
พระขรรค์ ลักษณะคล้ำยดำบมีคมสองด้ำน ตรงกลำงคอด
พลศกึ ษำ กำรศึกษำที่จะนำไปสู่ควำมเจริญงอกงำมและพฒั นำกำรทำงรำ่ งกำย
วรรณยุกต์ รูปเครื่องหมำยบอกระดับของเสียงอยู่เบ้ืองบนอักษร 4 รูป คือ ไม้เอก
ไม้โท ไม้ตรี ไมจ้ ัตวำ
ศรัทธำ ควำมเชื่อ, ควำมเลือ่ มใส
อุตสำหกรรม กิจกรรมท่ใี ชท้ ุนและแรงงำนเพ่ือผลติ ส่ิงของหรือจัดใหม้ ีบริกำร


Click to View FlipBook Version