ปัญหาการว่างงาน
UNEMPLOYMENT
จัดทำโดย
1.นางสาวณัฐกมล คำแสน เลขที่ 9
2.นางสาวธัญพร รัตนวีรพงษ์ เลขที่ 12
3.นายบุญยะฤทธิ์ พุ่มพิริยพฤนท์ เลขที่ 13
4.นางสาวภารดา มีนาค เลขที่ 20
5.นายวนัสชัย ดาเพียร เลขที่ 24
6.นางสาวสุวิชญา ทุมลา เลขที่ 34
7.นางสาวอรวี เอี่ยมจินดา เลขที่ 35
ระดับชั้นประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงปีที่ 2/3
ปัญหาการว่างงาน
UNEMPLOYMENT
การว่างงาน คือ ภาวการณ์ที่บุคคลในวัยแรงงานที่พร้อมจะทำงานแต่ไม่สามารถหา
งานทำได้ หรือเจ็บป่วย รองานใหม่ หางานที่เหมาะสมไม่ได้ บุคคลในวัยแรงงานจะ
พิจารณาผู้ที่มีอายุ 13 ปีขึ้นไป ส่วนแรงงานที่ไม่ได้อยู่ในวัยแรงงาน ได้แก่ นักเรียน
นักศึกษา นักบวช ผู้ที่เกษียณอายุ ผู้เจ็บป่วยพิการทางร่างกายและสติปัญญา
ประเภทของการว่างงานมี 5 ประเภท ประเภทของการ
ว่างงาน
1.) การว่างงานชั่วคราว (FRICTIONAL UNEMPLOYMENT) เป็นการว่างงานในระยะสั้น
สาเหตุมาจากความไม่สมบูรณ์ของตลาดแรงงานในด้านต่าง ๆ เช่น ข้อมูล การคมนาคม เป็นต้น
2.) การว่างงานตามฤดูกาล (SEASONAL UNEMPLOYMENT) เป็นการว่างงานที่เกิดขึ้นตาม
ฤดูกาลพบส่วนใหญ่ในภาคเกษตรกรรม ส่วนสาขาการผลิตอื่น ๆ ที่เกิดการว่างงานประเภทนี้
เช่น ภาคก่อสร้าง เป็นต้น
3.) การว่างงานเนื่องจากโครงสร้างของเศรษฐกิจ (STRUCTURAL
UNEMPLOYMENT) การว่างงานประเภทนี้เกิดจากการที่แรงงานไม่สามารถ
ปรับตัวเข้ากับการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางเศรษฐกิจได้เช่น เทคโนโลยีการ
ผลิต การย้ายแหล่งอุตสาหกรรม เป็นต้น
4.) การว่างงานเนื่องจากวัฐจักรเศรษฐกิจ (CYCLICAL UNEMPLOYMENT)
เป็นการว่างงานที่เกิดจาก เศรษฐกิจเปลี่ยนแปลงโดยเฉพาะในช่วงเศรษฐกิจ
ตกต่ำซึ่งสินค้าขายไม่ออก ผู้ผลิตต้องลดการผลิตและการจ้างงานตามมา
5.) การว่างงานแฝง (DISGUISED UNEMPLOYMENT) เกิดจากการที่มี
จำนวนแรงงานเกินความจำเป็น ส่วนใหญ่พบในภาคเกษตรกรรม บุคคลที่ว่าง
งานแฝงจะทำงานต่ำกว่าระดับ (UNDEREMPLOYMENT)
สาเหตุของการว่างงาน การขาดแคลนตลาดแรงงาน
ในประเทศไทย ขาดการวางแผนกำลังคนของประเทศ
ความไม่สมดุลระหว่างการผลิต
มีหลายประการ เช่น ผู้สำเร็จการศึกษาวิชาชีพ
ความต้องการของตลาดแรงงาน
ภาวะเงินเฟ้อ
นโยบายการเงิน
โดยลดอัตราดอกเบี้ยเงินฝากและเงินกู้เพื่อเพิ่มปริมาณเงินในมือประชาชนให้
มากขึ้น ทำให้คนว่างงานแบ่งเบาค่าใช้จ่าย ปริมาณความต้องการในการซื้อสินค้าของ
ผู้บริโภคเพิ่มขึ้นนอกจากนี้ยังลดการขายพันธบัตรรัฐบาลให้ธนาคารพาณิชย์และ
ประชาชน แต่ขณะเดียวกันก็เพิ่มการรับชื้อพันธบัตรรัฐบาลคืนจากประชาชนให้มาก
ขึ้นเพื่อเพิ่มอำนาจซื้อของประชาชนให้สูงขึ้น ตลอดจนเพิ่มการขยายเครดิตหรือปล่อย
เงินกู้ของธนาคารพาณิชย์ไปยังกลุ่มผู้ประกอบการ หรือผู้ผลิต เพื่อช่วยให้การผลิต
ดำรงอยู่ได้ หรือเรียกได้ว่าใช้นโยบายการเงินแบบขยายตัว เพื่อเพิ่มอุปสงค์มวลรวม
นโยบายการคลัง
การใช้มาตรการทางด้านภาษี ด้วยการปรับลดอัตราภาษี ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อจะช่วยกระตุ้นทางด้านการบริโภค
ของประชาชนให้เพิ่มขึ้น และยังจะส่งผลดีต่อการลงทุนและการจ้างงานเพิ่มขึ้น ซึ่งเมื่อเกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่ำและมี
การว่างงานเกิดขึ้นเป็นจำนวนมาก จะทำให้มาตรการทางการคลังที่นำมาใช้ คือการใช้งบประมาณขาดดุลและการลด
ภาษี หรือควรจะเป็นมาตรการที่ก่อให้เกิดการขยายตัวทางด้านอุปสงค์ ซึ่งรัฐบาลต้องพึงระวังในการบริหารจัดการหนี้
สาธารณะให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมด้วยเช่นกัน เพราะหากไม่จัดการระวังเรื่องหนี้สาธารณะให้ดี ก็อาจจะก่อให้เกิด
ปัญหาตามมาอีกได้แม้จะช่วยแก้ปัญหาการว่างงานได้แล้วก็ตาม
โครงการแก้ไข หลักการและเหตุผล การส่งเสริมการมีงานทำของประชาชนทุกกลุ่ม ทุก
ปัญหา วัย ทุกพื้นที่ให้มีการจ้างงาน มีอาชีพ มีรายได้อย่างยั่งยืนเป็นภารกิจของ
กรมการจัดหางาน เป็นหน่วยงานในการให้บริการจัดหางานแก่ประชาชน
โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย แต่เนื่องจากประชาชนในพื้นที่ระดับชุมชน หมู่บ้าน
ตำบล ยังขาดโอกาสในการเข้าถึงบริการของรัฐ เนื่องจากมีข้อจำกัดหลาย
อย่าง เช่น ค่าเดินทาง ขาดความเข้าใจในการขอรับบริการ ดังนั้น หน่วย
งานของรัฐจึงจำเป็นต้องให้ความช่วยเหลือและสนับสนุนให้ได้รับบริการ
อย่างครอบคลุมและเป็นธรรม
THANK YOU