The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuyui_12, 2022-04-15 20:16:17

ตัวอย่างแผนการสอน

หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตรอบตัว

๓.2 นกั เรยี นสงั เกตบตั รภาพจากทไ่ี หน (บัตรภาพท่ีครเู ตรยี มไว)้
๓.3 นักเรยี นต้องสังเกตอะไรในบตั รภาพ (สังเกตลกั ษณะต่าง ๆ ของสตั ว์)
๓.4 สังเกตบัตรภาพแล้วต้องทำอะไรต่อไป (กำหนดเกณฑ์ในการจำแนกและจำแนกสัตว์มี
กระดกู สันหลังออกเปน็ กลมุ่ ต่าง ๆ ตามขอ้ มลู ที่สังเกตได้)
๓.5 นักเรียนต้องสำรวจหรือสบื คน้ ขอ้ มูลเก่ียวกับเรื่องอะไร (ชื่อสัตว์มีกระดูกสันหลงั ในกลุ่ม
ต่าง ๆ) ครูอาจช่วยเขียนสรุปเป็นขั้นตอนสัน้ ๆ บนกระดาน และเตรียมบัตรภาพ สัตว์มีกระดกู สันหลังในกลมุ่
ปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่ม สัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม มาให้
นักเรียน ทุกกลุ่มสังเกต กลุ่มละ 1 ชุด (มีสัตว์ 10 ชนิด) นักเรียนอาจไมส่ ามารถตอบ คำถามหรืออภิปรายได้
ตามแนว คำตอบ ครคู วรใหเ้ วลานักเรียน คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอยา่ ง อดทน และรับฟังแนวความคิด ของ
นกั เรยี น

3. ขั้นอธิบายและลงข้อสรุป
๑. เม่ือนักเรียนเข้าใจวธิ ีการทำกจิ กรรมในทำอย่างไรแลว้ นกั เรียนจะได้ปฏิบตั ิตามขน้ั ตอน ดังน้ี
๑.1 อา่ นใบความรู้เร่อื งกลุ่มสตั ว์มกี ระดกู สนั หลงั
๑.2 เขยี นแผนผงั สรปุ ลกั ษณะที่สงั เกตไดข้ องสตั ว์มีกระดกู สนั หลังในกลุม่ ต่าง ๆ และนำเสนอ
๑.3 รว่ มกนั ลงความเห็นเกี่ยวกับลักษณะของสตั วม์ กี ระดกู สันหลังในกลมุ่ ต่าง ๆ
๑.4 สงั เกตลกั ษณะตา่ ง ๆ ของสตั วม์ กี ระดูกสันหลงั ชนิดต่าง ๆ จากบัตรภาพท่ีครูเตรียมไว้
๑.5 จำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ตามข้อมูลที่สังเกตได้

ในกรณีที่นกั เรียนจำแนกสตั ว์ผิดกลุม่ ใหค้ รแู ละนักเรยี นร่วมกันอภิปรายเพื่อแก้ไขให้ถกู ต้อง
๑.6 สำรวจหรอื สืบค้นขอ้ มลู เกย่ี วกับชือ่ สตั วม์ กี ระดกู สันหลังในกล่มุ ต่าง ๆ (C6)
๑.7 ร่วมกันสรุปเกี่ยวกับลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสัตว์มีกระดูกสันหลงั และการจัดกล่มุ

สัตวม์ กี ระดูกสันหลังออกเป็นกลมุ่ ตา่ ง ๆ (S13)
๒. หลังจากทำกิจกรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดังนี้ คำถามสำหรับการ

อภปิ รายผลตามขน้ั ตอนทำอย่างไร ขอ้ 1
๒.1 ลักษณะเฉพาะที่สังเกตไดข้ องสัตวม์ ีลักษณะใดบา้ ง (ลักษณะผิวหนังเส้นขน ส่วนที่ใช้ใน

การเคลือ่ นที่ การมีปีก การมีขา การออกลกู เปน็ ไข่หรือเป็นตวั การวางไข่ในน้ำหรือบนบก การเลย้ี งลูกดว้ ยน้ำนม)
๒.2 จากใบความรู้สามารถจัดกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง (5 กลุ่ม ได้แก่

กล่มุ ปลา กลุม่ สตั ว์สะเทนิ น้ำสะเทินบก กลมุ่ สัตว์เลอื้ ยคลาน กล่มุ สตั ว์ปีก และกลมุ่ สตั วเ์ ลีย้ งลูกดว้ ยน้ำนม) (S4)
๒.3 ลกั ษณะที่สังเกตได้ของสตั ว์แต่ละกลุม่ เปน็ อย่างไร
- กลุ่มปลา มคี รีบ ไมม่ ีขา มีหาง ผวิ หนังมเี กลด็ อยใู่ นน้ำ ออกลูกเป็นไข่
- กลุ่มสัตวส์ ะเทินน้ำสะเทินบก ผิวหนงั เปยี กชนื้ ตลอดเวลา ไม่มขี น มีขา 4 ขา อาศัย

ทั้งบนบกและในน้ำ ตัวผู้จะปล่อยอสุจิออกมาผสม กับไข่ที่ตัวเมียปล่อยออกมาในน้ำ ลูกหรือตัวอ่อนจะอาศัย
อยู่ในนำ้ เมือ่ เจริญเตบิ โตข้นึ สามารถอยู่บนบกได้

- กลมุ่ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน ผิวหนงั แหง้ ไม่มขี น มีเกล็ดทั่วตัว มีขา 4 ขา มีหาง อยู่ทั้งบน
บกและในน้ำ วางไขบ่ นบก บางชนิดไม่มขี าบางชนดิ ออกลูกเปน็ ตวั

- กลุ่มสัตว์ปีก มีขนเป็นแผง มีขา 2 ขา มีปีก 1 คู่ บางชนิดบินได้บางชนิดบินไม่ได้
บางชนดิ ว่ายน้ำได้ ออกลูกเป็นไข่

- กล่มุ สัตว์เลยี้ งลูกดว้ ยนำ้ นม มีขา 4 ขา มีขนเปน็ เสน้ สว่ นใหญอ่ อกลกู เปน็ ตวั เลี้ยง
ลูกด้วยน้ำนม ส่วนใหญ่อยู่บนบก บางชนิดอยู่ในน้ำ บางชนิดออกลูกเป็นไข่) คำถามสำหรับการอภิปรายผล
ตามข้นั ตอนทำอยา่ งไร ขอ้ 2-3

๒.4 จากบตั รภาพมีสตั ว์ชนดิ ใดอยู่ในกลุ่มปลาบา้ ง (นักเรียนตอบตามข้อมูลของบัตรภาพที่ใช้
จรงิ ในหอ้ งเรยี น)

๒.5 เพราะเหตใุ ดนักเรยี นจึงจัดสัตว์ชนดิ นี้อยู่ในกลมุ่ ปลา (เพราะลำตวั มเี กล็ด มีครบี อยใู่ นนำ้ )
๒.6 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบกบ้าง (นักเรียนตอบตาม
ขอ้ มูลของบัตรภาพทใี่ ชจ้ ริงในห้องเรยี น)
๒.7 เพราะเหตุใดนักเรยี นจงึ จดั สัตวช์ นิดน้ีอยู่ในกลุม่ สัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก (เพราะผิวหนัง
เปียกช้ืนตลอดเวลา มขี า 4 ขา อย่ทู ้ังบนบกและ ในน้ำ ออกลูกเปน็ ไข่และฟกั ออกมาเปน็ ตวั มีหางกอ่ นและหาง
จะหายไป เมอ่ื เจริญเตบิ โตเต็มวยั )
8.8 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลานบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูลของ
บัตรภาพทีใ่ ชจ้ ริงในหอ้ งเรียน) นักเรยี นอาจไมส่ ามารถตอบ คำถามหรืออภปิ รายได้ตามแนว คำตอบ ครูควรให้
เวลานักเรยี น คิดอย่างเหมาะสม รอคอยอย่าง อดทน และรับฟงั แนวความคิด ของนักเรียน
๒.9 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนี้อยู่ในกลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน (เพราะลำตัวมีเกล็ด
มขี า 4 ขา อยู่ทัง้ บนบกและในนำ้ )
๒.10 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์ปีกบ้าง (นักเรียนตอบตามข้อมูลของบัตร
ภาพท่ีใชจ้ รงิ ในห้องเรียน)
๒.11 เพราะเหตุใดนักเรียนจึงจัดสัตว์ชนิดนี้อยู่ในกลุ่มสัตว์ปีก (เพราะมีขนเป็นแผง มีขา 2
ขา มีปีก 1 คู่ ออกลกู เปน็ ไข่)
๒.12 จากบัตรภาพมีสัตว์ชนิดใดอยู่ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนมบ้าง (นักเรียนตอบตาม
ข้อมูลของบัตรภาพทใ่ี ช้จริงในห้องเรยี น)
๒.13 เพราะเหตุใดนกั เรยี นจึงจัดสตั ว์ชนดิ น้ีอยู่ในกลุ่มสัตว์เลี้ยงลกู ด้วยน้ำนม (เพราะลำตัวมี
ขนเป็นเสน้ ออกลกู เปน็ ตวั เลี้ยงลูกออ่ นด้วยน้ำนม)
๓. ร่วมกันอภปิ รายและลงข้อสรุปว่าสามารถจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็นกลุ่มตา่ ง ๆ ได้ โดย
ใช้ลักษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้เปน็ เกณฑ์ ได้แก่ ลักษณะผิวหนังเส้นขน ส่วนทีใ่ ช้ในการเคลื่อนที่ การมีปีก การมี
ขา การออกลูก เป็นไข่หรือเป็นตัว การวางไข่ในน้ำหรือบนบก การเลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ซึ่งจะ จำแนกสัตว์มี
กระดกู สันหลงั ออกเป็น 5 กล่มุ คือ กลมุ่ ปลา กลุ่มสตั ว์ สะเทินน้ำสะเทินบก กลมุ่ สตั ว์เล้ือยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก
และกล่มุ สตั ว์เลีย้ ง ลูกดว้ ยนำ้ นม

๔.นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจเพิ่มเติมคำถามในการอภิปรายเพื่อให้ได้
แนวคำตอบท่ถี ูกต้อง

๕.นักเรียนรว่ มกันสรปุ ส่ิงทไ่ี ด้เรียนร้ใู นกจิ กรรมนี้ จากนน้ั นักเรยี นอา่ น สง่ิ ท่ีได้เรยี นรู้ และเปรยี บเทียบ
กับขอ้ สรปุ ของตนเอง

แนวคำตอบในแบบบนั ทกึ กิจกรรม
กจิ กรรมท่ี 1.3 เราจำแนกสตั ว์มกี ระดกู สันหลังได้อย่างไร
จดุ ประสงค์ของกจิ กรรม
ทำกิจกรรมนเ้ี พอื่

1. สังเกตและบรรยายลกั ษณะเฉพาะท่สี ังเกตไดข้ องสตั วม์ ีกระดกู สันหลงั กลมุ่ ต่าง ๆ
2. สำรวจหรือสบื ค้นขอ้ มลู เพือ่ ยกตัวอยา่ งสตั ว์มกี ระดกู สนั หลังกลมุ่ ตา่ ง ๆ
บนั ทกึ ผลการทำกจิ กรรม

แผนผัง สรุปลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสตั วม์ กี ระดกู สันหลงั กล่มุ ตา่ ง ๆ

ตาราง ลักษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้ข
คำตอบข้นึ อยู่กับบัตรภาพสตั ว์มกี

ลักษณะของผวิ หนัง สว่ นท่ีใชเ้

ชือ่ สัตว์ มขี น ไม่มี มี ไม่มี มี ไมม่ ี มี ไม
เป็น เป็น ขน เกลด็ เกลด็ ครบี ครีบ ปีก ป
เปียก แหง้ เสน้ แผง

1 โค    

2 นกยาง  

3 จง้ิ เหลน   

4 เขียด   

5 ปลาชอ่ น    

6 ปลากะพง    

7 คางคก   

8 งู    

9 นกแก้ว   

10 ช้าง   

ของสัตวม์ ีกระดกู สนั หลังกล่มุ ตา่ งๆ
กระดูกสนั หลังของห้องเรียน เช่น

เลีย่ นท่ี การ การวางไข่ การเลย้ี งลูก
ออกลูก
มม่ ี มีขา ใน บน ดว้ ย ไมม่ ี กลุ่มสัตว์
ปีก 24 ไม่มี เป็น เป็น น้ำ บก นม นม
ขา ขา ขา ไข่ ตวั สตั วเ์ ลี้ยงลูกด้วยนม
  กลุ่มสัตว์ปีก
    สตั วเ์ ล้อื ยคลาน
   สตั ว์สะเทนิ นำ้ สะเทนิ บก
    กลมุ่ ปลา
   กลุ่มปลา
    สัตวส์ ะเทินนำ้ สะเทนิ บก
   สตั ว์เลอื้ ยคลาน
    กลุ่มสตั วป์ กี
   สตั วเ์ ลี้ยงลูกด้วยนม
  

 









ชื่อสตั วม์ กี ระดูกสนั หลงั ทสี่ ำรวจหรอื สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติม
กล่มุ ปลาไดแ้ ก่ ปลาทู ปลาซวิ ปลาดกุ ปลากดั ปลาฉลาม
กลุ่มสัตวส์ ะเทินน้ำ สะเทนิ บก ได้แก่ ปาด ซาลาแมนเดอร์
กลมุ่ สตั ว์เลื้อยคลานไดแ้ ก่ เตา่ จิง้ จก กิ้งก่า ตวั เงนิ ตวั ทอง
กลมุ่ สัตวป์ กี ไดแ้ ก่ นกเขา นกยงู นกอนิ ทรี นกกระจอกเทศ
กลุ่มสัตว์เลยี้ งลกู ด้วยนำ้ นม ไดแ้ ก่ กระรอก มนษุ ย์ โลมา สุนัข โค หนู ช้าง

ฉนั รอู้ ะไร
1. การจดั กลุม่ สัตวม์ ีกระดกู สนั หลัง จดั ได้กีก่ ล่มุ อะไรบา้ ง

จัดได้ 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก กลุ่ม
สัตว์เล้ียงลูกดว้ ยนำ้ นม
2. ลกั ษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้ซ่ึงใชใ้ นการจัดกลุม่ สตั ว์มีกระดูกสนั หลังมีอะไรบา้ ง

ลักษณะผิวหนัง เส้นขน ส่วนที่ใช้ในการเคลื่อนที่ การมีปีก การมีขา การออกลูก เป็นไข่หรือเป็นตัว
การวางไข่ในน้ำหรือบนบก การเลี้ยงลกู ดว้ ยน้ำนม
3. สตั ว์ทีอ่ ยู่ในกล่มุ ปลามีลกั ษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้อะไรบา้ ง

มีครีบ ไมม่ ีขา มีหาง ผวิ หนงั มีเกล็ด (บางชนิดไมม่ ีเกลด็ ) อยู่ในน้ำ ออกลูกเป็นไข่ (บางชนิดออกลูกเป็น
ตวั )
4. สัตวท์ ่อี ยูใ่ นกลุม่ สตั ว์สะเทินนำ้ สะเทนิ บกมลี กั ษณะเฉพาะที่สงั เกตได้อะไรบา้ ง

ผิวหนังเปียกชื้นตลอดเวลา ไม่มีขน มีขา 4 ขา อาศัยทั้งบนบกและในน้ำ ตัวผู้จะปล่อยอสุจิออกมา
ผสม กับไขท่ ่ีตัวเมียปล่อยออกมาในน้ำ ตัวอ่อนจะอยูใ่ นนำ้ เมือ่ เจริญเติบโตขนึ้ สามารถขึน้ มาอยู่บนบกได้
5. สตั วท์ ี่อยใู่ นกลุม่ สัตวเ์ ล้อื ยคลานมีลักษณะเฉพาะท่ีสังเกตได้อะไรบ้าง

ผิวหนงั แห้ง ไมม่ ีขน มเี กล็ดทว่ั ตวั มขี า 4 ขา มีหาง อยทู่ ง้ั บนบกและในน้ำ วางไขบ่ น บก บางชนิดไม่มี
ขา บางชนิดออกลกู เปน็ ตวั
6. สัตวท์ อ่ี ยู่ในกลมุ่ สตั วป์ ีกมลี ักษณะเฉพาะท่สี งั เกตได้อะไรบา้ ง

มีขนเป็นแผง มขี า 2 ขา มีปกี 1 คู่ บางชนดิ บนิ ได้บางชนิดบินไมไ่ ด้ บางชนดิ วา่ ยน้ำได้ ออกลูกเป็นไข่
7. สตั วท์ ีอ่ ย่ใู นกลมุ่ สัตว์เลย้ี งลูกดว้ ยนำ้ นมมีลักษณะเฉพาะทีส่ งั เกตได้อะไรบา้ ง

มีขา 4 ขา มีขนเป็นเส้น ส่วนใหญ่ออกลูกเป็นตัว เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม อยู่บนบก บางชนิด อยู่ในน้ำได้
บางชนิดออกลูกเป็นไข่ จากกิจกรรมนี้ ค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง สามารถ
จำแนกกลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ โดยใช้ลักษณะเฉพาะที่ สังเกตได้เป็นเกณฑ์ ได้แก่
ลกั ษณะผิวหนงั เสน้ ขน สว่ นทีใ่ ช้ในการเคล่อื นท่ี การมปี ีก การมขี า การออกลูกเปน็ ไข่หรือเปน็ ตวั การวางไข่ใน

น้ำหรือบนบก การเลี้ยงลูกดว้ ย น้ำนม ซึ่งสามารถจำแนกออกไดเ้ ป็น 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำ
สะเทินบกกลมุ่ สัตวเ์ ลอ้ื ยคลาน กล่มุ สัตว์ปีก และกลุ่มสตั ว์เลยี้ งลกู ดว้ ยนำ้ นม
9. จากสิง่ ทค่ี ้นพบ สรปุ ได้ว่าอยา่ งไร

สามารถจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มได้ 5 กลมุ่ คอื กล่มุ ปลา กลมุ่ สัตว์ สะเทินน้ำสะเทิน
บก กลุ่มสัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปีก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วย น้ำนม โดยใช้ลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้เป็น
เกณฑ์

4. ขนั้ ขยายความรู้
๑. ครูนำประเด็นเรือ่ งการจำแนกค้างคาวทีน่ ักเรยี นได้อ่านในเนื้อเรื่องนำเรือ่ งที่ 1 มาถามนักเรียนอีก

ครัง้ ดงั น้ี
๑.1 ถา้ จดั คา้ งคาวตามลักษณะที่สังเกตได้ จะจัดค้างคาวอยู่ในกลุ่มเดียวกับนกหรือไม่ เพราะ

เหตุใด (ค้างคาวอยู่ต่างกลุ่มกบั นก เพราะ ค้างคาวมีขนเป็นเส้น ออกลูกเป็นตัว และเลี้ยงลูกด้วยนำ้ นม ซึ่งเปน็
ลักษณะท่ีแตกตา่ งจากนก)

๑.2 มลี กั ษณะใดบา้ งท่คี า้ งคาวต่างจากนก (ลกั ษณะของขน และการออกลูก การเล้ยี งลูกด้วย
น้ำนม)

๑.3 ค้างคาวและนกสามารถจัดอย่ใู นกลุ่มใด (กลุ่มสัตว์เลยี้ งลกู ด้วยน้ำนม)
๒. นักเรียนตั้งคำถามใน อยากรู้อีกว่า จากนั้นครูสุ่มนักเรยี น 2-3 คน นำเสนอคำถามของตนเองหนา้
ชนั้ เรยี น

5. ขัน้ ประเมนิ
๑. ครูประเมนิ นกั เรยี นด้านความรู้ โดยตรวจใบงาน จากกจิ กรรม
๒. ครูประเมนิ นักเรยี นด้านทักษะกระบวนการ
๓. ครปู ระเมินนกั เรยี นดา้ นคุณลกั ษณะโดยใช้แบบประเมินความมุ่งม่ันในการทำงาน

ส่ือและแหลง่ เรยี นรู้
- แบบบันทกึ กิจกรม รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1
- หนังสือเรยี นวิทยาศาสตร์ รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1

การวัดและประเมินผล

จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เครอ่ื งมอื ทีใ่ ช้วัด เกณฑใ์ นการวดั
- แบบประเมินใบกจิ กรรม
ดา้ นความรู้ - ตรวจใบกิจกรรม เรอ่ื ง คะแนนร้อยละ
70 ข้นึ ไปผา่ น
สังเกตและบรรยาย เราจำแนกสัตว์ได้อยา่ งไร

ลักษณะเฉพาะที่สังเกต

ได้ของสัตว์มีกระดูกสัน

หลงั กล่มุ ตา่ ง ๆ (K)

ด้านทกั ษะกระบวนการ -สังเกตทักษะกระบวนการ - แบบประเมิน ท ั ก ษ ะ

ทักษะกระบวนการทาง ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง

วทิ ยาศาสตร์ (P) วทิ ยาศาสตร์

ดา้ นคุณลักษณะ - สังเกตความม่งุ มั่นในการ - แบบประเมินความมุง่ ม่ัน

มุ่งมนั่ ในการทำงาน (A) ทำงาน ในการทำงาน

ความคิดเห็นผบู้ รหิ าร / ผู้ทีไ่ ดร้ บั มอบหมาย

ไดท้ ำการตรวจแผนการจัดการเรยี นรู้ แล้ว
๙. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี

o ดีมาก
o ดี
o พอใช้
o ควรปรับปรงุ

๑๐. การจดั กิจกรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้

o เน้นผเู้ รยี นเป็นสำคญั ใชก้ ระบวนการ Active Leaning ไดอ้ ย่างเหมาะสมกผั ู้เรยี น
o ยังไมเ่ นน้ ผเู้ รยี นเป็นสำคัญ ควรปรบั ปรุงพัฒนาต่อไป

๑๑. เปน็ แผนการจดั การเรียนรทู้ ี่

o นำไปใช้ไดจ้ ริง
o ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

๑๒. ขอ้ เสนอแนะอืน่
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................................
(......................................................................)
ตำแหน่ง......................................................................

บนั ทกึ ผลการจัดการเรียนรู้
หน่วยย่อยท่ี ๓ เรอ่ื ง เราจำแนกสัตวม์ กี ระดกู สันหลงั ได้อยา่ งไร

ผลการเรยี นรู้ นักเรียนท้งั หมด ............. คน มีผลการเรยี นเปน็ ดงั น้ี
สงั เกตและบรรยายลักษณะเฉพาะทส่ี ังเกตได้ของสตั วม์ ีกระดกู สนั หลงั กลมุ่ ต่าง ๆ (K)

ดา้ นความรู้
1. สังเกตและบรรยายลักษณะเฉพาะท่ีสงั เกตได้ของสตั วม์ ีกระดกู สันหลังกลุ่มตา่ ง ๆ (K)

จำนวนนกั เรียนทผี่ า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เป็นร้อยละ .................................
จำนวนนกั เรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เป็นร้อยละ ................................

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ
๒. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P)

จำนวนนกั เรยี นทผ่ี า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คิดเป็นร้อยละ .................................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเป็นร้อยละ ................................

ด้านคณุ ลักษณะ
๓. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน (A)

จำนวนนกั เรียนท่ผี า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ .................................
จำนวนนกั เรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เป็นร้อยละ ................................

สรปุ ภาพรวมตามจุดประสงค์การเรียนทง้ั 3 ดา้ น
จำนวนนักเรยี นทีผ่ ่านเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
จำนวนนักเรียนท่ีไม่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................................

บันทึกพฤตกิ รรมนกั เรยี น
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

แนวทางแก้ไขและผลการแก้ไข
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................ผสู้ อน
(.....................................................................)
.................../.........................../....................

แบบบนั ทึกผลการผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้

หนว่ ยย่อยท่ี ๓ เร่อื ง เราจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังได้อย่างไร

เลขท่ี จดุ ประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ รวม ร้อยละ ผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผ่าน
คะแนน ข้อที่ 1 ข้อที่ ๒ ขอ้ ที่ ๓ ขอ้ ท่ี ๔ 70
1
2 ผ่าน
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑก์ ารผา่ น ไดค้ ะแนนต้ังแตร่ อ้ ยละ 70 ข้นึ ไป

เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านความรู้

หน่วยย่อยที่ ๓ เรือ่ ง เราจำแนกสัตวม์ ีกระดูกสันหลงั ได้อย่างไร

ประเด็นการประเมนิ 3 ระดบั คะแนน 1
2

การบรรยาย สามารถใช้ประสาทสัมผัส สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท

รายละเอียด เก็บรายละเอียด ข้อมลู สมั ผสั เกบ็ รายละเอยี ด สัมผัสเกบ็ รายละเอียด
และบรรยายลักษณะของ ข้อมลู และบรรยาย ขอ้ มลู และบรรยาย

เกย่ี วกับลกั ษณะของสัตว์มี สัตว์มีกระดูกสนั หลงั แตล่ ะ ลกั ษณะของสัตว์มี ลกั ษณะของสัตวม์ ี

กระดูกสนั หลงั แตล่ ะกลมุ่ กลุ่ม ไดด้ ้วยตนเองโดยไม่ กระดูกสันหลังแต่ละ กระดูกสันหลงั แต่ละ

เพิม่ เติมความคิดเห็น กลมุ่ จากการชแี้ นะข้อง กลมุ่ ได้บางส่วน แมว้ ่าจะ

ครู หรอื ผู้อนื่ หรือมีการ ไดร้ ับคำชีแ้ นะจากครู

เพ่มิ เติม ความคิดเหน็ หรือผู้อืน่

เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนตง้ั แตร่ อ้ ยละ 70 ขึ้นไป (3 คะแนนข้นึ ไป)

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นทักษะกระบวนการ
หนว่ ยย่อยที่ ๓ เรอื่ ง เราจำแนกสัตว์มกี ระดกู สันหลงั ได้อย่างไร

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ สามารถการจำแนกสัตว์ พอใช้ (2) สามารถการจำแนก
สตั ว์
การจำแนกประเภท การจำแนกสตั ว์ มกี ระดูกสนั หลัง โดย สามารถการจำแนก
ลกั ษณะเฉพาะท่สี งั เกต สัตว์
มกี ระดูกสันหลัง ได้เป็นเกณฑ์ ออกเป็น
โดยลักษณะเฉพาะ กล่มุ ปลา กลมุ่ สตั ว์ มีกระดูกสันหลัง โดย มกี ระดูกสันหลงั โดย
ท่สี งั เกตไดเ้ ป็น สะเทินน้ำสะเทนิ บก ลักษณะเฉพาะทีส่ งั เกต ลักษณะเฉพาะที่สังเกต
เกณฑ์ ออกเปน็ กลุ่ม สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน ไดเ้ ป็นเกณฑ์ ออกเป็น ไดเ้ ป็นเกณฑ์ ออกเป็น
กลุ่มปลา กลมุ่ สตั ว์ กลมุ่ สตั ว์ปีก และกลมุ่ กลุ่มปลา กลุม่ สตั ว์ กลมุ่ ปลา กลุ่มสตั ว์
สะเทินนำ้ สะเทิน สตั วเ์ ลยี้ งลูกด้วยน้ำนม สะเทินนำ้ สะเทนิ บก สะเทนิ นำ้ สะเทินบก
บก กลุ่ม ไดด้ ว้ ยตนเอง กลมุ่ สัตวเ์ ลื้อยคลาน กลุ่ม สัตวเ์ ลอื้ ยคลาน
สัตว์เลื้อยคลาน กลุ่มสัตว์ปกี และกลุ่ม กลุ่มสตั ว์ปกี และกลมุ่
กลุม่ สตั ว์ปีก และ สตั ว์เลย้ี งลกู ด้วยนำ้ นม สัตวเ์ ล้ียงลูกดว้ ยนำ้ นม
กลุ่มสัตวเ์ ลีย้ งลกู ได้ อยา่ งถูกต้อง จาก ไดถ้ ูกต้อง บางส่วน แม้
ดว้ ยน้ำนม การชี้แนะ ข้องครหู รือ ว่าจะไดร้ บั คำชี้แนะ
ผู้อน่ื จากครูหรอื ผู้อนื่

การจัดกระทำและ การนำข้อมูลท่ีได้ สามารถนำข้อมูลที่ได้ สามารถนำข้อมลู ท่ีได้ สามารถนำข้อมูลที่ได้
ส่ือความหมาย จากการสังเกตและการ จากการสังเกตและการ
ข้อมูล จากการสังเกต จากการสงั เกตและการ สำรวจหรือการสบื ค้น สำรวจหรอื การสืบค้น
สำรวจหรือการสืบค้น ขอ้ มูลเกี่ยวกับลักษณะ ข้อมลู เกี่ยวกับลกั ษณะ
ของสตั ว์มีกระดูก ของสตั วม์ ีกระดูก
และการสำรวจหรือ ขอ้ มลู เก่ยี วกบั ลกั ษณะ

การสืบค้นข้อมูล ของสัตวม์ ีกระดูกสนั

เกี่ยวกับลกั ษณะ หลงั มาจำแนกสตั วม์ ี สันหลงั มาจำแนกสัตว์ สันหลัง มาจำแนกสัตว์

ของสตั ว์มีกระดูก กระดูกสันหลงั ออกเป็น มีกระดูกสันหลัง มกี ระดูกสนั หลงั

สันหลงั มาจำแนก กล่มุ และนำผลการ ออกเปน็ กลุ่ม และนำ ออกเป็นกลุม่ และ

สตั วม์ ีกระดูก สัน จำแนกมาจัดกระทำใน ผลการจำแนกมาจัด สามารถนำผลการ

หลงั ออกเปน็ กลุ่ม รปู แบบตา่ ง ๆ รวมทง้ั กระทำในรปู แบบ ตา่ ง จำแนกมาจดั กระทำใน

และนำผลการ สอื่ ให้ผอู้ ่ืนเข้าใจผลการ ๆ รวมทัง้ สือ่ ใหผ้ ู้อื่น รปู แบบต่าง ๆ รวมทั้ง

จำแนกมาจดั จำแนกสตั วอ์ อกเปน็

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

กระทำในรูปแบบ กลมุ่ ได้อย่างถูกต้อง เข้าใจผลการจำแนก สามารถสื่อให้ผู้อนื่

ต่าง ๆ รวมทัง้ ส่อื ให้ ด้วยตนเอง สตั ว์ออกเป็นกลมุ่ ได้ เข้าใจผลการจำแนก

ผู้อื่นเขา้ ใจผลการ อย่างถูกต้อง จากการ สตั วอ์ อกเปน็ กลุม่ ได้

จำแนกสัตว์ ช้แี นะของครหู รือผอู้ นื่ ถูกต้องบางสว่ น แม้ว่า

ออกเปน็ กลมุ่ จะได้รับคำชีแ้ นะจาก

ครูหรอื ผู้อนื่

การลงความเหน็ การลงความเหน็ สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเหน็

จากข้อมูล จากข้อมลู ว่า จากข้อมูลว่าการจำแนก จากข้อมูลว่าการ จากข้อมูลว่าการ

การจำแนกสัตว์มี สตั ว์มกี ระดูกสันหลงั โดย จำแนกสตั ว์มีกระดกู จำแนกสตั ว์มกี ระดูก
กระดูกสนั หลงั โดย ใชล้ กั ษณะเฉพาะท่ี สันหลงั โดยใช้ลกั ษณะ สนั หลังโดยใชล้ ักษณะ
ใช้ลักษณะเฉพาะที่ สงั เกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์ เฉพาะทีส่ ังเกตได้เปน็ เฉพาะท่สี ังเกตไดเ้ ปน็
สังเกตไดเ้ ป็นเกณฑ์ ออกเปน็ 5 กลมุ่ ไดอ้ ยา่ ง เกณฑ์ออกเปน็ 5 กลมุ่ เกณฑ์ออกเป็น 5 กลุม่
จะจำแนกสตั ว์ ถกู ต้อง ดว้ ยตนเอง ได้อย่างถกู ต้อง จาก ไดถ้ ูกต้องบางส่วน
ออกเป็น 5 กล่มุ การช้ีแนะของครูหรือ แม้ว่าจะไดร้ บั คำชแ้ี นะ
ผอู้ นื่ จากครูหรือผู้อน่ื

เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนนตั้งแตร่ ้อยละ 70 ขนึ้ ไป (3 คะแนนขน้ึ ไป)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
ความมุ่งมน่ั ในการทำงาน

พฤติกรรมบ่งชี้ ไม่ผ่าน (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
เอาใจใสต่ ่อการ
1. เอาใจใสต่ ่อการปฏิบตั ิหน้าทท่ี ่ี ไม่ต้งั ใจปฏิบัติ ปฏบิ ัติหนา้ ที่ท่ี ต้ังใจและ ตง้ั ใจและ
ไดร้ บั มอบหมาย
ไดร้ บั มอบหมาย หน้าทกี่ ารงาน รบั ผดิ ชอบหน้าที่ รับผดิ ชอบหน้าท่ี

2. ตงั้ ใจและรบั ผิดชอบในการ ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย ท่ไี ดร้ ับมอบหมาย

ทำงานใหส้ ำเรจ็ ใหส้ ำเรจ็ ให้สำเร็จมีการ

3. ปรบั ปรุงและพฒั นาการ ปรบั ปรงุ การ

ทำงานด้วยตนเอง ทำงานให้ดีข้นึ

เกณฑ์การผ่าน ไดค้ ะแนนต้ังแต่รอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป (2 คะแนนขน้ึ ไป)

แบบบนั ทกึ ผลการประเมินสมรรถนะสำคญั

หน่วยยอ่ ยที่ ๓ เร่อื ง เราจำแนกสตั ว์มกี ระดูกสันหลงั ได้อย่างไร

เลขท่ี ความสามารถในการคิด รอ้ ยละ 70 ผลการประเมนิ

คะแนน ผา่ น ไมผ่ า่ น
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑก์ ารผา่ น ไดค้ ะแนนต้งั แต่ร้อยละ 70 ข้ึนไป

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั
ตวามสามารถในการคดิ

พฤติกรรมบ่งชี้ ปรบั ปรงุ (0) พอใช้ (1) ดี (2) ดเี ย่ียม (3)
จำแนกข้อมูลจดั มพี ฤติกรรมบ่งชี้ ๑ มีพฤติกรรมบง่ ชี้ ๒ มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ ๓ มพี ฤติกรรมบ่งช้ี ดังนี้
หมวดหมู่ จดั ลำดับ หรือไม่มีเลย พฤติกรรม พฤติกรรม ๑. จำแนกข้อมูลได้
ความสำคญั ของ ๒. จัดหมวดหมขู่ ้อมูล
ข้อมลู และ ได้
เปรียบเทยี บใน ๓. จัดลำดบั
บรบิ ทท่ีเป็นสงิ่ ใกล้ ความสำคญั ของ
ตวั ขอ้ มูลได้
๔. เปรียบเทยี บ
ขอ้ มูลได้

เกณฑก์ ารผ่าน ไดค้ ะแนนต้งั แต่ร้อยละ 70 ข้นึ ไป (2 คะแนนขึน้ ไป)

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๔

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี ๒ เรอ่ื ง สงิ่ มีชวี ติ รอบตวั เวลา ๑๐ช่ัวโมง
หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ เรื่อง เราจำแนกพืชไดอ้ ย่างไร จำนวน 2 ช่วั โมง

สอนวนั ที่ ...... เดือน............. พ.ศ. ......... ผสู้ อน ......................................

สาระสำคัญ

ถา้ ใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกพืชได้เปน็ พืชดอกและพืชไม่มีดอก

มาตรฐาน
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมท่มี ีผลตอ่ สง่ิ มชี ีวิต ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและววิ ัฒนาการของ
สง่ิ มชี ีวิต รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชีว้ ดั
ป.4/๒ จำแนกพืชออกเป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอกโดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์โดยใช้ข้อมูล ที่

รวบรวมได้

สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคดิ

คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มวี นิ ยั

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้
1. สงั เกต สืบค้นข้อมูลและบอกสว่ นต่าง ๆ ของพชื (K)
2. จำแนกพชื ออกเป็นกลุม่ โดยใช้การมดี อกเป็นเกณฑ์ (K)
๓. ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P)
๔. มีวนิ ยั (A)

สาระการเรยี นรู้
การจำแนกพืช สามารถใช้การมดี อกเป็นเกณฑ์ ในการจำแนก ได้เป็นพชื ดอกและพชื ไม่มีดอก

กิจกรรมการเรยี นรู้ (กระบวนการสืบเสาะหาความร)ู้
1. ขนั้ สร้างความสนใจ

1. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการจัดกลุ่มส่งิ มีชวี ิต โดยใช้คำถามวา่ ส่งิ มีชีวิตรอบตัวเราสามารถ
จำแนกตามเกณฑ์การเคล่ือนที่และการสร้างอาหารได้เปน็ ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง (3 กล่มุ คือ กลุม่ พชื กลุ่มสัตว์ และ
กลุม่ ท่ีไมใ่ ช่พชื และสตั ว์)

2. ครูทบทวนความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของพืช โดยนำภาพพืช จำนวน 4 ชนิด ติดไว้บน
กระดาน (เลือกพืชทั้งมีดอกและไม่มีดอก เช่น เฟิน กุหลาบที่มีดอก ตะไคร้ มะม่วงที่มีทั้งดอกและผล) บัตรคำ
ชอ่ื สว่ นตา่ ง ๆ ของพืช เพ่ือให้นักเรียนนำบตั รคำไปติดลงบนภาพพชื จากน้ันอาจใช้แนวคำถามดงั ตอ่ ไปนี้

2.1 พชื แต่ละชนดิ มีสว่ นประกอบอะไรบ้าง (ราก ลำตน้ ใบ ดอก ผล)
2.2 พืชทั้ง 4 ชนิดนี้ มีส่วนต่าง ๆ ครบทุกส่วนหรือไม่ (คำตอบขึ้นอยู่กับภาพพืชที่นักเรียน
สังเกต เช่น
- เฟนิ มีสว่ นประกอบไมค่ รบ คอื ไมม่ ีดอก และผล
- กุหลาบ มีส่วนประกอบไมค่ รบ คือ ไมม่ ีผล
- ตะไคร้ มสี ว่ นประกอบไมค่ รบ คอื ไมม่ ีดอก และผล
- มะมว่ ง มีส่วนประกอบครบ
3. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการจัดกลุ่มพืช โดยใช้คำถามว่าถ้าต้องการจำแนกพืช 4 ชนิดน้ี
ออกเป็นกลุ่มจะจำแนกได้กี่กลุ่ม อะไรบ้าง และใช้เกณฑ์ใดในการจำแนก (นักเรียนตอบไดต้ ามความเข้าใจของ
ตนเอง) ครสู งั เกตคำตอบของนกั เรียนและชักชวนนกั เรยี นทำกิจกรรมการจัดกลมุ่ พืช
4. ครูเช่อื มโยงความรู้เดิมของนักเรียนเข้าสู่กิจกรรม โดยชักชวนให้นักเรียนรว่ มกันสังเกตลักษณะและ
สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื แล้วคิดเกณฑข์ องตนเอง และใชเ้ กณฑเ์ หมอื นนกั วทิ ยาศาสตร์ในการจำแนกพชื

2. ข้ันสำรวจและค้นหา
๑. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทำเป็นคิดเป็น โดยร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

จดุ ประสงคใ์ นการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดังน้ี โดยครูอาจช่วยเขียนสรปุ เปน็ ขั้นตอนสน้ั ๆ บนกระดาน
๑.1 กิจกรรมน้ีนักเรยี นจะไดเ้ รียนเรื่องอะไร (การจดั กล่มุ พืช)
๑.2 นักเรยี นจะไดเ้ รียนรู้เร่ืองนดี้ ้วยวิธใี ด (การสังเกตและสืบค้นขอ้ มูล)
๑.3 เม่ือเรยี นแลว้ นักเรียนจะทำอะไรได้ (จำแนกพืชโดยใช้การมีดอกเปน็ เกณฑ)์

๒. นกั เรยี นบนั ทกึ จุดประสงคล์ งในแบบบนั ทึกกจิ กรรม และ อ่านสง่ิ ที่ตอ้ งใช้ในการทำกิจกรรม
๒. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร โดยฝกึ อา่ นตามความเหมาะสม ครนู ำอภิปรายเพ่อื สรุปลำดับขั้นตอน โดย
ใช้คำถามต่อไปน้ี

๒.1 นกั เรียนตอ้ งสังเกตอะไร (สังเกตสว่ นตา่ ง ๆ ของพืชที่อยูใ่ นท้องถ่ิน)
๒.2 หลังจากสังเกตส่วนต่าง ๆ ของพืชแล้ว นักเรียนต้องทำอะไรต่อ (ออกแบบตารางบันทึก
ผล และบันทกึ ผล)
๒.3 ตารางบันทึกผลของนักเรียน ต้องมีข้อความใดบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจของ
ตนเอง)

ครูควรแนะนำให้นกั เรยี นทกุ กลุ่มบันทกึ เกีย่ วกบั สว่ นตา่ ง ๆ ของพชื และลกั ษณะของแตล่ ะสว่ น เชน่

ช่ือพชื ส่วนตา่ ง ๆ ของพืช

ราก ลำต้น ใบ ดอก ผล

๒.4 นักเรียนต้องสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกบั อะไร และต้องทำอย่างไรกับข้อมูลท่ี สืบค้นได้ (สืบค้น
ข้อมูลเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของพืชท่สี ังเกต แล้วบันทกึ เพมิ่ เติมลงในตาราง)

๓. เมอ่ื นกั เรียนเข้าใจวธิ ีการทำกิจกรรมในทำอยา่ งไรแล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติตามขนั้ ตอน ดังนี้
๓.1 สังเกตส่วนต่าง ๆ ของพืช 1 ชนดิ ออกแบบตารางและบันทกึ ผล

ครูเตรยี มพชื ให้นักเรียนกลมุ่ ละ 1 ชนิด แตล่ ะกลุ่มตอ้ งได้พืชไม่ซำ้ กัน และต้องมีทง้ั พชื ทม่ี ดี อกและไมม่ ดี อก
๓.2 สืบค้นข้อมลู เกีย่ วกบั ส่วนตา่ ง ๆ ของพืชทีส่ ังเกต แล้วบันทกึ เพม่ิ เติมลงในตาราง

หากครูพบว่าข้อมูลที่นักเรียนได้สืบค้นขอ้ มูลมายังไม่ถูกต้อง ครบถ้วน ให้ครูแก้ไขก่อนการนำเสนอ โดยเฉพาะ
ขอ้ มูลเรอื่ งการมดี อกของพชื

๓.3 บันทึกขอ้ มูลทเ่ี พ่อื นนำเสนอเพ่มิ เติมลงในตารางของกลมุ่ ตนเอง
๓.4 ลงความเหน็ รว่ มกนั เกี่ยวกบั ส่วนต่าง ๆ ของพชื แต่ละชนิด
๓.5 ร่วมกนั อภิปราย และกำหนดเกณฑใ์ นการจำแนกพืช และจำแนกพชื ตามเกณฑท์ ี่กำหนด
๓.6 นำเสนอผลการจำแนกพืชตามเกณฑ์ของกลุ่ม
๓.7 จำแนกพืชตามเกณฑก์ ารมีดอกและนำเสนอผลการจำแนกในรูปแบบท่ีนา่ สนใจ
๓.8 รว่ มกันสรุปผลการจำแนกพืชโดยใชก้ ารมดี อกเป็นเกณฑ์

3. ขน้ั อธิบายและลงขอ้ สรุป
๑. หลงั จากทำกจิ กรรมแล้ว ครูนำอภปิ รายผลการทำกิจกรรม โดยใชค้ ำถามดังน้ี
๑.1 พืชทน่ี กั เรยี นสงั เกตมลี กั ษณะเหมือนหรือแตกตา่ งกัน อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามข้อมูลท่ี

ค้นพบได้จริง เชน่ พืชทุกชนิดมสี ว่ นต่าง ๆเหมือนกนั แตม่ ีลักษณะของส่วนต่าง ๆ แตกตา่ งกนั เช่น ใบพืช บาง
ชนิดมีเส้นใบเป็นร่างแห บางชนิดมีเส้นใบไม่เป็นร่างแหและพืช บางชนิดมีผล บางชนิดไม่มีผล พืชบางชนิดต้น
ใหญ่ บางชนิดต้นเลก็ )

๑.2 นักเรียนใช้เกณฑ์ใดบ้างในการจัดกลุ่มพืช (เช่น ลักษณะของเส้นใบ การมีผล การมีดอก
หรือ ลกั ษณะของใบ ขนาดของต้น)

๑.3 เกณฑ์ต่าง ๆ ที่นักเรียนกำหนดขึ้นสามารถจำแนกพืชออกเป็นกลุ่มได้เหมือนหรือ
แตกต่างกัน เพราะเหตุใด (แตกต่างกัน เพราะเมื่อใช้เกณฑ์ที่ต่างกัน ทำให้จำแนกพืชออกเป็นกลุ่มได้แตกต่าง
กนั )

๑.4 เมื่อใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจัดกลุ่มพืชได้เปน็ กีก่ ลุ่มอะไรบา้ ง (เมื่อใช้การมีดอกเปน็
เกณฑ์ จะจัดกลุ่มพืชไดเ้ ป็น 2 กลุ่ม คอื กลุม่ พชื ดอก และกลมุ่ พชื ไม่มดี อก)

๒. ครูอาจยกตัวอย่างชื่อพืชไม่มีดอกอื่น ๆ ที่นอกเหนือจากกิจกรรมเพื่อเป็นการเพิ่มข้อมูลให้แก่
นกั เรียน ไดร้ จู้ ักพืชทีห่ ลากหลายขึน้

๓. ร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปวา่ พชื แต่ละชนิดมสี ว่ นประกอบบางอยา่ งท่ีเหมือนกนั และบางอย่างที่
แตกต่างกัน เราสามารถนำลักษณะเหล่านี้มาใช้เป็นเกณฑ์ในการจำแนกกลุ่มพืชได้ ซึ่งหากใช้การมีดอกเป็น
เกณฑ์ จะจำแนกพชื ไดเ้ ปน็ พชื ดอกและพืชไม่มีดอก

๔. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจเพิ่มเติม คำถามในการอภิปรายเพื่อให้ได้
แนวคำตอบท่ถี กู ตอ้ ง

๕. ให้นักเรยี นสรปุ สิง่ ท่ีไดเ้ รียนรู้ในกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียนอา่ น สิ่งที่ไดเ้ รียนรู้ และเปรียบเทียบกบั
ข้อสรุปของตนเอง

18. นักเรียนร่วมกันอ่านรู้อะไร ครูนำอภิปรายเพื่อสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในเรื่องนี้ จากนั้นครูกระตุ้นให้
นักเรียนตอบคำถามในช่วงท้ายของเนื้อเรื่อง ดังนี้ “ถ้าจำแนกสิ่งมีชีวิตรอบตัวออกเป็นกลุ่ม จะจัดได้กี่กลุ่ม
อะไรบ้าง ใช้เกณฑ์อะไรในการจัดกลุ่ม” ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแนวทางการตอบคำถาม เช่น ถ้าจัด
ตามเกณฑ์การเคลื่อนที่ การสร้างอาหาร จะจัดออกได้เป็นกลุ่มสัตว์ กลุ่มพืช กลุ่มที่ไม่ใช่สัตว์และพืช สำหรับ
กลุ่มสัตว์สามารถใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลังจำแนกสัตว์ออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่มีกระดูกสันหลัง และ
กลุ่มที่ไม่มีกระดูกสันหลัง นอกจากนี้ยังใช้เกณฑ์การเคลื่อนที่ การมีลูก ลักษณะของผิวหนัง การเลี้ยงลูกด้วย
น้ำนม จำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกได้เป็น 5 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์สะเทินน้ำสะเทินบก กลุ่ม
สัตว์เลื้อยคลานกลุ่มสัตว์ปีก และกลุ่มสัตว์เลี้ยงลูกด้วยน้ำนม ส่วนพืชถ้าใช้เกณฑ์การมีดอกจะจำแนกกลุ่มพืช

ออกได้เป็น 2 กลุ่ม คือ พืชมีดอกและพืชไม่มีดอก ครูควรเน้นให้นักเรียนตอบคำถามพร้อมอธิบายเหตุผล
ประกอบ

แนวคำตอบในแบบกิจกรรม

กจิ กรรมที่ 1.4 เราจำแนกพืชไดอ้ ย่างไร

จุดประสงค์ของกิจกรรม

กจิ กรรมน้ีเพือ่

1.สงั เกต สืบค้นข้อมลู และบอกสว่ นต่าง ๆ ของพืช

2.จำแนกพชื ออกเป็นกลมุ่ โดยใช้การมดี อกเป็นเกณฑ์

บันทกึ ผลการทำกจิ กรรม

ผลการสังเกตและสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับส่วนต่าง ๆ ของพืช ตาราง ส่วนต่าง ๆ ของพืชที่ได้จากการสังเกตและ

การสบื ค้นข้อมูล

ช่ือพชื ราก ส่วนตา่ ง ๆ ของพชื ดอก ผล
ลำต้น ใบ

มะพร้าว มรี ากจำนวนมาก สำต้นตรงและ มีแกนกลางยาว มีดอกเป็นช่อ ม ี ผ ล จ ำ น ว น

สูงเปน็ ข้อปล้อง และมีใบย่อย ๆ ม า ก ใ น ช่ อ

เรียวยาว เรียกว่าทะลาย

คำตอบขนึ้ อยูก่ บั การทำกิจกรรมของนกั เรียน เช่น ผลการจำแนกพชื ตามเกณฑ์ทีก่ ลมุ่ กำหนด

เกณฑท์ ่ีใช้ในการจำแนกพืช คอื การมผี ล

จัดกลมุ่ พชื ได้ 2 กลุ่ม

ลักษณะของพืชกลุ่มท่ี 1 คอื มีผล

พืชในกลมุ่ ท่ี 1 ไดแ้ ก่ มะพรา้ ว สนสองใบ ปรง เข็ม กหุ ลาบ ลำไย

ลกั ษณะของพชื กลุ่มท่ี 2 คือ ไม่มผี ล

พืชในกลุ่มที่ 2 ไดแ้ ก่ มอส เฟิน

ผลการจำแนกพชื ตามเกณฑ์การมดี อก
จดั กลุ่มพืชได้ 2 กลุ่ม
ลกั ษณะของพืชกลมุ่ ที่ 1 คือ มีดอก
พืชในกลุ่มที่ 1 ไดแ้ ก่ มะพร้าว เขม็ กหุ ลาบ ลำไย
ลักษณะของพชื กลุม่ ที่ 2 คือ ไมม่ ีดอก
พืชในกลุ่มที่ 2 ได้แก่ มอส เฟนิ ปรง สนสองใบ

ฉนั รู้อะไร
1. ส่วนต่าง ๆ ของพืชทพี่ บในพืชทุกชนดิ มีอะไรบา้ ง

ราก ลำตน้ ใบ (พืชบางชนดิ ไม่มรี ากที่แท้จริง แตม่ สี ่วนท่ีคล้ายรากและทำหนา้ ท่เี หมือน
ราก เรียกว่ารากเทียม)
2. สว่ นใดของพืชท่ีพชื อาจมแี ตกต่างกัน

ดอกและผล
3. ผลการจำแนกพืชโดยใชเ้ กณฑท์ ีก่ ล่มุ กำหนดและใช้เกณฑ์การมดี อก เหมอื นหรอื แตกตา่ งกนั
อยา่ งไร

คำตอบขน้ึ อยกู่ ับการทำกิจกรรมของนักเรียน เชน่ เหมือนกันเพราะกลุ่มกำหนด เกณฑก์ ารมดี อก หรือ
แตกต่างกัน เพราะบางกลุ่มใชเ้ กณฑ์ลักษณะของเสน้ ใบ ทำให้จำแนกพชื ออกเป็นกลมุ่ ไดแ้ ตกตา่ งกนั และชอื่ พืช
ในกลุ่มที่จำแนกก็ แตกต่างกันด้วย 4. จากกิจกรรมนี้ ค้นพบอะไรบ้างเกี่ยวกับการจำแนกพืช
พืชแต่ละชนดิ มีสว่ นต่าง ๆ ที่เหมือนกันและ บางส่วนทีแ่ ตกต่างกัน สามารถนำลักษณะ เหล่านี้มาใช้เป็นเกณฑ์
ในการจำแนกพชื ออกเป็นกลมุ่ ได้ ซ่ึงถ้าใชก้ ารมีดอกเป็นเกณฑ์ จะจำแนกพืชได้เป็นกลุ่มพชื มดี อกและ กลุ่มพืช
ไม่มดี อก
5. จากสงิ่ ที่คน้ พบ สรปุ ได้วา่ อยา่ งไร

ถา้ ใช้การมดี อกเปน็ เกณฑ์ จะจำแนกพชื ได้เปน็ พชื ดอกและพืชไม่มีดอก

4. ข้ันขยายความรู้
๑. ครูนำประเด็นเรื่องการจำแนกพืช เช่น นักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์ใดอีกบ้างในการจำแนกพืชดอก

ออกเปน็ กลุ่ม ๆ

5. ข้นั ประเมิน
๑. ครปู ระเมนิ นักเรยี นดา้ นความรู้ โดยตรวจใบงาน จากกจิ กรรม
๒. ครูประเมนิ นักเรยี นดา้ นทักษะกระบวนการ
๓. ครูประเมินนักเรยี นด้านคุณลักษณะโดยใช้แบบประเมินความมีวนิ ัย

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แบบบนั ทกึ กิจกรม รายวชิ าพ้นื ฐานวิทยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1
- หนังสอื เรียนวิทยาศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1

การวัดและประเมินผล

จุดประสงค์การเรยี นรู้ วิธีการวดั เครื่องมอื ที่ใช้วัด เกณฑ์ในการวดั
- แบบประเมนิ ใบกิจกรรม
ดา้ นความรู้ - ตรวจใบกจิ กรรม เร่อื ง คะแนนร้อยละ
70 ขึน้ ไปผา่ น
สังเกต สืบค้นข้อมูลและ เราจำแนกพชื ได้อย่างไร

บอกส่วนต่าง ๆ ของพืช

(K)

จำแนกพืชออกเป็นกลุ่ม

โดยใช้การมีดอกเป็น

เกณฑ์ (K)

ดา้ นทักษะกระบวนการ -สังเกตทักษะกระบวนการ - แบบประเมิน ท ั ก ษ ะ

ทักษะกระบวนการทาง ทางวิทยาศาสตร์ กระบวนการทาง

วิทยาศาสตร์ (P) วทิ ยาศาสตร์

ด้านคณุ ลกั ษณะ - สังเกตความมวี นิ ยั - แบบประเมินความมวี นิ ยั
มวี นิ ัย (A)

ความคิดเห็นผูบ้ รหิ าร / ผ้ทู ่ไี ดร้ บั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ แลว้
๑. เปน็ แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่

o ดีมาก
o ดี
o พอใช้
o ควรปรับปรงุ

๒. การจัดกจิ กรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้

o เน้นผู้เรียนเปน็ สำคญั ใชก้ ระบวนการ Active Leaning ไดอ้ ย่างเหมาะสมกัผู้เรียน
o ยังไมเ่ น้นผูเ้ รยี นเป็นสำคญั ควรปรบั ปรงุ พัฒนาต่อไป

๓. เปน็ แผนการจดั การเรียนรูท้ ี่

o นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ
o ควรปรับปรุงกอ่ นนำไปใช้

๔. ข้อเสนอแนะอน่ื
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ.............................................................
(......................................................................)
ตำแหน่ง......................................................................

บนั ทึกผลการจดั การเรียนรู้
หนว่ ยย่อยท่ี ๔ เร่ือง เราจำแนกพืชไดอ้ ยา่ งไร

ผลการเรยี นรู้ นกั เรียนทง้ั หมด ............. คน มผี ลการเรยี นเปน็ ดังนี้

ดา้ นความรู้
1. สังเกต สืบค้นขอ้ มลู และบอกส่วนตา่ ง ๆ ของพืช (K)

จำนวนนักเรยี นทผี่ า่ นเกณฑ์จำนวน ..................คน คิดเป็นร้อยละ .................................
จำนวนนกั เรยี นทไี่ ม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ................................

๒.จำแนกพชื ออกเป็นกลุ่ม โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ์ (K)
จำนวนนักเรียนทผ่ี า่ นเกณฑ์จำนวน ..................คน คดิ เป็นร้อยละ .................................
จำนวนนักเรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ................................

ด้านทกั ษะกระบวนการ
๓. ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ (P)

จำนวนนักเรยี นทีผ่ ่านเกณฑ์จำนวน ..................คน คิดเป็นร้อยละ .................................
จำนวนนักเรียนที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ ................................

ดา้ นคุณลกั ษณะ
๔. มวี นิ ยั (A)

จำนวนนักเรยี นที่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คิดเป็นรอ้ ยละ .................................
จำนวนนักเรียนทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ................................

สรุปภาพรวมตามจุดประสงค์การเรียนท้ัง 3 ดา้ น
จำนวนนกั เรียนทีผ่ า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ .................................
จำนวนนักเรียนที่ไมผ่ า่ นเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ................................

บันทึกพฤติกรรมนกั เรียน
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

แนวทางแกไ้ ขและผลการแก้ไข
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ลงช่อื ..................................................ผู้สอน
(.....................................................................)
.................../.........................../....................

แบบบันทึกผลการผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ รอ้ ยละ ผลการประเมิน
หน่วยยอ่ ยที่ ๔ เร่อื ง เราจำแนกพืชได้อย่างไร 70 ผา่ น ไม่ผา่ น
เลขท่ี จุดประสงค์ จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ รวม ผา่ น
ขอ้ ท่ี 1 ขอ้ ท่ี ๒ ขอ้ ที่ ๓ ขอ้ ท่ี ๔

คะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 70 ขึ้นไป

เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านความรู้

หน่วยยอ่ ยท่ี ๔ เรอ่ื ง เราจำแนกพืชไดอ้ ย่างไร

ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคะแนน 1
2

การบรรยาย รายละเอยี ด สามารถใช้ประสาทสมั ผสั สามารถใช้ประสาท สามารถใชป้ ระสาท

เกย่ี วกบั ลักษณะสว่ นตา่ ง ๆ เกบ็ รายละเอียดข้อมลู และ สัมผสั เก็บรายละเอยี ด สมั ผัสเก็บรายละเอียด

ของพชื บรรยายเก่ียวกบั ลกั ษณะ ขอ้ มูลและบรรยาย ขอ้ มลู และบรรยาย

สว่ นตา่ ง ๆ ของพืช ได้ด้วย เก่ียวกับลกั ษณะสว่ นตา่ ง เกย่ี วกับลกั ษณะของ

ตนเอง โดยไมเ่ พมิ่ เตมิ ๆ ของพืช จากการช้แี นะ สว่ น ตา่ ง ๆ ของพืชได้

ความคดิ เห็น ของครหู รอื ผอู้ ่นื หรือมี บางสว่ น แมว้ า่ จะได้

การเพ่ิมเติมความคดิ เห็น รบั คำช้ีแนะจากครหู รอื

ผู้อนื่

การจำแนกพืช โดยใช้เกณฑ์ สามารถจำแนกพืช โดยใช้ สามารถจำแนกพชื โดย สามารถจำแนกพชื โดย

ทกี่ ลุม่ กำหนดและเกณฑ์การ เกณฑ์ทก่ี ลมุ่ กำหนดและ ใชเ้ กณฑ์ท่ีกลมุ่ กำหนด ใช้เกณฑ์ทกี่ ลุ่มกำหนด

มีดอกออกเป็นกลุ่มพชื ดอก เกณฑ์การมดี อกออกเปน็ และเกณฑ์การมีดอก และเกณฑ์การมดี อก

และกลมุ่ พชื ไม่มดี อก กลุ่มพชื ดอกและกล่มุ พืช ออกเปน็ กลมุ่ พืชดอก ออกเปน็ กล่มุ พชื ดอก

ไม่มดี อก ไดถ้ ูกต้องตาม และกลมุ่ พืชไม่มดี อก ได้ และกลุม่ พชื ไม่มดี อกได้

เกณฑ์ท่ีกำหนด ด้วย อย่างถูกต้อง จากการ ถูกต้องบางส่วน แม้ว่าจะ

ตนเอง ชี้แนะของครหู รือผูอ้ ่นื ได้รับคำช้ีแนะจากครู

หรอื ผอู้ ่ืน

เกณฑก์ ารผา่ น ไดค้ ะแนนตง้ั แต่รอ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป (3 คะแนนขึ้นไป)

เกณฑ์การให้คะแนนดา้ นทักษะกระบวนการ
หนว่ ยย่อยท่ี ๔ เรือ่ ง เราจำแนกพืชไดอ้ ย่างไร

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2)

การจัดกระทำและ การนำข้อมลู ท่ีได้ สามารถนำข้อมลู ท่ีได้ สามารถนำข้อมลู ท่ีได้ สามารถนำข้อมูลที่ได้

สอื่ ความหมาย จากการสงั เกตและ จากการสงั เกตและการ จากการสงั เกตและการ จากการสังเกตและการ

ข้อมลู การสบื ค้นข้อมูล สืบค้นข้อมูลเกยี่ วกับ สืบค้นข้อมลู เกย่ี วกบั สืบคน้ ข้อมลู เกีย่ วกบั

เกยี่ วกบั ลักษณะ ลักษณะของพืช มา ลกั ษณะของพชื มา ลกั ษณะของพืช มา

ของพชื มาจำแนก จำแนกพชื ออกเปน็ พืช จำแนกพชื ออกเป็นพชื จำแนกพืชออกเป็นพชื

พชื ออกเป็นพืชดอก ดอก และพชื ไมม่ ีดอก ดอก และพชื ไมม่ ดี อก ดอก และพืชไม่มดี อก

และพชื ไม่มีดอก และนำผลการจำแนกมา และนำผลการจำแนก และนำผลการจำแนก

และนำผลการ จัดกระทำในรูปแบบต่าง มาจัดกระทำในรูปแบบ มาจัดกระทำในรปู แบบ

จำแนกมาจัด ๆ และส่อื ใหผ้ ู้อื่นเข้าใจ ต่าง ๆ และส่ือใหผ้ ู้อน่ื ต่าง ๆ และสือ่ ใหผ้ ้อู นื่

กระทำในรปู แบบ ผลการจำแนกพชื ได้ เขา้ ใจผลการจำแนก เข้าใจผลการจำแนก

ตา่ ง ๆ และสอื่ ให้ ด้วยตนเอง พชื ได้ จากการช้ีแนะ พชื ได้บางสว่ น แม้วา่

ผู้อ่ืนเขา้ ใจผลการ ของครหู รอื ผู้อ่ืน จะได้รับคำชแ้ี นะจาก

จำแนกพชื ครหู รือผู้อนื่

การลงความเห็น การลงความเห็น สามารถลงความเห็น สามารถลงความเหน็ สามารถลงความเหน็

จากข้อมลู จากข้อมูลว่า จากข้อมลู ไดว้ า่ สามารถ จากข้อมูลได้ว่า จากข้อมลู ได้ว่า

สามารถจำแนกพืช จำแนกพืช โดยใชเ้ กณฑ์ สามารถจำแนกพืช สามารถจำแนกพืช

โดยใชเ้ กณฑ์การมี การมดี อกออกเป็นกลุ่ม โดยใช้เกณฑ์การมีดอก โดยใชเ้ กณฑ์การมีดอก

ดอกออกเป็นกลุ่ม พืชดอกและกลมุ่ พชื ไมม่ ี ออกเปน็ กลุม่ พชื ดอก ออกเปน็ กลมุ่ พืชดอก

พืชดอกและกลมุ่ พชื ดอกไดอ้ ย่างถูกต้องและ และกล่มุ พชื ไม่มีดอกได้ และกล่มุ พชื ไม่มดี อกได้

ไมม่ ีดอก ชดั เจน ดว้ ยตนเอง อยา่ งถูกต้องและ ถกู ต้องบางส่วน แม้ว่า

ชดั เจน จากการชแี้ นะ จะไดร้ ับคำช้แี นะจาก

ของครูหรอื ผอู้ นื่ ครหู รือผู้อ่ืน

การตีความหมาย การตีความหมาย สามารถตคี วามหมาย สามารถตีความหมาย สามารถตีความหมาย

ข้อมูลและลง ข้อมูลจากการ ขอ้ มลู จากการสังเกต ขอ้ มูลจากการสังเกต ขอ้ มลู จากการสงั เกต
ขอ้ สรุป สังเกตและการ และการสืบค้นข้อมูลได้ และการสบื คน้ ข้อมลู ได้
สืบคน้ ข้อมลู ไดว้ า่ ว่าพืชมที ้ังพืชทม่ี ีดอก ว่าพชื มที ้งั พืชทีม่ ีดอก และการสบื คน้ ขอ้ มลู

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ และไม่มดี อก และลง พอใช้ (2) ไดว้ ่าพืชมีทงั้ พืชท่ีมี
ขอ้ สรุปได้ว่าสามารถ ดอกและไมม่ ดี อก
พชื มีทง้ั พชื ทม่ี ีดอก จำแนกพชื โดยใชก้ ารมี และไม่มีดอก และลง และลงขอ้ สรุปไดว้ า่
ดอกเปน็ เกณฑ์ออกได้ ขอ้ สรปุ ไดว้ ่าสามารถ สามารถจาแนกพชื
และไมม่ ีดอก และ เป็นกลุ่มพืชดอกและ จำแนกพืชโดยใชก้ ารมี โดยใชก้ ารมีดอกเป็น
กลมุ่ พชื ไมม่ ีดอก ดว้ ย ดอกเปน็ เกณฑ์ออกได้ เกณฑอ์ อกไดเ้ ป็นกลมุ่
ลงขอ้ สรุปไดว้ า่ ตนเอง เปน็ กลุ่มพืชดอกและ พชื ดอกและกลมุ่ พืช
กลุ่มพชื ไม่มีดอก จาก
สามารถจำแนกพืช การช้แี นะของครูหรือ
ผูอ้ ื่น
โดยใชก้ ารมดี อก

เปน็ เกณฑอ์ อกได้

เปน็ กลุ่มพชื ดอก

และกลุ่มพืชไม่มี

ดอก ไม่มีดอกไดบ้ างสว่ น

แมว้ า่ จะไดร้ บั คา

ชแี้ นะจากครูหรือผอู้ ่นื

เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนนต้ังแตร่ ้อยละ 70 ขึ้นไป (3 คะแนนขน้ึ ไป)

เกณฑ์การให้คะแนนแบบประเมนิ คุณลกั ษณะ
มีวนิ ัย

พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผ่าน (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดีเยยี่ ม (3)
ปฏบิ ัตติ นตาม ปฏิบัตติ นตาม ปฏบิ ตั ติ นตาม
๑. ปฏบิ ัตติ น ตาม ไม่ปฏิบัติตนตาม ขอ้ ตกลง ข้อตกลง ข้อตกลง
กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์ กฎเกณฑ์
ข้อตกลง ไม่ละเมิด ขอ้ ตกลง ระเบยี บ ระเบียบ ระเบยี บ
ขอ้ บังคับ แตต่ ้อง ข้อบังคับ แตต่ ้อง ขอ้ บงั คบั และ
สทิ ธิของผ้อู ่นื กฎเกณฑ์ มีการเตือนเปน็ มกี ารเตือนเป็น รบั ผิดชอบในการ
สว่ นใหญ่ บางครั้ง ทำงานได้ดว้ ย
๒. ตรงต่อเวลาในการ ระเบียบ ตนเอง
ปฏบิ ัติกจิ กรรมตา่ ง ๆ ข้อบังคบั

ในชวี ติ ประจำวนั และ

รบั ผดิ ชอบในการ

ทำงาน

เกณฑ์การผ่าน ได้คะแนนตงั้ แต่รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป (2 คะแนนขึ้นไป)

แบบบนั ทึกผลการประเมนิ สมรรถนะสำคัญ

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๔ เรอ่ื ง เราจำแนกพืชไดอ้ ย่างไร

เลขท่ี ความสามารถในการคดิ ร้อยละ 70 ผลการประเมนิ
ผา่ น ไม่ผา่ น
คะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑ์การผ่าน ไดค้ ะแนนตง้ั แตร่ ้อยละ 70 ขึ้นไป

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั
ตวามสามารถในการคดิ

พฤติกรรมบ่งชี้ ปรบั ปรงุ (0) พอใช้ (1) ดี (2) ดเี ย่ียม (3)
จำแนกข้อมูลจดั มพี ฤติกรรมบ่งชี้ ๑ มีพฤติกรรมบง่ ชี้ ๒ มพี ฤติกรรมบง่ ชี้ ๓ มพี ฤติกรรมบ่งช้ี ดังนี้
หมวดหมู่ จดั ลำดับ หรือไม่มีเลย พฤติกรรม พฤติกรรม ๑. จำแนกข้อมูลได้
ความสำคญั ของ ๒. จดั หมวดหมขู่ ้อมูล
ข้อมลู และ ได้
เปรียบเทยี บใน ๓. จดั ลำดบั
บรบิ ทท่ีเป็นสงิ่ ใกล้ ความสำคญั ของ
ตวั ขอ้ มูลได้
๔. เปรียบเทียบ
ขอ้ มูลได้

เกณฑก์ ารผ่าน ไดค้ ะแนนต้งั แต่ร้อยละ 70 ข้นึ ไป (2 คะแนนขึน้ ไป)


Click to View FlipBook Version