The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตรอบตัว

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuyui_12, 2022-04-15 20:16:17

ตัวอย่างแผนการสอน

หน่วยที่ 2 สิ่งมีชีวิตรอบตัว

รายวชิ าวิทยาศาสตร์ 4 ว 14101 โครงสรา้ งหนว่ ยการเรียนรู้
ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
เวลา 80 ชว่ั โมง

หน่วยที่ ช่อื หน่วยการเรียนรู้ เวลา (ช่ัวโมง) น้ำหนักคะแนน
8 10
ปฐมนิเทศ (การเรยี นรู้แบบนักวทิ ยาศาสตร)์ 65
1 สว่ นตา่ งๆ ของพชื ดอก ๘ 10
2 ส่ิงมีชีวติ รอบตัว 85
3 มวลและนำ้ หนัก 65
4 ตัวกลางแสง 12 10
5 วสั ดุและสสาร 10 10
6 สถานะของสสาร 85
7 ดวงจันทรข์ องเรา 8 10
8 ระบบสุริยะของเรา 76 70
2 15
รวมระหวา่ งปี
2 15
สรุปทบทวนภาพรวม (ทดสอบกลางปี)
80 100
สรปุ ทบทวนภาพรวม (ทดสอบปลายปี)

รวมท้ังส้นิ ตลอดปี

หมายเหตุ อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งเรียนท่ี 1 : การสอบกลางปี 35 : 15
อัตราสว่ นคะแนนระหวา่ งเรียนท่ี 1 : การสอบกลางปี 35 : 15

แบบบันทึกผลการจดั ทำโครงสร้างรายวิชา ก

ระดับประถมศึกษา ชัน้ ประถม

หนว่ ย มาตรฐานการ
การเรยี นรทู้ ่ี
ชอื่ หน่วยการเรียนรู้ เรยี นรู้ / สาระการเ

ตัวช้ีวดั

ส่ิงมีชีวิตรอบตวั ว 1.3 • จำแนกสิง่ มชี ีวิตโดยใช้คว

ป. 4/1 แตกตา่ งของลกั ษณะของส่ิง

ป. 4/2 พชื กลมุ่ สตั ว์ และกลมุ่ ทไ่ี ม

ป. 4/3 • จำแนกพชื ออกเป็นพืชดอ

ป. 4/4 โดยใช้การมีดอกเป็นเกณฑ

รวบรวมได้ • จำแนกสตั ว์ออ

สนั หลังและ สัตว์ไม่มีกระด

กระดูก สนั หลังเปน็ เกณฑ์

ได้

• บรรยายลักษณะเฉพาะท

กระดูกสันหลังในกลุ่มปลา

• สะเทนิ บก กลุ่มสัตว์เลอ้ื ย

กลุ่มสตั วเ์ ล้ียงลกู ดว้ ยน้ำนม

สิ่งมีชีวิตในแตล่ ะกลุ่ม

กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
มศึกษาปีที่ 4 เวลา 80 ชั่วโมง

เรียนรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน
วามเหมือน และความ ส่งิ มีชวี ิตมีหลายชนดิ ซึ่งมีลักษณะ
งมีชีวิตออกเป็น กลมุ่ บางอย่างเหมือนกนั และแตกต่างกัน ๑๐ ๑๐
มใ่ ช่พืชและสัตว์ ซึ่งสามารถนำมาใช้เปน็ เกณฑ์ในการ
อกและพืชไม่มดี อก จำแนกสง่ิ มชี ีวิตออกเปน็ กลุ่มพืช กล่มุ
ฑ์ โดยใช้ข้อมลู ท่ี สตั ว์ และกลุ่มที่ไม่ใช่ พืชและสัตว์ ใน
อกเปน็ สตั ว์มีกระดูก กลุ่มพืชและกลุม่ สตั ว์ยังสามารถ
ดูกสันหลงั โดยใช้การมี จัดเปน็ กลมุ่ ย่อยได้อีกข้นึ อยู่กับเกณฑ์
โดยใชข้ อ้ มลู ทร่ี วบรวม ท่ใี ช้

ที่สังเกตได้ของสตั ว์มี
กลุม่ สตั ว์สะเทนิ น้ำ
ยคลาน กลุม่ นก และ
ม และยกตัวอยา่ ง

ตารางการออกแ

กลุม่ สาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยท่ี ๒ ช่อื หน่วย

มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ สาระสำคัญ ภาระงาน/ช้ิน
ตวั ชว้ี ดั

ว 1.3 • จำแนกส่งิ มชี ีวติ โดย ส่งิ มีชีวิตมหี ลาย ระหว่างกจิ กรร

ป. 4/1 ใชค้ วามเหมอื น และ ชนิดซ่ึงมีลักษณะ - กิจกรรมเราจ

ป. 4/2 ความ แตกต่างของ บางอยา่ งเหมือนกัน ส่งิ มีชวี ติ ไดอ้ ย่า

ป. 4/3 ลักษณะของส่ิงมชี วี ิต และแตกต่างกนั ซ่ึง - กิจกรรมเราจ

ป. 4/4 ออกเป็น กลมุ่ พืช สามารถนำมาใช้ สัตว์ไดอ้ ย่างไร

กล่มุ สตั ว์ และกลมุ่ ที่ เปน็ เกณฑใ์ นการ - กจิ กรรมเราจ

ไมใ่ ช่พชื และสัตว์ จำแนกสงิ่ มีชีวิต สัตว์มีกระดูกสัน

• จำแนกพชื ออกเป็น ออกเป็นกลมุ่ พืช ได้อยา่ งไร

พชื ดอกและพืชไม่มี กลมุ่ สตั ว์ และกลุ่ม - กจิ กรรมเราจ

ดอก โดยใช้การมดี อก ทีไ่ มใ่ ช่ พชื และสัตว์ พชื อย่างไร

เปน็ เกณฑ์ โดยใช้ ในกลุม่ พืชและกล่มุ เม่ือส้ินสดุ กิจก

ข้อมูลท่ี รวบรวมได้ • สัตวย์ ังสามารถ - ทดสอบความ

จำแนกสตั วอ์ อกเป็น จดั เปน็ กลุ่มย่อยได้ - สรปุ ผงั ความค

สตั วม์ ีกระดูกสันหลัง อกี ขึ้นอยู่กับเกณฑ์

และ สัตวไ์ มม่ ีกระดูก ที่ใช้

สันหลัง โดยใช้การมี

กระดูก สนั หลงั เป็น

เกณฑ์ โดยใช้ข้อมลู ท่ี

รวบรวมได้

แบบการเรียนรู้
ย สิ่งมีชีวิตรอบตัว ช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 4 เวลา ๘ ชัว่ โมง ๑๐ คะแนน

นงาน การวดั และประเมนิ ผล กจิ กรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ทกั ษะใน
ศตวรรษท่ี 21
รม - จากกิจกรรมเราจำแนก แบง่ กล่มุ นักเรียน เพื่อศึกษา การสอ่ื สาร
จำแนก ส่ิงมีชวี ิตได้อย่างไร 1. การจำแนกส่ิงมีชวี ิต
างไร - จากกจิ กรรมเราจำแนกสัตว์ ออกเปน็ กลมุ่ พืช กลุ่มสตั ว์ ความร่วมมอื
จำแนก ไดอ้ ย่างไร และ กลุ่มท่ีไม่ใชพ่ ืชและสัตว์
โดยใช้การเคล่ือนท่ีและ การ การใช้เทคโนโลยี
- จากกจิ กรรมเราจำแนกสตั ว์ สรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์ สารสนเทศและ
จำแนก มกี ระดูกสนั หลังได้อยา่ งไร 2. การจำแนกสัตว์ออกเปน็ การส่ือสาร
นหลงั - จากกิจกรรมเราจำแนกพชื กลุม่ สัตวม์ ีกระดกู สนั หลงั
และกลมุ่ สตั วไ์ ม่มีกระดูกสัน
อยา่ งไร หลงั โดยใชก้ ารมี กระดูกสัน
จำแนก - จากการทำแบบทดสอบ หลังเปน็ เกณฑ์ 3. การ
บรรยายลักษณะเฉพาะที่
ความรู้ สังเกตได้ของสตั วม์ ี กระดูก
กรรม - จากการทำแบบสรปุ ผงั สนั หลงั ในกลมุ่ ปลา กลุ่มสตั ว์
มรู้ ความคิด สะเทนิ น้ำ สะเทนิ บก กลุ่ม
คดิ สัตว์เล้ือยคลาน กลุ่มสตั วป์ ีก
และ กลมุ่ สตั ว์เลี้ยงลูกด้วย
นำ้ นม พรอ้ มยกตวั อยา่ ง สตั ว์
แต่ละกลมุ่

มาตรฐาน/ สาระการเรียนรู้ สาระสำคัญ ภาระงาน/ชน้ิ
ตัวช้วี ดั
• บรรยาย
ลกั ษณะเฉพาะที่
สังเกตได้ของสตั วม์ ี
กระดูกสันหลงั ในกล่มุ
ปลา กลุม่ สตั วส์ ะเทิน
นำ้
• สะเทินบก กล่มุ
สตั วเ์ ล้อื ยคลาน กลมุ่
นก และ กลุ่มสตั ว์
เลีย้ งลกู ด้วยนำ้ นม
และยกตวั อย่าง
สงิ่ มีชวี ติ ในแต่ละกลุ่ม

นงาน การวดั และประเมนิ ผล กิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ทักษะใน
ศตวรรษท่ี 21

4. การจำแนกพืชออกเปน็

กลุ่มพชื ดอกและกลมุ่ พืชไมม่ ี

ดอกโดยใชก้ ารมีดอกเป็น

เกณฑ์

ตามใบกจิ กรรมตามภาระงาน

/ชิน้ งาน

ตารางออกแบ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หนว่ ยท่ี ๒ ชอ่ื หน่วย

มาตรฐาน/ตัวช้ีวดั ส่ือการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคัญขอ

ว 1.3 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ความสามารถใน
ป. 4/1 2. วสั ดุและอุปกรณต์ าม สื่อสาร
ป. 4/2 แบบบันทกึ กจิ กรรม 2. ความสามารถใน
ป. 4/3 3. แบบบันทึกกจิ กรรม 3. ความสามารถในก
ป. 4/4 4.แหล่งการเรียนรู้ เทคโนโลยี
อนิ เทอรเ์ นต็
5.หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์
ป.4

บบการเรยี นรู้
ย ส่ิงมีชีวิตรอบตัว ชนั้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 เวลา ๘ ช่วั โมง ๑๐ คะแนน

องผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ นำ้ หนัก ( ๑๐ คะแนน )

ระหวา่ งเรียน สอบ

นการ 1. มีวนิ ัย ๑๐ -
2. ใฝ่เรียนรู้
นการคดิ 3. ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
การใช้

แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๑

กล่มุ สาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4

หนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี ๒ เรื่อง สิง่ มีชีวติ รอบตัว เวลา ๘ ช่ัวโมง
หนว่ ยยอ่ ยที่ 1 เร่อื ง เราจำแนกสิ่งมชี ีวิตอย่างไร จำนวน 2 ชั่วโมง

สอนวันที่ ...... เดอื น............. พ.ศ. ......... ผู้สอน ......................................

สาระสำคัญ

สิ่งมีชีวิตมีหลายชนดิ ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกันและลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน

ถา้ ใชก้ ารสร้างอาหารและการเคล่อื นไหวเปน็ เกณฑ์ จะใช้การจำแนกเป็นกล่มุ พชื และกลุ่มสัตว์ โดยกลุ่มพืชเป็น

กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้และเคลื่อนที่ไม่ได้ ส่วนกลุ่มสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้และเคลื่อนที่ได้

นอกจากนี้ยังมีสิ่งมชี ีวิตอืน่ ๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มพชื และกลุ่มสัตว์ เพราะไม่สามารถเคล่ือนทีไ่ ด้และสรา้ งอาหารเอง

ไมไ่ ด้

มาตรฐาน
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่งิ มชี วี ิต รวมทง้ั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตัวช้ีวดั
ป.4/1 จำแนกสิง่ มีชวี ติ โดยใชค้ วามเหมอื น และ ความแตกต่างของลักษณะของสงิ่ มีชีวติ ออกเป็น

กลุ่มพชื กลุม่ สตั ว์และกลมุ่ ที่ไมใ่ ชพ่ ชื และสัตว์

สมรรถนะสำคัญของผเู้ รียน
1. ความสามารถในการส่ือสาร

คณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
1. มุ่งมัน่ ในการทำงาน

จดุ ประสงค์การเรียนรู้
1. จาํ แนกสงิ่ มชี วี ิตออกเปน็ กล่มุ โดยใชก้ ารเคล่ือนท่แี ละ การสร้างอาหารเปน็ เกณฑ์ (K)
2. รวบรวมข้อมลู และเปรยี บเทียบลกั ษณะของส่ิงมีชีวิต (P)
3. ความมุ่งมน่ั ในการทำงาน (A)

สาระการเรยี นรู้
การจำแนกสิง่ มชี ีวติ

กิจกรรมการเรียนรู้ (กระบวนการสบื เสาะหาความรู้)
1. ข้ันสร้างความสนใจ
1 รูปใดต่อไปนเี้ ปน็ พืช สัตว์ และส่งิ มชี วี ิต ท่ีไมใ่ ชช่ ื่อและสัตว์ ใสเ่ ลข 1 ในช่อง  ที่อยู่ใตร้ ปู สตั ว์

ใสเ่ ลข 2 ในช่อง  ท่ีอยู่ใต้รูปพืช ใส่เลข 3 ในชอ่ ง  ทอ่ี ยู่ใต้รูปสง่ิ มีชวี ิต

กบ กล้วยไม้ ปลา หมี

เฟิน พุทธรกั ษา รา ปะการัง ผ้ึง

เหด็ นก แบคทเี รีย มอส

จระเข้ หมึก

2. จากรูป สัตวห์ มายเลขใดเปน็ สตั วม์ กี ระดูกสันหลงั และสัตวไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลังและพชื หมายเลขใด
เป็นพืชดอกและพืชไม่มีดอก

สัตวม์ กี ระดูกสนั หลัง ไดแ้ ก่ หมายเลข 3 4 5 7 10 12
สัตวไ์ ม่มกี ระดูกสนั หลัง ได้แก่ หมายเลข 1 9
พชื ดอก ไดแ้ ก่ หมายเลข 8 11
พืชไมม่ ีดอก ได้แก่ หมายเลข 2 6

๓. ครูนำรูปสิง่ ต่าง ๆ ที่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น ต้นมะละกอ ขวดน้ำ แม้ว เก้าอี้ กิ้งก่า ต้นดาวเรือง สมุด
ดินสอ ยางลบ กระเป๋านักเรียน มาให้ นักเรียนสังเกตและลองจำแนกสิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ออกเป็นกลุ่ม เพ่ือ
ตรวจสอบความรู้เดิมเก่ียวกับการจำแนก และนำอภิปรายโดยใช้คำถาม ดังนี้

๓.1 นักเรียนจัดส่ิงต่าง ๆ ได้กี่กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีอะไรบ้าง (นักเรียนตอบตามความเข้าใจข้อง
ตนเอง เช่น จัดออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม สิ่งมีชีวิต และกลุ่มสิ่งไม่มีชีวิต โดยมะละกอ แม้ว กิ้งก่า และต้น
ดาวเรืองอย่ใู นกลุม่ สง่ิ มชี วี ติ และขวดน้ำ เกา้ อ้ี สมุด ดนิ สอ ยางลบและกระเป๋านกั เรียนอยใู่ นกลมุ่ สง่ิ ไมม่ ีชวี ิต)

๓.2 นกั เรยี นใช้เกณฑอ์ ะไรในการจัดสงิ่ ต่าง ๆ เหลา่ นัน้ ออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตามความ
เข้าใจขอ้ งตนเอง)

๔. ครูเชื่อมโยงความรู้เดิมข้องนักเรียนสูก่ ารเรียนเรือ่ งการจัดกลุม่ สิ่งมชี ีวิตโดยใช้คำถามว่า ถ้าเราจะ
จำแนกสิ่งมีชีวติ ออกเปน็ กลุม่ เราจะจำแนกได้ อย่างไร ครูชักชวนนักเรียนหาคำตอบจากอา่ นเรื่องการจัดกลมุ่
สง่ิ มีชีวิต

2. ขั้นสำรวจและค้นหา
๑. นักเรียนอ่านชื่อเรื่อง และคำถามในคิดก่อนอ่าน ในหนังสือเรียนหน้า 43 แล้วร่วมกันอภิปรายใน

กลุ่มเพอ่ื หาแนวคำตอบตามความเข้าใจขอ้ ง กล่มุ ครูบันทกึ คำตอบข้องนักเรียนบนกระดานเพ่ือใช้เปรียบเทยี บ
คำตอบภายหลงั การอ่านเน้อื เรื่อง

๒. นักเรียนอ่านคำใน คำสำคัญ ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (หากนักเรียนอ่านไม่ได้ ครูควรสอน
อา่ นให้ถูกต้อง) จากน้ันอธบิ าย ความหมายตามความเขา้ ใจ ครชู ักชวนใหน้ กั เรยี นหาความหมายข้องคำ
ภายหลังจากการอา่ นเนอื้ เรอ่ื ง

๓. นักเรียนอ่านเนื้อเรื่องตามวิธีการอ่านที่เหมาะสมกับความสามารถข้องนักเรียน และร่วมกัน
อภปิ รายใจความสำคญั โดยใชค้ ำถามดงั น้ี

๓.1 จากรูปค้างคาวแมไ่ ก่มีลักษณะอย่างไร (นักเรียนตอบตามลักษณะทีส่ ังเกตได้ เช่น มีหัวและหน้า
ยาวเหมือนสุนัข มีหูเป็นแผ่นปลาย แหลม มีจมูก 2 รูเห็นชัดเจน ปีกมีพังผืดเชื่อมระหวา่ งกระดูก ลำตัว มีขน
ปยุ สนี ำ้ ตาลเท้าสดี ำมเี ลบ็ เทา้ มีมอื 2 ขา้ ง มขี า 2 ข้าง)

๓.2 นกนางนวลมีลักษณะอย่างไร (ลำตัว ปีกและหางมีขนเป็นแผงมีจะงอยปากแหลมสีดำ มีขาและ
เทา้ 2 ข้าง)

๓.3 ค้างคาวแม่ไก่จัดเป็นสิ่งมีชีวิตกลุ่มเดียวกับนกหรือไม่ (ค้างคาวแม่ไก่ไม่ได้จัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับ
นกนางนวล) ครูอาจใชค้ ำถามในเน้ือเร่ืองถามนักเรยี นได้ แต่ครูยงั ไม่เฉลย คำตอบ โดยแนะวา่ นกั เรยี นสามารถ
หาคำตอบเหล่าน้ไี ด้จากการทำ กจิ กรรมต่าง ๆ ในเร่อื งน้ี ยอ่ หนา้ ท่ี 2

๓.4 นักวิทยาศาสตร์มีวิธีการอย่างไรในการจัดกลุ่มส่ิงมีชวี ิต (นักวิทยาศาสตร์รวบรวมข้อมูลลักษณะ
ต่าง ๆ ข้องสิ่งมีชีวิต และ กำหนดเกณฑ์การจำแนกขึ้นมาเพื่อจัดสิ่งมชี วี ิตที่มีลักษณะตาม เกณฑ์เหมือนกันอยู่
กลุ่มเดียวกัน)

๓.5 เกณฑ์การจำแนกคืออะไร มีความสำคัญอย่างไร (เกณฑ์การจำแนกคือสิ่งที่ใช้ในการพิจารณา
แยกสง่ิ ตา่ ง ๆ ออกเปน็ กลุ่ม)

๓.6 นักเรียนคิดว่านักวิทยาศาสตร์ใช้เกณฑ์ใดในการจัดกลุ่มค้างคาวแม่ไก่และนกนางนวล (นักเรียน
ตอบตามความเข้าใจขอ้ งตนเอง)

๓.7 นักเรียนคิดว่าค้างคาวแม่ไก่และนกนางนวลจัดอยู่ในกลุ่มเดียวกับสัตว์ชนิดใดได้บ้าง (นักเรียน
ตอบตามความเข้าใจข้องตนเอง)

ขั้นนำเข้าสู่กิจกรรม ครูควรเตรียมภาพส่ิงมีชีวิตเพื่อทำเป็นเกมทายชื่อสิ่งมีชีวิต โดยปิดกระดาษ แผ่น
เลก็ ๆ ที่มีหมายเลขบนกระดาษซง่ึ ปดิ ทับบนภาพส่ิงมชี ีวติ แลว้ ให้นักเรียนเลือกเปิดครั้งละ 1 หมายเลข เพ่อื ให้
นักเรยี นเห็นภาพบางสว่ นแลว้ ทายชือ่ ส่งิ มีชีวติ

กจิ กรรมที่ 1.1 เราจำแนกสง่ิ มชี ีวติ ไดอ้ ย่างไร
แนวการจัดการเรยี นรู้

1. ครตู รวจสอบความรเู้ ดิมเกี่ยวกบั ลักษณะข้องสิ่งมชี ีวิตชนิดตา่ ง ๆ โดยเล่นเกมทายชื่อสิ่งมชี ีวติ จาก
ภาพ ครูเตรียมภาพทมี่ ีกระดาษแผ่นเลก็ ๆ ซ่ึงมี หมายเลขกำกับปิดทบั บนภาพ เริม่ เกมโดยให้นกั เรยี นเลือก
หมายเลขบน กระดาษแผน่ เลก็ เพ่ือเปิดให้เหน็ บางสว่ นข้องภาพ จากนั้นใหน้ ักเรียน ทายชื่อสิง่ มีชีวิตบนภาพ
นั้น (ควรเปน็ ภาพส่งิ มีชวี ิตท่ีเป็นพืช สตั ว์ เหด็ และราทไี่ ม่ซ้ำกบั ส่งิ มชี ีวติ ในกิจกรรมท่ี 1.1) ครูซักถามวา่
ส่ิงมชี ีวติ ในภาพ คอื อะไร เพราะเหตุใดจึงคิดเช่นน้นั (นกั เรียนตอบตามความเข้าใจตนเอง)

2. เมอื่ นกั เรยี นเลน่ เกมครบทุกภาพแลว้ ครใู ชค้ ำถามเพ่อื ตรวจสอบความรู้ เดมิ เกย่ี วกับการจดั กลุ่ม
สิ่งมชี ีวิตขอ้ งนักเรียน ดงั นี้

2.1 จากภาพมสี งิ่ มชี ีวติ ชนดิ ใดบา้ ง (นักเรียนตอบตามภาพที่เหน็ )
2.2 สิ่งมชี ีวติ แตล่ ะชนดิ มลี ักษณะอยา่ งไร (นักเรียนตอบตามลักษณะขอ้ งส่ิงมีชวี ติ ทส่ี งั เกตได้
จากภาพ)
2.3 ถ้าจะจำแนกสงิ่ มชี ีวิตเหลา่ นอี้ อกเป็นกลมุ่ จะใชล้ กั ษณะใดเปน็ เกณฑใ์ นการจำแนก และ
จำแนกได้ก่กี ลุ่ม (นักเรียนตอบตามความเขา้ ใจข้องตนเอง)
3. ครเู ช่อื มโยงความรู้เดิมข้องนักเรยี นเขา้ สู่กิจกรรมที่ 1.1 โดยใชค้ ำถามว่าถ้าจะจำแนกสิ่งมีชีวติ
รอบตัวเราออกเปน็ กลมุ่ จะใชอ้ ะไรเปน็ เกณฑ์ในการจำแนก และสามารถจำแนกสงิ่ มชี ีวิตได้เปน็ ท่ีกลุ่ม
4. นักเรยี นอ่านชอื่ กิจกรรม และ ทำเปน็ คดิ เป็น และร่วมกันอภปิ รายเพื่อ ตรวจสอบความเข้าใจ
เกย่ี วกบั จุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้ คำถามดงั นี้
4.1 กิจกรรมนนี้ ักเรียนจะไดเ้ รียนเรอื่ งอะไร การจำแนกส่ิงมชี ีวิตออกเป็นกล่มุ )
4.2 นักเรยี นจะไดเ้ รียนรเู้ รื่องน้ดี ้วยวธิ ีใด (สงั เกต รวบรวมขอ้ มูลและเปรียบเทยี บลกั ษณะ
ขอ้ งสง่ิ มีชีวติ ท่กี ำหนดให้)
4.3 เมอื่ เรยี นแลว้ นักเรยี นจะทำอะไรได้ (จำแนกสงิ่ มีชวี ติ ออกเปน็ กลุม่ โดยใชก้ ารเคล่ือนท่ี
และการสรา้ งอาหารเป็นเกณฑ์)
5. นักเรียนบันทกึ จุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หนา้ 37 และ อ่านสงิ่ ท่ีต้องใชใ้ นการทำ
กิจกรรม
6. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร โดยฝึกอ่านตามความเหมาะสม ครูนำอภิปราย เพื่อสรุปลำดับขั้นตอน
ตามแนวคำถามตอ่ ไปนี้
6.1 นักเรียนต้องสังเกตและบันทึกลักษณะอะไรข้องสิ่งมีชีวิต (ลักษณะการกินอาหาร การ
เคล่อื นไหวไดด้ ้วยตนเอง การหายใจ การเจรญิ เตบิ โต การสบื พันธุ์ และลกั ษณะอน่ื ๆ เช่น ลกั ษณะทอี่ ย่อู าศัย)
6.2 ในบัตรภาพมีสงิ่ มีชวี ติ อะไรบา้ ง (กบ ปลา เหด็ รา คน จระเข้ กหุ ลาบ ขา้ ว เฟิน เสือ กุ้ง
เปด็ )
6.3 นอกจากการสังเกตจากบัตรภาพแลว้ นักเรียนสามารถสืบคน้ ขอ้ มลู เพ่มิ เติมเก่ยี วกับเห็ด
และราจากที่ใด (จากการอ่านใบความรเู้ รือ่ งเหด็ และรา ในหนงั สอื เรยี นหน้า 50)

6.4 เมื่อสังเกตและบันทึกข้อมูลลักษณะข้องสิ่งมีชีวิตชนิดต่าง ๆ แล้วนักเรียนต้องทำอะไร
อีกบ้าง (กำหนดเกณฑ์ในการจำแนกสิ่งมีชีวิต แล้วจำแนกส่ิงมีชีวิตออกเป็นกลุ่มตามเกณฑ์ที่กำหนด จากน้ัน
นำเสนอ)

6.5 หลังจากนักเรียนนำเสนอผลการจำแนกสิ่งมีชีวิตตามเกณฑ์ข้องตนเองแล้วต้องทำอะไร
ต่อ (จำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้การ เคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์) ครูอาจช่วยเขียนสรุป
เป็นขั้นตอนสั้น ๆ บนกระดาน และอาจถ่าย เอกสารบัตรภาพทั้งหมดมาให้นักเรียนทุกกลุ่มสังเกต กลุ่มละ 1
ชดุ

7. เม่อื นักเรียนเขา้ ใจวิธีทำกิจกรรมในทำอยา่ งไรแล้ว นกั เรยี นจะได้ปฏบิ ัตติ ามข้ันตอน ดงั น้ี
7.1 สังเกตและบันทึกข้อมลู ลักษณะข้องสิง่ มีชีวิตชนิดต่าง ๆ จากบัตรภาพหรอื คลิปวีดิทศั น์

ส้นั ๆ ทแี่ สดงลกั ษณะข้องสิ่งมชี วี ิตทค่ี รูอาจเตรยี มเพ่ิมเตมิ
7.2 อา่ นใบความรแู้ ละบันทึกขอ้ มูลลักษณะข้องส่งิ มชี ีวติ ชนิดต่าง ๆ เพ่ิมเตมิ
7.3 ร่วมกนั ลงความเห็นเกี่ยวกบั ลกั ษณะตา่ ง ๆ ข้องส่ิงมชี ีวติ
7.4 กำหนดเกณฑก์ ารจำแนกสิ่งมีชวี ิต และจำแนกสง่ิ มีชวี ิตออกเปน็ กลุ่มตามเกณฑท์ ่ีกำหนด
7.5 นำเสนอผลการจำแนกสิ่งมีชีวติ
7.6 จำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มโดยใช้การเคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ และ

นำเสนอ
7.7 นักเรียนร่วมกันลงความเห็นเกี่ยวกับการจัดกลุ่มสิ่งมีชีวิตโดยใช้การเคลื่อนที่และการ

สรา้ งอาหารเปน็ เกณฑ์
7.8 นกั เรยี นร่วมกนั ตคี วามหมายข้อมูลและลงข้อสรปุ เก่ียวกบั การจำแนกส่งิ มีชีวิต

3. ขั้นอธิบายและลงขอ้ สรุป
๑. หลงั จากทำกิจกรรมแล้ว ครนู ำอภปิ รายผลการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามดังตอ่ ไปนี้
๑.1 ส่งิ มีชวี ิตแต่ละชนิดที่นกั เรยี นสังเกตมีลกั ษณะอย่างไรบ้าง
- กบ กินสิ่งมีชีวติ อื่นเป็นอาหาร เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้

เจริญเติบโตได้ สืบพนั ธไุ์ ด้ อาศัยอยู่ท้งั บนบกและในนำ้
- ปลา กนิ สงิ่ มชี วี ิตอ่ืนเปน็ อาหาร เคลอ่ื นไหวไดด้ ้วยตนเองและเคลื่อนท่ีได้ หายใจได้

เจริญเตบิ โตได้ สืบพนั ธุ์ได้ อาศัยอยใู่ นนำ้
- คน กินสิ่งมีชีวติ อื่นเป็นอาหาร เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้

เจริญเตบิ โตได้ สืบพนั ธุไ์ ด้ อาศัยอยบู่ นบก
- เห็ด ได้รบั อาหารจากการย่อยสลายซากข้องส่ิงมีชวี ิตชนิดอื่น ๆ เคล่ือนไหวได้ด้วย

ตนเอง เคลอ่ื นท่ไี มไ่ ด้ หายใจได้ เจรญิ เติบโต ได้ สืบพนั ธ์ไุ ด้ อาศยั อย่บู นซากส่ิงมีชีวติ ชนิดอืน่
- จระเข้ กนิ ส่ิงมีชีวิตอืน่ เป็นอาหาร เคล่ือนไหวได้ด้วยตนเองและ เคลือ่ นท่ไี ด้ หายใจ

ได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธุไ์ ด้ อาศยั อยทู่ งั้ ในน้ำและบนบก

- รา ได้รับอาหารจากการย่อยสลายซากข้องสิ่งมีชีวิตชนิดอื่น ๆ เคลื่อนไหวได้ด้วย
ตนเอง เคลือ่ นท่ไี มไ่ ด้ หายใจได้ เจริญเติบโตได้ สืบพันธไุ์ ด้ อาศัยอยู่บนซากสง่ิ มีชีวติ ชนดิ อนื่

- กุหลาบ สร้างอาหารเองได้ เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง เคลื่อนที่ไม่ได้ หายใจได้
เจรญิ เตบิ โตได้ สบื พันธ์ุได้ อาศัยอยบู่ นบก

- เป็ด กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนที่ได้ หายใจ
ได้ เจรญิ เติบโตได้ สืบพนั ธุไ์ ด้ อาศยั อยู่บนบก และในน้ำ

- ข้าว สร้างอาหารเองได้ เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง เคลื่อนที่ไม่ได้ หายใจได้
เจรญิ เตบิ โตได้ สบื พันธ์ุได้ อาศยั อย่บู นดินที่มนี ำ้ และดนิ แห้ง

- เฟิน สร้างอาหารเองได้ เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเอง เคลื่อนที่ไม่ได้หายใจได้
เจริญเติบโตได้ สืบพันธไ์ุ ด้ อาศัยอยู่บนบก

- เสือ กนิ ส่ิงมชี วี ติ อ่นื เป็นอาหาร เคล่อื นไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้
เจรญิ เตบิ โตได้ สืบพนั ธ์ุได้ อาศัยอยบู่ นบก

- กุ้ง กินสิ่งมีชีวิตอื่นเป็นอาหาร เคลื่อนไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนที่ได้ หายใจได้
เจรญิ เตบิ โตได้ สบื พันธไ์ุ ด้ อาศยั อยูใ่ นนำ้

๑.2 สิ่งมีชีวิตทกุ ชนดิ มีลักษณะใดบ้างท่ีเหมือนกัน (การสบื พนั ธ์ุ การหายใจ การเจรญิ เตบิ โต)
๑.3 สง่ิ มชี วี ติ ชนดิ ใดบ้างที่กนิ สตั วอ์ ่ืนเปน็ อาหาร (กบ ปลา คน จระเขเ้ ปด็ เสือ กุ้ง)
๑.4 สง่ิ มชี ีวิตใดบา้ งทสี่ ร้างอาหารไดเ้ อง (กหุ ลาบ ข้าว เฟิน)
๑.5 สง่ิ มชี วี ิตใดบา้ งท่เี คล่ือนไหวได้ด้วยตนเองและเคลื่อนท่ีได้ (กบ ปลา คน จระเข้ เป็ด เสือ
กุ้ง)
๑.6 สงิ่ มชี ีวิตใดบา้ งทเ่ี คลอ่ื นไหวได้ด้วยตนเองแต่เคล่อื นทีไ่ ม่ได้ (กุหลาบ ข้าว เฟิน เหด็ รา)
๑.7 นักเรียนใช้เกณฑ์ใดในการจัดสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตามข้อมูลจริงใน
ห้องเรียน)
๑.8 ครูอาจสุม่ เลอื กเกณฑท์ ีน่ กั เรียนใช้ในการจำแนกส่ิงมีชีวิตมา 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑ์แหลง่
ท่ีอยู่ และถามว่า ถ้าใชแ้ หล่งที่อยู่เป็นเกณฑ์ จะจำแนกสง่ิ มีชีวติ ออกเปน็ กี่กล่มุ แตล่ ะกลุ่มมีสง่ิ มชี วี ติ ชนิดใดบ้าง
(นกั เรยี นตอบตามขอ้ มลู จรงิ ในหอ้ งเรยี น)
๑.9 ถ้าเปลี่ยนเกณฑ์การจำแนกสิ่งมีชวี ติ ชนิดข้องสิ่งมีชีวติ ในกลุ่มต่าง ๆ เหมือนเดิมหรือไม่
(อาจเหมือนเดมิ หรือเปลี่ยนแปลงไป)
๑.10 ถ้าใช้การเคลื่อนที่และการสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ สามารถจำแนกสิ่งมีชีวิตได้กี่กลุ่ม
อะไรบ้าง (3 กลุ่ม คือ กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้แต่ เคลื่อนที่ไม่ได้ กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่เคลื่อนที่ได้
และกลุ่มท่ี ได้รับอาหารจากการย่อยสลายส่ิงมีชีวิตอนื่ หรอื สร้างอาหารเองไมไ่ ด้และเคลื่อนที่ไม่ได้)
๑.11 แตล่ ะกลมุ่ มีสิง่ มชี วี ติ อะไรบ้าง

- กลมุ่ ท่สี ร้างอาหารเองไดแ้ ต่เคลื่อนที่ไม่ได้ ได้แก่ กุหลาบ ขา้ ว เฟนิ
- กลุ่มทส่ี รา้ งอาหารเองไม่ได้แต่เคลื่อนท่ีได้ ไดแ้ ก่ กบ ปลา คน จระเข้ เปด็ เสือ กงุ้

- กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่ได้รับอาหารจากการย่อยสลายสิ่งมีชีวิตอื่นและ
เคลอ่ื นทีไ่ มไ่ ด้ ไดแ้ ก่ เหด็ รา

๒. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อให้ไดข้ ้อสรุป ดังนี้ เราเรียกกลุ่ม สิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองได้
แตเ่ คลอ่ื นที่ไมไ่ ดว้ า่ กลุม่ พชื เรียกสงิ่ มีชีวิต ท่สี รา้ งอาหารเองไม่ไดแ้ ตเ่ คล่อื นท่ีได้ว่า กลุ่มสัตว์ และเรียกส่ิงมชี ีวิต
กลมุ่ ทสี่ รา้ งอาหารเองไมไ่ ดแ้ ละเคล่ือนท่ีไมไ่ ด้วา่ กลุ่มทไ่ี ม่ใชพ่ ชื และสตั ว์

๓. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนยกตัวอย่างและบรรยายลักษณะสิ่งมีชีวิตที่ตนเองรู้จัก จากนั้นให้เพื่อน
ช่วยกันตอบว่าสิ่งมีชีวิตนี้ควรจัดอยู่ในกลุ่ม ใด ถ้าใช้การสร้างอาหารและการเคลื่อนที่เป็นเกณฑ์ หรือครูอาจ
ยกตวั อย่างสิง่ มีชีวติ อ่ืน ๆ ท่นี อกเหนือจากกิจกรรมเพ่อื ใหน้ ักเรียนจำแนกสง่ิ มีชีวิตท่ีหลากหลายข้นึ

๔.นักเรียนร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปว่าสามารถจำแนกสิ่งมีชีวิตออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้เป็น 3
กลุ่ม โดยใชเ้ กณฑ์การเคลอ่ื นที่และการสร้างอาหาร คอื กลุ่มพืช กลมุ่ สตั ว์ และกลุ่มทีไ่ มใ่ ชพ่ ืชและสตั ว์

๕. นักเรียนร่วมกันอภิปรายคำตอบใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติมในการอภิปรายเพื่อให้
ไดแ้ นวคำตอบทีถ่ กู ตอ้ ง

๖.นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียนอ่าน สิ่งที่ได้เรียนรู้ และเปรียบเทียบกับ
ขอ้ สรุปขอ้ งตนเอง

4. ข้นั ขยายความรู้
๑. ครูตั้งคำถามแบบคิดวิเคราะห์ถามนักเรียน ให้นักเรียนตอบโดยใช้การอภิปรายร่วมกันถึง

เหตุผล ถ้าใชก้ ารเคลื่อนท่แี ละการสร้างอาหารเปน็ เกณฑ์สามารถจําแนก ส่ิงมชี ีวิตได้ก่ีกลุ่ม อะไรบ้าง (3 กลุ่ม
คือ กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้แต่ เคลื่อนที่ไม่ได้ กลุ่มที่สร้างอาหารเองไม่ได้แต่เคลื่อนที่ได้ และกลุ่มท่ี ได้รับ
อาหารจากการยอ่ ยสลายส่ิงมชี วี ิตอ่ืนหรือสรา้ งอาหารเองไม่ได้ และเคล่อื นท่ีไมไ่ ด)้

5. ข้นั ประเมิน
๑. ครูประเมนิ นักเรยี นด้านความรู้ โดยตรวจใบงาน จากกจิ กรรม เรื่อง เราจำแนกสิ่งมีชีวิตอยา่ งไร
๒. ครูประเมินนักเรียนด้านทักษะกระบวนการ การรวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบลักษณะของ

ส่งิ มีชีวติ
๓. ครูประเมนิ นักเรียนด้านคณุ ลักษณะโดยใชแ้ บบประเมินความมงุ่ ม่ันในการทำงาน

ส่ือและแหลง่ เรียนรู้
- แบบบันทกึ กิจกรม รายวชิ าพ้ืนฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1
ใบกิจกรรม 1.1 เรือ่ ง เราจำแนกสิง่ มชี ีวิตไดอ้ ย่างไร
- หนงั สือเรียนวทิ ยาศาสตร์ รายวิชาพื้นฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1

การวดั และประเมินผล

จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครื่องมือทีใ่ ช้วดั เกณฑ์ในการวัด
- แบบประเมนิ ใบกจิ กรรม
ด้านความรู้ - ตรวจใบกจิ กรรม เรือ่ ง คะแนนร้อยละ
70 ข้นึ ไปผ่าน
จาํ แนกส่งิ มชี วี ติ ออกเป็น เราจำแนกสง่ิ มชี วี ิตได้

กลมุ่ โดยใชก้ ารเคล่ือนท่ี อย่างไร

และ การสร้างอาหาร

เปน็ เกณฑ์ (K)

ด้านทักษะกระบวนการ - ตรวจการเปรยี บเทียบ - แบบประเมนิ การ
ร ว บ ร ว ม ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ ลักษณะของส่ิงมีชีวิต เปรียบเทยี บลักษณะของ
เปรียบเทียบลักษณะ สง่ิ มชี ีวติ
ของสงิ่ มชี ีวติ (P)

ดา้ นคุณลักษณะ - สงั เกตความมุ่งม่ันในการ - แบบประเมินความมงุ่ ม่นั
ความมุง่ ม่นั ในการ ทำงาน ในการทำงาน
ทำงาน (A)

ความคดิ เห็นผูบ้ ริหาร / ผู้ที่ได้รบั มอบหมาย

ไดท้ ำการตรวจแผนการจดั การเรยี นรู้ แลว้
๑. เปน็ แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่

o ดมี าก
o ดี
o พอใช้
o ควรปรับปรุง

๒. การจดั กิจกรรมไดน้ ำเอากระบวนการเรียนรู้

o เน้นผูเ้ รียนเปน็ สำคัญ ใช้กระบวนการ Active Leaning ได้อย่างเหมาะสมกผั ูเ้ รียน
o ยังไมเ่ นน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั ควรปรับปรงุ พัฒนาตอ่ ไป

๓. เปน็ แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่

o นำไปใชไ้ ดจ้ รงิ
o ควรปรบั ปรงุ ก่อนนำไปใช้

๔. ข้อเสนอแนะอน่ื
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
.

ลงชือ่ .............................................................
(......................................................................)
ตำแหน่ง......................................................................

บันทกึ ผลการจัดการเรียนรู้
หน่วยยอ่ ยท่ี 1 เรือ่ ง เราจำแนกส่งิ มชี ีวิตอย่างไร

ผลการเรยี นรู้ นกั เรยี นทั้งหมด ............. คน มีผลการเรียนเป็นดงั นี้

ดา้ นความรู้
1. จําแนกสง่ิ มีชีวิตออกเปน็ กลมุ่ โดยใช้การเคล่อื นท่ีและ การสร้างอาหารเป็นเกณฑ์ (K)

จำนวนนักเรยี นทผ่ี า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คิดเป็นรอ้ ยละ .................................
จำนวนนักเรยี นท่ไี ม่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเป็นร้อยละ ................................

ดา้ นทกั ษะกระบวนการ
2. รวบรวมข้อมูลและเปรียบเทียบลกั ษณะของสงิ่ มีชีวติ (P)

จำนวนนักเรียนทผ่ี า่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คิดเป็นร้อยละ .................................
จำนวนนกั เรยี นทีไ่ มผ่ า่ นเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเปน็ ร้อยละ ................................

ดา้ นคุณลักษณะ
3. ความมุง่ มัน่ ในการทำงาน (A)

จำนวนนักเรียนท่ผี ่านเกณฑ์จำนวน ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ .................................
จำนวนนักเรยี นท่ไี ม่ผ่านเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ ................................

สรุปภาพรวมตามจดุ ประสงค์การเรยี นทัง้ 3 ดา้ น
จำนวนนักเรยี นท่ผี า่ นเกณฑ์จำนวน ..................คน คดิ เป็นรอ้ ยละ .................................
จำนวนนักเรยี นทไ่ี มผ่ ่านเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเป็นร้อยละ ................................

บันทกึ พฤตกิ รรมนักเรยี น
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ปัญหา / อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

แนวทางแกไ้ ขและผลการแก้ไข
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ลงช่ือ..................................................ผูส้ อน
(.....................................................................)
.................../.........................../....................

แบบบนั ทกึ ผลการผ่านจดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้

หน่วยย่อยท่ี 1 เรอื่ ง เราจำแนกสงิ่ มีชีวติ อยา่ งไร

เลขท่ี จุดประสงค์ จุดประสงค์ จุดประสงค์ รวม รอ้ ยละ ผลการประเมนิ
ผ่าน ไม่ผา่ น
คะแนน ขอ้ ท่ี 1 ขอ้ ท่ี 2 ข้อที่ 3 70
1
2 ผา่ น
3
4 4 3 3 10
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑก์ ารผา่ น ได้คะแนนต้ังแตร่ อ้ ยละ 70 ขนึ้ ไป

เกณฑก์ ารให้คะแนนดา้ นความรู้

หนว่ ยยอ่ ยท่ี 1 เรอ่ื ง เราจำแนกส่ิงมชี ีวติ อย่างไร

ประเดน็ การประเมนิ ระดับคะแนน

จาํ แนกส่งิ มีชีวิตตามเกณฑ์ 3 21
ทก่ี ำหนดเป็นกลมุ่ พืช กลุ่ม
สตั ว์ และกลุ่มท่ีไม่ใช่ พืช สามารถกำหนดเกณฑ์และ สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์
และสตั ว์โดยใชก้ าร
เคลือ่ นท่ีและการสร้าง จําแนกส่งิ มชี ีวิตตามเกณฑ์ และ จําแนกส่งิ มีชวี ติ และ จาํ แนกสิ่งมีชวี ติ
อาหารเปน็ เกณฑ์
ท่กี ำหนดเป็นกล่มุ พืช กลุ่ม ตามเกณฑ์ ที่กำหนดเป็น ตามเกณฑ์ ที่กำหนดเป็น

สตั ว์ และกลมุ่ ท่ีไม่ใช่ พืช กลุ่มพชื กลุม่ สัตว์ และ กลมุ่ พชื กล่มุ สัตว์ และ

และสัตวโ์ ดยใชก้ าร กลมุ่ ทีไ่ ม่ใช่ พืชและสัตว์ กลมุ่ ท่ไี มใ่ ช่ พืชและสัตว์

เคล่อื นทแี่ ละการสรา้ ง โดยใชก้ าร เคลื่อนท่ีและ โดยใช้การ เคล่ือนท่ีและ

อาหารเป็นเกณฑ์ได้อยา่ ง การสรา้ ง อาหารเปน็ การสรา้ ง อาหารเป็น

ถกู ต้องได้ด้วยตนเอง เกณฑ์ได้อยา่ ง ถูกตอ้ ง เกณฑ์ได้อยา่ ง ถูกตอ้ ง

จากการช้ีแนะของครู บางส่วนแมว้ ่าจะได้รับ

หรือผู้อืน่ คำแนะนำจากครูหรือ

ผอู้ ื่น

เกณฑก์ ารผา่ น ไดค้ ะแนนตั้งแต่รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป (3 คะแนนขนึ้ ไป)

เกณฑ์การให้คะแนนด้านทกั ษะกระบวนการ

หน่วยยอ่ ยท่ี 1 เร่ือง เราจำแนกสง่ิ มีชีวิตอย่างไร

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ทางวิทยาศาสตร์
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรับปรงุ (1)

การสงั เกต การบรรยาย สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท สามารถใช้ประสาท

รายละเอยี ด สัมผัสสงั เกตลกั ษณะ สัมผสั สังเกตลกั ษณะ สัมผัสสงั เกตลกั ษณะ

เกยี่ วกับลกั ษณะ และบรรยาย และบรรยาย และบรรยาย

ขอ้ งส่ิงมชี ีวติ ทอี่ ยู่ รายละเอยี ดขอ้ ง รายละเอียดขอ้ ง รายละเอยี ดข้อง

ในกล่มุ พชื กลุ่ม ส่ิงมชี ีวติ ทอี่ ยู่ในกลุ่มพชื ส่ิงมชี วี ติ ที่อยู่ในกล่มุ ส่งิ มีชวี ิตทอี่ ยู่ใน

สตั ว์ และกลุ่มที่ กลมุ่ สัตว์ และกลมุ่ ทไ่ี ม่ พืช กลุม่ สตั ว์ กลมุ่ พืช กลุม่ สตั ว์

ไม่ใช้พืชและสัตว์ ใช้พชื และสัตวไ์ ด้ด้วย และกล่มุ ท่ีไม่ใช้พชื และ และกลุ่มที่ไม่ใช้พืช

ตนเองโดยไมเ่ พิ่มเตมิ สตั วไ์ ดจ้ ากการชแี้ นะ และสัตวไ์ ด้บางส่วน

ความคดิ เหน็ ข้องครู หรอื ผู้อนื่ หรือ แมว้ ่าจะได้รับคำช้แี นะ

มกี ารเพ่ิมเตมิ จากครูหรอื ผู้อ่ืน

ความคิดเห็น

การจำแนกประเภท การกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนด

การจำแนก และจำแนกสงิ่ มีชวี ติ ตาม และจำแนกสิ่งมีชวี ิต เกณฑ์และจำแนก

สิ่งมชี ีวิตและการ เกณฑ์ท่ีกำหนดเปน็ กลุม่ ตามเกณฑ์ท่ีกำหนด ส่งิ มีชีวิตตามเกณฑ์ท่ี

จำแนกสิง่ มชี วี ิต พืชกลุ่มสัตว์ และกลุ่มท่ี เปน็ กลมุ่ พชื กลุม่ สัตว์ กำหนดเป็นกลุม่ พชื

ตามเกณฑ์ที่ ไมใ่ ช้พชื และสัตว์โดยใช้ และกลุ่มท่ีไม่ใช้พืชและ กล่มุ สตั ว์ และกลมุ่ ที่

กำหนดเป็นกลมุ่ การเคล่ือนท่แี ละการ สัตว์โดยใชก้ าร ไมใ่ ช้พชื และสตั ว์

พชื กลมุ่ สตั ว์ สร้างอาหารเปน็ เกณฑ์ เคลื่อนทแ่ี ละการสร้าง โดยใช้การเคลอื่ นท่ี

และกลุ่มทีไ่ ม่ใช้ ไดอ้ ย่างถกู ตอ้ งได้ด้วย อาหารเปน็ เกณฑ์ได้ และการสรา้ งอาหาร

พืชและสัตว์โดย ตนเอง อยา่ งถูกต้อง จากการ เปน็ เกณฑได้ถกู ต้อง

ใช้การเคลอื่ นท่ี ช้แี นะข้องครูหรือผู้อื่น บางส่วน แมว้ า่ จะได้

และการสรา้ ง รบั คำช้ีแนะจากครู

อาหารเป็นเกณฑ์ หรอื ผู้อื่น

การจัดกระทำและ การนำข้อมลู ที่ได้ สามารถนำเสนอข้อมลู ที่ สามารถนำเสนอขอ้ มูล สามารถนำเสนอ

สือ่ ความหมาย จากการสังเกต ได้จากการสงั เกตและ ท่ไี ด้จากการสงั เกตและ ข้อมลู ที่ได้จากการ

ขอ้ มูล และรวบรวม รวบรวมเกยี่ วกับ รวบรวมเกย่ี วกบั สังเกตและรวบรวม

เก่ยี วกับลักษณะ ลกั ษณะข้องส่ิงมีชวี ติ มา ลกั ษณะข้องส่ิงมีชวี ติ เกย่ี วกับลกั ษณะข้อง

ข้องสิ่งมชี ีวติ มา จำแนกสิ่งมีชวี ติ ออกเปน็ มาจำแนกสิ่งมชี วี ิต สง่ิ มชี วี ิตมาจำแนก

จดั กระทำโดยการ กล่มุ มาจดั กระทำโดย สิ่งมีชีวติ ออกเปน็

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดบั ความสามารถ
ทางวิทยาศาสตร์
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1)

เขียนแผนภาพ การเขยี นแผนภาพ หรือ ออกเป็นกลมุ่ มาจดั กลุ่ม มาจดั กระทำ

หรอื รูปแบบอนื่ ๆ รูปแบบอื่น ๆ และส่ือให้ กระทำโดยการเขียน โดยการเขียน

และสอ่ื ให้ผู้อน่ื ผู้อืน่ เขา้ ใจการจำแนก แผนภาพ หรือรูปแบบ แผนภาพ หรอื

เขา้ ใจการจำแนก สง่ิ มชี ีวิตออกเป็นกล่มุ อนื่ ๆ และสือ่ ให้ผู้อืน่ รปู แบบอน่ื ๆ และ

ส่งิ มชี วี ิตออกเปน็ ตา่ ง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เข้าใจการจำแนก สามารถส่ือใหผ้ ู้อืน่

กล่มุ ต่าง ๆ ไดด้ ้วยตนเอง สง่ิ มชี วี ติ ออกเป็นกลุ่ม เข้าใจการจำแนก

ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง ส่งิ มชี วี ิตออกเป็น

จากการชแี้ นะข้องครู กลุ่มต่าง ๆ ได้ถกู ตอ้ ง

หรือผู้อ่ืน บางส่วน แมว้ า่ จะไดร้ บั

คำช้ีแนะจากครูหรอื

ผู้อืน่

การลงความเหน็ ลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น สามารถลงความเห็น

จากข้อมลู ข้อมูลวา่ ส่งิ มชี วี ิต จากข้อมลู ไดว้ าส่งิ มชี วี ิต จากข้อมลู ไดว้ า จากข้อมลู ไดว้ า

ชนดิ ใดเปน็ พชื ชนดิ ใดเป็นพืช สัตว์ สิ่งมชี วี ิตชนดิ ใด เปน็ สิ่งมชี วี ติ ชนดิ ใดเป็น

สัตว์ และไมใ่ ช้พืช และไม่ใช้พืชและสตั ว์ พืช สัตว์ และไมใ่ ช้พืช พชื สตั ว์ และไมใ่ ช้

และสตั ว์ โดยใช้ โดยใช้การ เคลื่อนท่ีและ และสตั ว์ โดยใช้การ พชื และสัตว์ โดยใช้

การเคลอ่ื นทีแ่ ละ การสร้าง อาหารเป็น เคลื่อนทแ่ี ละการสร้าง การเคลอื่ นท่แี ละ

การสร้างอาหาร เกณฑ์ได้อยา่ งถูกต้องได้ อาหารเป็นเกณฑ์ได้ การสรา้ งอาหารเป็น

เป็นเกณฑ์ ด้วยตนเอง อย่างถูกต้องจาก เกณฑ์ไดถ้ ูกต้อง

การช้ีแนะข้องครูหรอื ผู้ บางส่วนแมว้ ่าจะได้รับ

อื่น คำชี้แนะจากครูหรือ

ผู้อนื่

การตคี วามหมาย ตคี วามหมายข้อมลู ตคี วามหมายข้อมลู จาก ตีความหมายข้อมูลจาก ตคี วามหมายข้อมลู จาก

ขอ้ มูลและลง จากการสังเกตได้วา การสังเกตได้วาสงิ่ มชี วี ติ การสงั เกตได้วา การสังเกตได้วา

ขอ้ สรปุ สิ่งมชี วี ติ มลี กั ษณะ มลี กั ษณะตา่ ง ๆ และ ส่ิงมชี วี ติ มลี กั ษณะตา่ ง สง่ิ มีชวี ิตมีลักษณะต่าง

ตา่ ง ๆ และสามารถ สามารถลง ข้อสรปุ ได้วา่ ๆ และสามารถลง ๆ และสามารถลง

ลงขอ้ สรุปไดว้ ่าถ้า ถา้ จำแนกส่ิงมชี ีวิต ขอ้ สรุปไดว้ ่าถ้า จำแนก ข้อสรุปไดว้ ่าถา้ จำแนก

จำแนกสิ่งมชี ีวติ โดยใช้การ เคลื่อนที่และ สิ่งมชี วี ิต โดยใชก้ าร ส่งิ มชี วี ิต โดยใชก้ าร

โดยใช้การ เคล่อื นท่ี การ สร้าง อาหารเป็น เคล่อื นทแี่ ละการ สรา้ ง เคลือ่ นท่ีและการ สร้าง

และการสรา้ ง เกณฑจ์ ะจำแนก ออกได้ อาหารเป็น เกณฑ์จะ อาหารเป็น เกณฑ์จะ

อาหารเปน็ เกณฑ์ เปน็ 3 กลุม่ คอื กลมุ่ จำแนก ออกได้เป็น 3 จำแนก ออกได้เปน็ 3

ทกั ษะกระบวนการ รายการประเมนิ ระดับความสามารถ
ทางวิทยาศาสตร์
ดี (3) พอใช้ (2) ควรปรบั ปรงุ (1)
พืช กลมุ่ สตั ว์ และกลุม่
จะจำแนกออกได้ ทไี่ มใ่ ช้พชื และสตั ว์ได้ กลุ่ม คอื กลมุ่ พชื กลุ่ม กลุ่ม คอื กลมุ่ พืช กลุ่ม
ดว้ ยตนเอง
เปน็ 3 กลุม่ สัตว์ และกล่มุ ท่ีไม่ใช้ สัตว์ และกล่มุ ที่ไมใ่ ช้

พืช และสัตว์ไดจ้ าก พชื และสัตวไ์ ด้

การชแ้ี นะข้องครูหรือผู้ บางส่วนแมว้ า่ จะได้รบั

อื่น คำชแ้ี นะจากครหู รือ

ผู้อื่น

เกณฑ์การผา่ น ไดค้ ะแนนต้งั แต่รอ้ ยละ 70 ข้นึ ไป (3 คะแนนขึ้นไป)

เกณฑ์การใหค้ ะแนนแบบประเมินคณุ ลักษณะ
ความมุ่งม่นั ในการทำงาน

พฤติกรรมบ่งชี้ ไมผ่ า่ น (0) ผ่าน (1) ดี (2) ดีเยีย่ ม (3)
เอาใจใส่ต่อการ
1. เอาใจใสต่ ่อการปฏบิ ตั หิ นา้ ท่ีที่ ไมต่ ้ังใจปฏิบัติ ปฏิบัติหนา้ ที่ที่ ตง้ั ใจและ ต้งั ใจและ
ไดร้ ับมอบหมาย
ไดร้ ับมอบหมาย หน้าที่การงาน รับผิดชอบหนา้ ที่ รบั ผดิ ชอบหน้าท่ี

2. ตง้ั ใจและรบั ผิดชอบในการ ที่ได้รับมอบหมาย ที่ไดร้ ับมอบหมาย

ทำงานให้สำเรจ็ ให้สำเรจ็ ให้สำเร็จมีการ

3. ปรบั ปรงุ และพฒั นาการ ปรับปรงุ การ

ทำงานดว้ ยตนเอง ทำงานให้ดีข้นึ

เกณฑ์การผา่ น ได้คะแนนตงั้ แตร่ อ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป (2 คะแนนขน้ึ ไป)

เลขที่ แบบบนั ทึกผลการประเมินสมรรถนะสำคัญ ผลการประเมนิ
หน่วยย่อยที่ 1 เรือ่ ง เราจำแนกส่ิงมีชีวติ อยา่ งไร ผ่าน ไม่ผา่ น
คะแนน ความสามารถในการ รวม ร้อยละ 70
1
2 สอ่ื สาร
3
4 15 15 10
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑก์ ารผา่ น ได้คะแนนตั้งแตร่ อ้ ยละ 70 ข้นึ ไป

แบบประเมนิ สมรรถนะสำคญั

คำชแ้ี จง : ใหส้ งั เกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหวา่ งเรียนและนอกเวลาเรยี น แลว้ ขดี ✓ ลงในชอ่ งทีต่ รง

กบั ระดับคะแนน

สมรรถนะท่ีประเมิน ระดับคะแนน สรปุ

3 2 1 0 ผล

1. ความสามารถในการส่อื สาร

1.1 มคี วามสามารถในการรับ – สง่ สาร

1.2 มีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ ความคิด
ความเข้าใจของตนเอง โดยใช้ภาษาอย่างเหมาะสม

1.3 ใชว้ ธิ ีการส่ือสารทเี่ หมาะสม

1.4 วเิ คราะหแ์ สดงความคิดเหน็ อย่างมีเหตุผล

1.5 เขยี นบันทึกเหตกุ ารณป์ ระจำวนั แลว้ เล่าให้เพื่อนฟังได้

สรุปผลการประเมนิ

เกณฑ์การให้คะแนนระดับคุณภาพ ให้ 3 คะแนน
ดีเย่ียม - พฤติกรรมท่ปี ฏิบตั ิชดั เจนและสม่ำเสมอ ให้ 2 คะแนน
ดี - พฤติกรรมทีป่ ฏบิ ัติชดั เจนและบอ่ ยคร้ัง ให้ 1 คะแนน
ผา่ น - พฤตกิ รรมทีป่ ฏิบัตบิ างคร้ัง ให้ 0 คะแนน
ไม่ผ่าน - ไม่เคยปฏบิ ัตพิ ฤติกรรม

แผนการจดั การเรยี นร้ทู ่ี ๒

กลุ่มสาระการเรยี นรู้ วิทยาศาสตร์ ชน้ั ประถมศึกษาปที ่ี 4

หนว่ ยการเรยี นรู้ท่ี ๒ เร่ือง ส่ิงมชี วี ติ รอบตัว เวลา ๘ ช่ัวโมง
หน่วยยอ่ ยท่ี ๒ เร่อื ง เราจำแนกสตั วไ์ ด้อยา่ งไร จำนวน 2 ช่วั โมง

สอนวนั ท่ี ...... เดอื น............. พ.ศ. ......... ผู้สอน ......................................

สาระสำคญั

สิ่งมีชีวิตมีหลายชนดิ ซึ่งแต่ละชนิดมีลักษณะบางอย่างที่เหมือนกันและลักษณะบางอย่างแตกต่างกัน

ถ้าใช้การสร้างอาหารและการเคลือ่ นไหวเปน็ เกณฑ์ จะใช้การจำแนกเปน็ กลุม่ พืชและกลุม่ สัตว์ โดยกล่มุ พืชเป็น

กลุ่มที่สร้างอาหารเองได้และเคลื่อนที่ไม่ได้ ส่วนกลุ่มสัตว์เป็นสิ่งมีชีวิตที่สร้างอาหารเองไม่ได้และเคลื่อนที่ได้

นอกจากนี้ยังมีส่ิงมชี ีวิตอืน่ ๆ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มพืชและกลุม่ สัตว์ เพราะไม่สามารถเคล่ือนทีไ่ ด้และสร้างอาหารเอง

ไมไ่ ด้

มาตรฐาน
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่ิงมชี ีวติ รวมท้งั นำความรไู้ ปใช้ประโยชน์

ตวั ช้ีวัด
ป.4/๓ จำแนกสัตว์ออกเปน็ สัตวม์ กี ระดูกสนั หลังและ สัตว์ไม่มกี ระดกู สันหลัง โดยใช้การมกี ระดูกสนั

หลัง เปน็ เกณฑ์โดยใช้ข้อมลู ที่รวบรวมได้

สมรรถนะสำคญั ของผูเ้ รยี น
1. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี

คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
1. ใฝเ่ รียนรู้

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สงั เกตและอธบิ ายโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสตั วช์ นดิ ต่าง ๆ (K)
2. จำแนกสตั ว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมกี ระดูกสันหลงั เปน็ เกณฑ์ (K)
๓. รวบรวมข้อมลู และเปรยี บเทยี บลักษณะของส่งิ มีชีวติ (P)
๔. ใฝ่เรยี นรู้(A)

สาระการเรยี นรู้
การจำแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสันหลัง เป็นเกณฑ์ในการจำแนกได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง

และสตั วไ์ มม่ กี ระดูกสนั หลงั

กจิ กรรมการเรียนรู้ (กระบวนการสบื เสาะหาความร้)ู
1. ขนั้ สรา้ งความสนใจ

1. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับโครงสร้างของสัตว์ แบ่งกลุ่มนักเรยี นโดยให้จับฉลากช่ือสัตว์ ตาม
รายการที่ครูเตรียมมาล่วงหน้า นักเรียนแต่ละคนเมื่อ จับฉลากแล้วให้แสดงท่าทางหรือส่งเสียงร้องเพื่อแสดง
ชนิดของสัตว์ที่ตนเอง จับฉลากได้ จากนั้นให้นักเรียนที่จับฉลากได้สัตว์ชนิดเดียวกันมารวมกลุ่มกัน และช่วย
หันวาดรูปโครงสรา้ งภายนอกและโครงสร้างภายในของสัตว์ชนดิ นัน้ ๆ ตามความคดิ ของกลุ่ม นำเสนอผลงาน
โดยนำรูปไปติดที่ผนังห้องเรียน เพื่อให้เพื่อนร่วมชั้นเรียนได้ชม จากนั้นครูใช้แนวคำถามในการอภิปราย
ดังต่อไปนี้

1.1 สตั วท์ นี่ ักเรยี นนำเสนอมีชนดิ ใดบ้าง (เชน่ สุนขั นก เปด็ ผึ้ง กบ ยงุ แมงมุม ไส้เดอื นดนิ )
1.2 สัตว์เหล่านี้มีโครงสร้างภายนอกเหมือนหรือแตกต่างกันอย่างไร (มีทั้งเหมือนกันและ
แตกต่างกัน เช่น สุนัขมีขา 4 ขา มีหาง นกและเป็ดมี 2 ขา มีหางและปีก ผึ้งและยุงมีขา 6 ขา มีปีก ส่วน
ไส้เดือนดินไม่มีขา)
1.3 สัตว์เหล่านี้มโี ครงสร้างภายในเหมือนหรือแตกต่างกันอยา่ งไร (มีทั้งเหมอื นและแตกต่าง
กนั เช่น สุนัข นกและเปด็ ต่างก็มโี ครงกระดูก ภายในเหมอื นกัน ซึง่ แตกตา่ งจากผึ้ง ยงุ และไส้เดือนดิน ท่ีไม่มี
โครง กระดกู ภายใน) ครูรับฟงั คำตอบทอ่ี าจแตกตา่ งกนั (ครอู าจจดคำตอบทน่ี ่าสนใจไว้บนกระดาน)
2. นักเรียนช่วยกันจำแนกสัตว์ทั้ง 8 ชนิด ออกเป็นกลุ่ม ครูสอบถามนักเรียนว่าใช้เกณฑ์ใดในการ
จำแนกสัตว์เหล่านี้ออกเป็นกลุ่ม ครูเชื่อมโยงความรู้ของ นักเรียนไปสู่กิจกรรมที่ 1.2 โดยใช้คำถามว่าเรา
สามารถจดั กลุ่มสัตว์โดยใชเ้ กณฑใ์ ดได้บา้ ง

2. ขัน้ สำรวจและค้นหา
๑. นักเรียนศึกษากิจกรรม และ ตรวจสอบความเข้าใจจุดประสงค์ในการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม

ดงั น้ี
๑.1 กิจกรรมนนี้ ักเรียนจะได้เรียนเรอ่ื งอะไร (การจำแนกสัตว์)
๑.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกตโครงสร้างภายนอกและโครงสร้าง

ภายในของสตั ว์)
๑.3 เมอื่ เรียนแล้วนักเรยี นจะทำอะไรได้ (จำแนกสัตว์ออกเป็นกลมุ่ โดยใชเ้ กณฑข์ องตนเอง

๒. นักเรียนบันทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม หน้า 44 และ อ่านสิ่งที่ ต้องใช้ในการทำ
กิจกรรม จากนัน้ ครูนำวัสดอุ ุปกรณ์มาแสดงใหน้ กั เรียนดทู ลี ะอย่าง

๓. นักเรียนอ่าน แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับขั้นตอนตามความเข้าใจ โดยครูใช้คำถาม
ดังตอ่ ไปน้ี

๓.1 นกั เรยี นต้องสงั เกตสิ่งใดเป็นอันดับแรก (สังเกตลกั ษณะโครงสร้างภายนอกของสัตว์จาก
บัตรภาพ)

๓.2 นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลของสัตว์ในบัตรภาพได้จากที่ ครูอาจดาวน์โหลดบัตรภาพ
ทัง้ หมดมาใหน้ กั เรยี นสังเกต หรือใหน้ กั เรียนใช้ โทรศพั ทใ์ นการสแกน QR code เพอ่ื เข้าถึงข้อมลู ของบัตรภาพ
ได้

๓.3 หลังจากสังเกตโครงสร้างภายนอกของสัตว์จากบัตรภาพแล้วนักเรียนต้องทำสิ่งใด
(กำหนดเกณฑ์การจำแนกสตั วอ์ อกเป็นกลุ่มจากลกั ษณะภายนอกทส่ี งั เกตได้ แล้วนำเสนอผลการจดั กลุ่ม)

3. ขั้นอธบิ ายและลงขอ้ สรุป
๑. เมอ่ื นักเรยี นเข้าใจวธิ กี ารทำกิจกรรม แลว้ นักเรียนจะได้ปฏิบัตติ ามขัน้ ตอนตอ่ ไปนี้
๑.1 สงั เกตลกั ษณะโครงสร้างภายนอกของสัตวจ์ ากบตั รภาพ
๑.2 กำหนดเกณฑ์การจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มตามลักษณะภายนอกที่สังเกตได้ แล้ว

นำเสนอผลการจดั กลมุ่
๑.3 รว่ มกันลงความเห็นเก่ียวกับการจำแนกสัตว์จากลักษณะตา่ ง ๆ ภายนอกของสัตว์

๒. หลังจากทำกจิ กรรมแล้ว ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ดังนี้
๒.1 นักเรียนใช้เกณฑ์ใดบ้างในการจัดสัตว์ออกเป็นกลุ่ม (นักเรียนตอบตามข้อมูลจริงใน

ห้องเรยี น)
๒.2 ครูอาจสุ่มเลือกเกณฑ์ที่นักเรียนใชม้ า 1 เกณฑ์ เช่น เกณฑ์การมีขาและถามว่าสามารถ

จดั สัตวอ์ อกเป็นกลุ่ม แตล่ ะกลุม่ มสี ัตวช์ นดิ ใดบา้ ง (นกั เรียนตอบตามขอ้ มูลจริงในหอ้ งเรยี น)
๒.3 ถ้าเปลี่ยนเกณฑ์ในการจัดกลุ่ม ชนิดของสัตว์ในกลุ่มต่าง ๆ จะเหมือนเดิมหรือไม่ (ชนิด

ของสตั วใ์ นกลุ่มอาจเหมือนเดมิ หรือแตกตา่ ง ไปจากเดิม)
๓. ครูเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมช่วงนี้ไปสู่เรื่องการจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้การมีกระดูกสัน

หลังเป็นเกณฑ์ โดยถามว่านอกจากเกณฑ์ที่นกั เรียนต้ังขึ้นมาแล้ว นักวิทยาศาสตรย์ ังใช้เกณฑ์ใดอีกบ้างในการ
จัดกลุม่ สัตว์

4. นักเรียนร่วมกันอภปิ รายเพื่อสรุปลำดับขั้นตอนในการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามวา่ นักเรียนต้องทำ
สิ่งใดบ้าง (นักเรียนผ่าตัวปลาและกุ้งเพื่อสังเกตลักษณะโครงสร้างภายในตัวปลาและ กุ้ง แล้ววาดรูป จากน้ัน
เปรยี บเทียบโครงสร้างภายในของสัตว์ทง้ั 2 ชนิดนพ้ี ร้อมท้ังระบุส่วนทเ่ี ป็นกระดกู สันหลงั ลงในรปู ทว่ี าด)

๕. เม่ือนกั เรียนเขา้ ใจวธิ กี ารทำกิจกรรม แล้ว นักเรียนจะได้ปฏิบัติตามขั้นตอนตอ่ ไปน้ี
๕.1 สังเกตโครงสรา้ งภายนอกของปลาและกงุ้
๕.2 ผ่าตัวปลาและกุ้ง เพื่อสังเกตโครงสร้างภายใน แล้ววาดรูป ครูต้องกำชับให้นักเรียน

ระมัดระวังการใช้มดี ในการผ่าร่างกายสัตว์ และ ควรมีชุดปฐมพยาบาลเบื้องตน้ ในกรณีท่ีนักเรียนเกิดบาดแผล

จากการ ใช้มีด หากนักเรียนไม่สามารถผ่าร่างกายสัตว์ได้ครูสามารถช่วยเหลือได้ หรือครูสาธิตวิธีการผ่า
รา่ งกายสตั วใ์ ห้ดู ก่อนใหน้ ักเรยี นลงมอื ทำเอง

๕.3 ในกรณีไมส่ ามารถเตรียมตวั อย่างปลาและกงุ้ มาให้นักเรียนสงั เกตได้ครูอาจใหน้ กั เรียนใช้
แอปพลิเคชันสำหรบั การสงั เกตภาพเสมือนจรงิ (AR) ของการผ่าและสงั เกตโครงสรา้ งภายในของปลาและกุ้งได้

๕.4 เปรียบเทียบโครงสร้างภายในของปลาและกุ้ง พร้อมทั้งระบสุ ่วนท่ีเป็นกระดูกสันหลังลง
ในรูปทีว่ าด

๕.5 รว่ มกนั ลงความเห็นเกย่ี วกบั ลักษณะของกระดกู สันหลังของสิง่ มชี วี ิต
๖. หลังจากทำกิจกรรมแลว้ ครูนำอภปิ รายผลการทำกจิ กรรม โดยใช้คำถามดงั นี้

๖.1 ปลาและกุ้ง มีโครงสร้างภายนอกและภายในเหมือนหรอื แตกตา่ งกันอย่างไร (ปลาและกุ้ง
มีโครงสรา้ งภายนอกท่ีเหมือนกนั คอื มหี ัว ตา ปาก หาง มีโครงสร้างภายนอกที่แตกต่างกนั คอื

- ปลามลี ำตวั แบน ตรง ส่วนกุง้ มีลำตวั กลม และงอ
- ปลามีเกล็ดห่อหุ้มลำตัว มีครีบ ส่วนกุ้งมีเปลือกแข็งเป็นปล้อง ๆ หุ้ม ลำตัวปลาและกุ้งมี
โครงสรา้ งภายในทีแ่ ตกตา่ งกนั คือ ปลามโี ครงกระดูกแขง็ หรอื กา้ ง แต่กงุ้ ไมม่ ี และอวัยวะภายในของปลาอยู่ใน
ช่องทอ้ ง ส่วนของกงุ้ อยู่ทห่ี วั )
๖.2 ก้างของปลามีลักษณะอยา่ งไร (มลี กั ษณะเป็นกระดูกแข็งเรยี งต่อกันเป็นข้อ ๆ ตามแนว
ยาวของลำตวั อย่บู ริเวณกลางหลงั )
๖.3 กา้ งของปลาที่เรียงต่อกนั เป็นข้อ ๆ ตามแนวยาวของลำตวั คือสว่ นใดในร่างกายของสัตว์
(กระดูกสันหลงั )
๖.4 กงุ้ มกี ระดูกสันหลังหรอื ไม่ (กุง้ ไมม่ ีกระดูกสนั หลงั )
๗. ใหน้ ักเรียนลองจบั บริเวณกลางหลงั ของเพื่อนต้ังแต่คอลงมาจนถึงเอว แล้วใช้คำถามดงั น้ี
๗.1 มนุษย์มกี ระดูกสนั หลงั หรือไม่ (มนษุ ย์มีกระดูกสันหลงั )
๗.2 กระดูกสันหลังของมนุษย์มีลักษณะอย่างไร (เป็นข้อ ๆ ต่อกันเป็นแนวยาวจากคอจนถึง
เอว)
๗.3 ถ้าจะจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้กระดูกสันหลังเปน็ เกณฑ์ มนุษย์จะอยู่ในกลุ่มเดียวกับปลาหรอื
กุ้ง เพราะเหตุใด (อยูก่ ล่มุ เดยี วกับปลา เพราะมีกระดกู สันหลังเหมอื นกัน)
๘. ครูเชื่อมโยงข้อมูลที่ได้จากการทำกิจกรรมช่วงนี้ไปสู่เรื่องการจัดกลุ่มสัตว์ โดยใช้การมีกระดูกสัน
หลังเป็นเกณฑ์ และถามว่านอกจากมนุษย์ ปลา และ กุ้งแล้ว เราจะจำแนกสัตว์ชนิดอื่น ๆ โดยใช้กระดูกสัน
หลงั เปน็ เกณฑ์ได้ อยา่ งไร
๙. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ข้อ 6-7 แล้วร่วมกันอภิปรายเพื่อสรุปลำดับขั้นตอนตามความเข้าใจ ครู
นำอภิปรายตามแนวคำถามดงั ตอ่ ไปน้ี
๙.1 นักเรียนต้องทำสิ่งใดบ้าง (สังเกตโครงสร้างภายในของสัตว์อื่น ๆ ในบัตรภาพ แล้ว
จำแนกสัตวอ์ อกเปน็ กลมุ่ โดยใชก้ ารมีกระดูกสันหลัง เปน็ เกณฑ์ แล้วนำเสนอผลการจัดกล่มุ )

๙.2 นักเรียนสามารถสืบค้นข้อมูลของบัตรภาพได้จากที่ใด (จากการสแกน QR code ใน
หนงั สอื เรียน หนา้ 52) ครูอาจดาวน์โหลดบัตรภาพทง้ั หมดมาใหน้ ักเรียนสังเกต หรือใหน้ กั เรยี นใช้ โทรศพั ท์ใน
การสแกน QR code เพือ่ เข้าถึงขอ้ มลู ของบัตรภาพได้

๑๐. เม่อื นกั เรียนเข้าใจวิธีการทำกิจกรรม แลว้ นกั เรียนจะได้ปฏิบตั ิตามขัน้ ตอนต่อไปน้ี
1๐.1 สงั เกตโครงสร้างภายในของสัตวใ์ นบตั รภาพ
1๐.2 จำแนกสัตวอ์ อกเปน็ กลุ่มโดยใชก้ ารมกี ระดูกสนั หลังเป็นเกณฑ์ และนำเสนอ
1๐.3 ร่วมกันลงความเห็นขอ้ มูลเก่ียวกบั การมีกระดกู สันหลงั ของสัตวช์ นดิ ตา่ ง ๆ
1๐.4ร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุปเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์โดยใช้การมีกระดูกสนั หลังเป็น

เกณฑ์
1๑. หลงั จากทำกจิ กรรมแลว้ ครูนำอภิปรายผลการทำกิจกรรม โดยใช้คำถามดังน้ี
1๑.1 นักเรียนจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้เกณฑ์การมีกระดูกสันหลังได้เป็นที่กลุ่มอะไรบ้าง (2 กลุ่ม

คือ กลมุ่ ท่มี กี ระดกู สันหลังและกลุ่มทไี่ ม่มีกระดูกสนั หลงั )
1๑.2 ในบัตรภาพมีสตั วช์ นดิ ใดบ้างทม่ี กี ระดกู สนั หลงั (เต่า ก้ิงก่า นก)
1๑.3 ในบตั รภาพมีสัตวช์ นดิ ใดบา้ งทไ่ี มม่ กี ระดูกสันหลัง (แมงมมุ พยาธิ ฟองนำ้ )
1๑.4 ลักษณะโครงสรา้ งภายในของสตั ว์ทงั้ 2 กลมุ่ เหมือนหรือแตกต่างกนั อย่างไร (แตกตา่ ง

กนั คือ กลมุ่ ทม่ี ีกระดูกสันหลังจะมีกระดูกสันหลัง อยภู่ ายในร่างกาย มีลักษณะเปน็ ข้อๆ เรียงต่อกัน ส่วนกลุ่ม
ทไ่ี มม่ ีกระดูกสันหลัง ภายในร่างกายจะไม่มกี ระดูก)

1๒. ครูเปิดโอกาสให้นักเรียนตอบหรือซักถามในสิ่งที่อยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการจัดกลุ่มสัตว์โดยใช้
เกณฑ์ต่าง ๆ จากนั้นร่วมกันอภิปรายและลงข้อสรุป ว่าเราสามารถจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มต่าง ๆ ได้โดยใช้
เกณฑ์ และถา้ ใชก้ าร มีกระดูกสนั หลงั เปน็ เกณฑ์ เราจะจัดกลมุ่ สัตว์ได้เปน็ 2 กล่มุ คือ กลุ่มที่มี กระดูกสันหลัง
เช่น มนุษย์ ปลา กบ กิ้งก่า เต่า นก ซาลาแมนเดอร์ ปลากระเบน ปลา เป็ด เสือ หมี แพนด้า และกลุ่มที่ไม่มี
กระดูกสนั หลัง เช่น กงุ้ ดอกไม้ทะเล ดาวทะเล ฝง่ั พยาธิตวั ตืด ฟองนำ้ แมงมมุ ไสเ้ ดือนดิน หมกึ หอยทาก

1๓. นักเรียนร่วมกันอภิปรายเพื่อตอบคำถามใน ฉันรู้อะไร โดยครูอาจใช้คำถามเพิ่มเติมในการ
อภิปรายเพอื่ ใหไ้ ดแ้ นวคำตอบที่ถกู ต้อง

1๔. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ในกิจกรรมนี้ จากนั้นนักเรียนอ่าน สิ่งที่ได้เรียนรู้ และ
เปรยี บเทยี บกับข้อสรุปของตนเอง

แนวคำตอบในแบบบันทึกกิจกรรม
กจิ กรรมที่ 1.2 เราจำแนกสัตว์ได้อยา่ งไร
จุดประสงคข์ องกจิ กรรม
ทำกจิ กรรมนเ้ี พือ่

1. สงั เกตและอธิบายโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของสตั วช์ นิดตา่ ง ๆ
2. จำแนกสตั วอ์ อกเป็นกล่มุ โดยใช้การมกี ระดูกสนั หลังเป็นเกณฑ์

บันทกึ ผลการทำกิจกรรม
ผลการจำแนกสตั ว์ในบัตรภาพออกเปน็ กลุ่ม ตามเกณฑ์ท่ีกลุ่มกำหนด
เกณฑ์ในการจำแนกสตั ว์ คอื เชน่ การมีขา
ลักษณะของสตั วก์ ลุม่ ท่ี 1 คือ มขี า
สตั ว์ในกลุ่มที่ 1 ไดแ้ ก่ กบ กิ้งกา่ ซาลาแมนเดอร์ เตา่ นก เป็ด เสือ หมแี พนดา้ ก้งุ ผ้งึ แมงมมุ
ลกั ษณะของสตั ว์กลมุ่ ที่ 2 คือ ไมม่ ขี า
สัตว์ในกลุ่มที่ 2 ได้แก่ ปลากระเบน ปลา ดอกไม้ทะเล พยาธิตัวตืด ฟองน้ำ ไส้เดือนดิน หมึก หอยทาก ดาว
ทะเล

ผลการสังเกตโครงสร้างภายนอกและโครงสร้างภายในของปลา โครงสรา้ งภายในของปลา
โครงสรา้ งภายนอกของปลา

ผลการสังเกตโครงสร้างภายนอกและโครงสรา้ งภายในของกงุ้ โครงสร้างภายในของกงุ้
โครงสร้างภายนอกของกงุ้

ผลการจัดจำแนกสตั วใ์ นบตั รภาพออกเป็นกลมุ่ ตามเกณฑ์การมกี ระดกู สันหลงั
จัดกลมุ่ สัตว์ได้ 2 กลมุ่
ลกั ษณะของสัตว์กลมุ่ ท่ี 1 คอื มีกระดูกสนั หลงั
สตั วใ์ นกลุ่มที่ 1 ไดแ้ ก่ กบ กงิ้ กา่ ซาลาแมนเดอร์ เต่า นก ปลากระเบน ปลา เปด็ เสอื หมแี พนดา้
ลกั ษณะของสตั ว์กลมุ่ ที่ 2 คือ ไม่มกี ระดูกสันหลงั
สัตวใ์ นกลุ่มที่ 2 ไดแ้ ก่ กุ้ง ดอกไมท้ ะเล ดาวทะเล ฝงั่ พยาธติ วั ตืด ฟองนำ้ แมงมุม ไส้เดอื นดนิ หมึก หอยทาก

ฉันร้อู ะไร
1. ผลการจำแนกสัตวใ์ นบตั รภาพออกเปน็ กลุ่มของแตล่ ะกลุ่ม เหมือนกันหรอื ไม่ เพราะเหตุใด

คำตอบขึ้นอยูก่ บั เกณฑก์ ารจำแนกของนักเรียนในห้อง เชน่ เหมือนกัน เพราะใช้ เกณฑเ์ ดยี วกันในการ
จำแนก หรอื แตกตา่ งกนั เพราะใชเ้ กณฑแ์ ตกตา่ งกนั ในการ จำแนก
2. โครงสรา้ งภายในของปลาและกุ้งมีลักษณะแตกต่างกนั อย่างไร

แตกต่างกัน คือ โครงสร้างภายในของปลาจะมีอวัยวะภายในอยู่ในช่องท้องและ กระดูกสันหลัง ทอด
ยาวจากสว่ นหัวไปถึงหาง สว่ นโครงสรา้ งภายในของกงุ้ จะมี อวัยวะภายในอยู่ท่สี ว่ นหวั และไมม่ ีกระดกู สันหลัง
3. กระดูกสนั หลังอย่ทู ส่ี ว่ นใดของรา่ งกาย และมีลักษณะอย่างไร

อยู่ในร่างกายบริเวณกลางลำตัว มีลักษณะเป็นกระดูกแข็งเรียงเป็นข้อ ๆ เชื่อมต่อกัน ทอดยาวอยู่ใน
ร่างกายของสัตวส์ ่วนทต่ี ดิ กับหลัง จากศีรษะจนถงึ หาง
4. การจำแนกสัตวใ์ นบัตรภาพตามเกณฑ์การมีกระดกู สนั หลงั จดั ไดก้ ่ีกล่มุ แตล่ ะกลมุ่ มีสัตว์อะไรบ้าง

2 กลุ่ม คือ กลุ่มมีกระดูกสันหลัง ได้แก่ กบ กิ้งก่า ซาลาแมนเดอร์ เต่า นก ปลากระเบน ปลา เป็ด
เสอื หมีแพนดา้ และกลุม่ ไมม่ ีกระดูกสันหลงั ไดแ้ ก่ กุ้ง ดอกไมท้ ะเล ดาวทะเล ผึ้ง พยาธิตัวตดื ฟองน้ำ แมงมุม
ไส้เดอื นดิน หมึก หอยทาก
5. การจำแนกสัตว์โดยใช้เกณฑ์ที่กลุ่มกำหนดและตามเกณฑ์การมีกระดูกสันหลัง ได้ผลเหมือน หรือแตกต่าง
กนั อย่างไร

คำตอบข้ึนอยกู่ บั เกณฑก์ ารจำแนกของกลุ่ม เชน่ เหมือนกัน เพราะเกณฑท์ ่ีกลมุ่ ใช้คือ การมีกระดูกสัน
หลัง หรือแตกต่างกัน เพราะกลุ่มใช้เกณฑ์การมีขา ทำให้รายชื่อสัตว์ ท่ีจำแนกได้แตกต่างจากรายชื่อสัตว์ที่
จำแนกโดยใชเ้ กณฑ์การมีกระดกู สนั หลัง
6. จากกจิ กรรมน้ี คน้ พบอะไรบา้ งเกีย่ วกบั การจำแนกสัตว์

สัตว์แต่ละชนิดจะมีโครงสร้างภายนอกบางอย่างเหมือนและบางอย่างแตกต่างกัน สามารถใช้
โครงสร้างภายนอกเป็นเกณฑ์ในการจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มได้ นอกจากนั้น เราอาจจำแนกสัตว์ตาม
โครงสรา้ งภายใน ซง่ึ พบว่าสตั วบ์ างชนิดมกี ระดูกสนั หลงั
บางชนิดไม่มีกระดูกสันหลัง จึงสามารถใช้ลักษณะการมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์ในการ จำแนกสัตว์ออกเป็น
กลุ่ม คอื สัตวม์ ีกระดูกสนั หลงั และกลุม่ สัตว์ไมม่ ีกระดูกสนั หลัง
7. จากส่งิ ทคี่ ้นพบ สรุปไดว้ า่ อย่างไร

การจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่ม อาจทำได้โดยใช้ลักษณะภายนอกเป็นเกณฑ์ในการ จำแนก ซึ่งถ้าใช้
เกณฑ์การมีกระดูกสนั หลัง จะจำแนกกลุม่ สัตว์ออกได้เป็น 2 กลมุ่ คือ กล่มุ สัตวม์ ีกระดูกสันหลงั และกลุ่มสัตว์
ไมม่ ีกระดกู สนั หลัง

4. ขัน้ ขยายความรู้
๑. ครูตั้งคำถามแบบคิดวิเคราะห์ถามนักเรียน ว่าหากอยากรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการจำแนก

สัตว์ เช่น สัตว์ส่วนใหญ่ในโลกนี้เป็นสัตว์กลุ่มใด

5. ขั้นประเมนิ
๑. ครูประเมินนกั เรยี นดา้ นความรู้ โดยตรวจใบงาน จากกิจกรรม เร่อื ง เราจำแนกสัตว์ไดอ้ ยา่ งไร
๒. ครปู ระเมนิ นักเรียนด้านทักษะกระบวนการ การรวบรวมข้อมูลและเปรยี บเทยี บลักษณะของสงิ่ มชี ีวิต
๓. ครปู ระเมินนักเรียนดา้ นคุณลกั ษณะโดยใช้แบบประเมนิ ความใฝ่เรียนรู้

สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แบบบนั ทึกกจิ กรม รายวิชาพืน้ ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เลม่ 1
ใบกจิ กรรม 1.2 เราจำแนกสัตว์ได้อย่างไร
- หนงั สือเรยี นวทิ ยาศาสตร์ รายวชิ าพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ ป.4 เล่ม 1
- ตัวอยา่ งวีดทิ ศั น์ปฏิบัติการวทิ ยาศาสตรเ์ รือ่ งเราจำแนกสัตว์ไดอ้ ย่างไร http://ipst.me/8050

การวดั และประเมินผล

จดุ ประสงค์การเรียนรู้ วธิ กี ารวดั เคร่ืองมอื ที่ใช้วัด เกณฑ์ในการวัด
- แบบประเมนิ ใบกิจกรรม
ด้านความรู้ - ตรวจใบกจิ กรรม เรอ่ื ง คะแนนร้อยละ
70 ขึน้ ไปผา่ น
ส ั ง เ ก ต แ ล ะ อ ธ ิ บ า ย เราจำแนกสตั วไ์ ด้อยา่ งไร

โครงสร้างภายนอกและ

โครงสร้างภายในของ

สตั ว์ชนดิ ต่าง ๆ (K)

จำแนกสตั วอ์ อกเปน็ - ตรวจใบกจิ กรรม เรื่อง - แบบประเมนิ ใบกิจกรรม
กลมุ่ โดยใช้การมีกระดูก เราจำแนกสตั ว์ได้อย่างไร
สันหลังเปน็ เกณฑ์ (K)

จุดประสงค์การเรียนรู้ วธิ ีการวัด เครื่องมือทใี่ ช้วัด เกณฑใ์ นการวดั
- แบบประเมินการ
ด้านทักษะกระบวนการ - ตรวจการเปรยี บเทยี บ เปรยี บเทยี บลกั ษณะของ
ส่ิงมชี วี ติ
ร ว บ ร ว ม ข ้ อ ม ู ล แ ล ะ ลกั ษณะของสงิ่ มชี วี ิต

เปรียบเทียบลักษณะ

ของส่ิงมชี ีวติ (P)

ด้านคณุ ลกั ษณะ - สงั เกตความใฝ่เรยี นรู้ - แบบประเมนิ ใฝเ่ รียนรู้
ใฝ่เรยี นรู้(A)

ความคิดเห็นผู้บริหาร / ผู้ทีไ่ ด้รบั มอบหมาย

ได้ทำการตรวจแผนการจดั การเรียนรู้ แลว้
๕. เป็นแผนการจัดการเรยี นรู้ที่

o ดีมาก
o ดี
o พอใช้
o ควรปรบั ปรุง

๖. การจดั กจิ กรรมได้นำเอากระบวนการเรียนรู้

o เน้นผู้เรียนเปน็ สำคัญ ใชก้ ระบวนการ Active Leaning ได้อยา่ งเหมาะสมกัผเู้ รยี น
o ยังไม่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสำคัญ ควรปรับปรุงพฒั นาต่อไป

๗. เป็นแผนการจดั การเรยี นรูท้ ่ี

o นำไปใช้ไดจ้ รงิ
o ควรปรบั ปรุงกอ่ นนำไปใช้

๘. ขอ้ เสนอแนะอ่ืน
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................................................................................................................

ลงชอื่ .............................................................
(......................................................................)
ตำแหนง่ ......................................................................

บันทึกผลการจดั การเรยี นรู้
หนว่ ยย่อยท่ี ๒ เรื่อง เราจำแนกสัตวไ์ ดอ้ ยา่ งไร

ผลการเรียนรู้ นกั เรียนทั้งหมด ............. คน มผี ลการเรียนเป็นดงั นี้

ดา้ นความรู้
1. สงั เกตและอธิบายโครงสร้างภายนอกและโครงสรา้ งภายในของสัตว์ชนดิ ต่าง ๆ (K)

จำนวนนกั เรยี นทผ่ี ่านเกณฑ์จำนวน ..................คน คิดเป็นรอ้ ยละ .................................
จำนวนนกั เรยี นที่ไม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คิดเป็นรอ้ ยละ ................................

2. จำแนกสตั ว์ออกเปน็ กลุ่มโดยใช้การมีกระดกู สันหลงั เปน็ เกณฑ์ (K)
จำนวนนักเรียนทผ่ี ่านเกณฑ์จำนวน ..................คน คิดเปน็ รอ้ ยละ .................................
จำนวนนกั เรียนทไ่ี ม่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คดิ เปน็ ร้อยละ ................................

ด้านทักษะกระบวนการ
๓. รวบรวมขอ้ มลู และเปรยี บเทยี บลกั ษณะของสง่ิ มีชีวติ (P)

จำนวนนกั เรยี นท่ผี ่านเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
จำนวนนกั เรียนทไ่ี ม่ผ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ................................

ด้านคณุ ลักษณะ
๔. ใฝ่เรียนรู้(A)

จำนวนนักเรียนทผ่ี ่านเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เปน็ ร้อยละ .................................
จำนวนนักเรยี นทไ่ี มผ่ ่านเกณฑ์จำนวน ...............คน คดิ เป็นร้อยละ ................................

สรุปภาพรวมตามจุดประสงค์การเรียนท้งั 3 ดา้ น
จำนวนนักเรยี นที่ผา่ นเกณฑจ์ ำนวน ..................คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ .................................
จำนวนนกั เรยี นท่ไี มผ่ ่านเกณฑจ์ ำนวน ...............คน คิดเปน็ ร้อยละ ................................

บันทกึ พฤติกรรมนกั เรยี น
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ปญั หา / อุปสรรค
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

แนวทางแกไ้ ขและผลการแก้ไข
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ..................................................ผสู้ อน
(.....................................................................)
.................../.........................../....................

แบบบนั ทึกผลการผ่านจุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ รอ้ ยละ ผลการประเมิน
หนว่ ยย่อยท่ี ๒ เร่ือง เราจำแนกสตั วไ์ ด้อย่างไร 70 ผ่าน ไมผ่ า่ น
เลขที่ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ รวม ผ่าน
ข้อที่ 1 ข้อท่ี ๒ ข้อที่ ๓ ข้อที่ ๔

คะแนน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑ์การผ่าน ไดค้ ะแนนตั้งแต่รอ้ ยละ 70 ขึน้ ไป

เกณฑ์การให้คะแนนดา้ นความรู้

หนว่ ยยอ่ ยท่ี ๒ เร่ือง เราจำแนกสัตว์ไดอ้ ยา่ งไร

ประเดน็ การประเมิน ระดับคะแนน

การบรรยาย 32 1
รายละเอยี ด สามารถใช้ประสาทเก็บ
เกย่ี วกับโครงสรา้ งภายนอก สามารถใช้ประสาทเกบ็ สามารถใช้ประสาทเก็บ รายละเอยี ด เก่ยี วกบั
และโครงสร้างภายในของ โครงสร้างภายนอกและ
สัตว์แตล่ ะชนดิ รายละเอียด เกีย่ วกบั รายละเอียด เก่ยี วกบั โครงสรา้ งภายในของ
สตั ว์แต่ละชนิดได้
การกำหนดเกณฑ์ โครงสร้างภายนอกและ โครงสรา้ งภายนอกและ บางสว่ น แมว้ ่าจะได้
การจำแนกสัตว์ รับคำช้แี นะจากครหู รอื ผู้
ตามเกณฑ์ท่ี โครงสร้างภายในของสัตว์ โครงสรา้ งภายในของ อน่ื
กำหนดและการจำแนกสตั ว์ สามารถกำหนดเกณฑ์
เป็นสัตวม์ ี กระดูกสนั หลัง แต่ละชนดิ ได้ดว้ ยตนเอง สัตวแ์ ต่ละชนิดได้ จาก การจำแนกสตั ว์
และสตั วไ์ ม่มีกระดูกสันหลงั ตามเกณฑ์ท่ี
โดยใชก้ ารมีกระดกู สันหลงั โดยไมเ่ พ่ิมเตมิ ความ การชี้แนะข้องครู กำหนดและการจำแนก
เป็นเกณฑ์ สตั วเ์ ปน็ สตั ว์มี กระดกู
คดิ เหน็ หรือผู้อนื่ หรอื มีการ สันหลังและสตั วไ์ ม่มี
กระดูกสันหลัง โดยใช้
เพ่มิ เติม ความคิดเหน็ การมีกระดกู สันหลังได้
ถูกต้อง บางส่วน แมว้ ่า
สามารถกำหนดเกณฑ์ สามารถกำหนดเกณฑ์ จะได้ รับคำช้ีแนะจากครู
หรือผู้อ่นื
การจำแนกสตั ว์ การจำแนกสตั ว์

ตามเกณฑ์ที่ ตามเกณฑ์ที่

กำหนดและการจำแนก กำหนดและการจำแนก

สัตวเ์ ปน็ สัตว์มี กระดูกสัน สตั วเ์ ปน็ สัตว์มี กระดูก

หลังและสตั ว์ไมม่ ีกระดูก สันหลงั และสตั วไ์ มม่ ี

สันหลัง โดยใชก้ ารมี กระดูกสนั หลัง โดยใช้

กระดูกสันหลังได้อย่าง การมกี ระดูกสนั หลงั ได้

ถูกต้องได้ด้วยตนเอง อยา่ งถูกต้อง จากการ

ช้แี นะ ข้องครูหรอื ผู้อ่ืน

เกณฑก์ ารผา่ น ไดค้ ะแนนตัง้ แต่รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป (3 คะแนนขึ้นไป)

เกณฑ์การใหค้ ะแนนด้านทกั ษะกระบวนการ
หนว่ ยย่อยท่ี ๒ เรื่อง เราจำแนกสัตว์ได้อยา่ งไร

ทักษะกระบวนการ รายการประเมนิ ดี (3) ระดับความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ สามารถนำข้อมูลที่ได้ พอใช้ (2) สามารถนำข้อมลู ที่ได้
การจดั กระทำและ การนำข้อมูลท่ีได้ จากการสงั เกต จากการสงั เกต
ส่อื ความหมาย จากการสงั เกต โครงสร้างภายนอกและ สามารถนำข้อมูลที่ได้ โครงสร้างภายนอก
ขอ้ มลู โครงสร้างภายนอก โครงสรา้ งภายใน ของ จากการสังเกต และโครงสรา้ งภายใน
และโครงสร้าง สัตวม์ า จำแนกสัตว์ โครงสรา้ งภายนอก ของสัตวม์ า จำแนก
การลงความเหน็ ภายใน ของสัตว์มา และนำข้อมูลมาจัด และโครงสร้างภายใน สัตว์ และนำข้อมูลมา
จากข้อมูล จำแนกสัตว์ และนำ กระทำโดยการเขยี น ของสัตว์มา จำแนก จดั กระทำโดยการเขียน
ขอ้ มูลมาจัดกระทำ แผนภาพ หรอื รปู แบบ สัตว์ และนำข้อมูลมา แผนภาพ หรอื รูปแบบ
การตคี วามหมาย โดยการเขียน อ่ืน ๆ และส่ือให้ผู้อ่นื จดั กระทำโดยการ อน่ื ๆ และสอื่ ให้ผู้อน่ื
ขอ้ มลู และลง แผนภาพ หรือ เขา้ ใจผลของการจำแนก เขียนแผนภาพ หรือ เขา้ ใจผลของการ
ขอ้ สรปุ รูปแบบอ่นื ๆ สัตวอ์ อกเป็นกลุ่ม ได้ รปู แบบอนื่ ๆ จำแนกสัตวอ์ อกเปน็
และสอ่ื ให้ผู้อนื่ อย่างถูกต้องได้ด้วย และสอื่ ให้ผู้อื่น กลมุ่ ไดถ้ ูกต้อง
เขา้ ใจผลของการ ตนเอง เขา้ ใจผลของการ บางส่วน แมว้ ่าจะไดร้ บั
จำแนกสตั ว์ จำแนกสตั วอ์ อกเปน็ คำช้แี นะจากครหู รอื
ออกเป็นกลุม่ สามารถลงความเห็น กล่มุ ได้อย่างถูกต้อง ผู้อืน่
จากข้อมลู ว่า สตั วช์ นดิ จากการช้ีแนะข้องครู สามารถลงความเห็น
ลงความเหน็ จาก ใดเปน็ สัตว์ กระดูกสนั หรือผู้อื่น จากข้อมูลว่า สตั ว์ชนดิ
ข้อมลู ว่า สตั วช์ นดิ หลังหรือสัตว์ไมม่ ีกระดูก สามารถลงความเห็น ใดเป็นสตั ว์ กระดูกสัน
ใดเป็นสตั ว์ กระดูก สันหลงั โดยใช้การมี จากข้อมลู ว่า สัตว์ชนดิ หลงั หรอื สตั ว์ไมม่ ี
สนั หลงั หรอื สัตวไ์ ม่ กระดูกสันหลงั เป็น ใดเป็นสัตว์ กระดูกสนั กระดูกสันหลังโดยใช้
มีกระดูกสนั หลัง เกณฑ์ได้อย่างถูกต้องได้ หลังหรอื สตั ว์ไม่มี การมกี ระดูกสนั หลัง
โดยใช้การมกี ระดูก ดว้ ยตนเอง กระดูกสันหลังโดยใช้ เปน็ เกณฑไ์ ด้ถกู ต้อง
สนั หลงั เป็นเกณฑ์ การมีกระดกู สนั หลงั บางส่วนแมว้ า่ จะได้รบั
สามารถตคี วามหมาย เป็นเกณฑไ์ ด้อย่าง คำช้ีแนะจากครหู รอื
ตีความหมายข้อมลู ข้อมลู จากการสงั เกต ถูกต้องจาก การชแี้ นะ ผู้อ่ืน
จากการสงั เกต ข้องครูหรอื ผู้อ่นื สามารถตคี วามหมาย
ข้อมลู จากการสงั เกต
สามารถตคี วามหมาย
ข้อมลู จากการสังเกต

ทักษะกระบวนการ รายการประเมิน ดี (3) ระดบั ความสามารถ ควรปรับปรุง (1)
ทางวิทยาศาสตร์ พอใช้ (2) โครงสรา้ งภายนอก
และโครงสรา้ งภายใน
โครงสร้างภายนอก โครงสร้างภายนอกและ โครงสรา้ งภายนอก ของสตั ว์ รวมท้งั การ
และโครงสร้างภายใน ผ่าร่างกายสัตวไ์ ด้ว่า
และโครงสร้าง โครงสรา้ งภายใน ของ ของสตั ว์ รวมทั้ง การ สัตว์บางชนดิ มกี ระดูก
ผ่าร่างกายสัตวไ์ ด้ว่า สันหลงั สตั วบ์ างชนดิ
ภายใน ของสัตว์ สตั ว์ รวมทัง้ การผ่า สัตวบ์ างชนดิ มกี ระดูก ไม่มีและลงข้อสรปุ ได้
สนั หลัง สตั ว์บางชนิด วา่ สามารถจำแนกสตั ว์
รวมท้งั การผ่า ร่างกายสตั ว์ได้ว่าสตั ว์ ไมม่ แี ละลงข้อสรุปได้ โดยใชก้ ารมีกระดกู สัน
ว่าสามารถจำแนกสตั ว์ หลงั เปน็ เกณฑ์
ร่างกายสัตวไ์ ดว้ า่ บางชนดิ มีกระดูกสนั โดยใชก้ ารมีกระดกู สัน ออกเปน็ 2 กลุ่ม คือ
หลังเปน็ เกณฑ์ กลมุ่ ทม่ี ีกระดูกสนั หลงั
สัตวบ์ างชนิดมี หลงั สัตว์บางชนิดไมม่ ี ออกเป็น 2 กลมุ่ คือ และกลุม่ ทีไ่ ม่มกี ระดกู
กลมุ่ ทม่ี ีกระดูกสนั หลัง สนั หลังไดบ้ างส่วนแม้
กระดูกสันหลงั สตั ว์ และลงข้อสรุปไดว้ า่ และกลุ่มท่ไี ม่มีกระดูก วา่ จะไดร้ ับ คำชแ้ี นะ
สนั หลัง ไดจ้ ากการ จากครหู รือ ผู้อ่ืน
บางชนดิ ไมม่ ี สามารถจำแนกสัตว์โดย ชแ้ี นะข้องครูหรือผู้อ่นื

กระดูกสนั หลงั และ ใช้การมีกระดูกสนั หลงั

ลงขอ้ สรุปเก่ียวกับ เปน็ เกณฑ์ ออกเป็น 2

การจำแนกสัตวโ์ ดย กลุ่ม คือ กล่มุ ท่ีมีกระดูก

ใชก้ ารมีกระดูกสนั สนั หลงั และกลุม่ ท่ีไม่มี

หลงั เปน็ เกณฑ์ กระดูกสันหลงั ได้ดว้ ย

ตนเอง

เกณฑ์การผา่ น ไดค้ ะแนนต้ังแตร่ ้อยละ 70 ข้นึ ไป (3 คะแนนข้ึนไป)

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนนแบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะ
ความใฝเ่ รยี นรู้

พฤตกิ รรมบ่งช้ี ไม่ผา่ น (0) ผา่ น (1) ดี (2) ดเี ย่ยี ม (3)

๑. ตั้งใจเรยี น ไมต่ ง้ั ใจเรียน ต้ังใจเรยี น เอาใจ ต้ังใจเรียน เอาใจ ต้ังใจเรยี น เอาใจ

๒. เอาใจใส่และมีความเพียร ใสแ่ ละมคี วาม ใสแ่ ละมีความ ใสแ่ ละมีความ
พยายามในการเรยี นรู้ เพียรพยายามใน เพียรพยายามใน เพียรพยายามใน
การเรยี นรู้และ การเรยี นรู้และ การเรยี นรู้และ

๓ สนใจเข้าร่วมกจิ กรรมการ เขา้ รว่ มกจิ กรรม เข้ารว่ มกจิ กรรม เขา้ ร่วมกจิ กรรม

เรยี นร้ตู า่ ง ๆ การเรยี นรู้ตา่ ง การเรยี นร้ตู ่าง การเรียนรู้ต่าง

บางครัง้ บอ่ ยครง้ั เป็นประจำ

เกณฑก์ ารผ่าน ได้คะแนนตั้งแตร่ ้อยละ 70 ขึน้ ไป (2 คะแนนขึ้นไป)

เลขท่ี แบบบนั ทึกผลการประเมินสมรรถนะสำคัญ ผลการประเมนิ
หนว่ ยยอ่ ยที่ ๒ เรือ่ ง เราจำแนกสัตวไ์ ด้อยา่ งไร ผา่ น ไม่ผา่ น
คะแนน ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี ร้อยละ 70
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20

เกณฑก์ ารผ่าน ได้คะแนนต้งั แต่ร้อยละ 70 ขนึ้ ไป

แบบประเมินสมรรถนะสำคญั
มีทกั ษะกระบวนการทางเทคโนโลยี

พฤติกรรมบ่งช้ี ปรับปรงุ (0) พอใช้ (1) ดี (2) ดีเยย่ี ม (3)

รวบรวมขอ้ มูล ใช้เทคโนโลยีรวบรวม ใชเ้ ทคโนโลยรี วบรวม ใชเ้ ทคโนโลยีรวบรวม ใช้เทคโนโลยรี วบรวม

ข้อมูลไดไ้ ม่ตรงกับ ขอ้ มลู แต่ไมเ่ พียง ขอ้ มูลได้ถูกตอ้ งตรง ข้อมลู ไดถ้ ูกตอ้ ง

ปญั หาหรอื ความ พอท่ีจะใช้งาน กับปญั หาหรือความ นา่ เชอื่ ถือตรงกับ

ต้องการ ตอ้ งการเพียงพอท่ีจะ ปญั หาหรอื ความ

นำมาใช้งาน ต้องการเพียงพอทจ่ี ะ

นำมาใชง้ าน

เกณฑก์ ารผา่ น ได้คะแนนตั้งแต่รอ้ ยละ 70 ขน้ึ ไป (2 คะแนนข้นึ ไป)

แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๓

กล่มุ สาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4

หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เรอ่ื ง สง่ิ มีชีวติ รอบตวั เวลา ๘ ชว่ั โมง
หนว่ ยย่อยที่ ๓ เรอ่ื ง เราจำแนกสัตว์มีกระดกู สันหลังไดอ้ ย่างไร จำนวน 2 ช่วั โมง

สอนวันท่ี ...... เดอื น............. พ.ศ. ......... ผูส้ อน ......................................

สาระสำคัญ

การจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลังออกเป็นกลุ่มได้ 5 กลุ่ม คือ กลุ่มปลา กลุ่มสัตว์ สะเทินน้ำสะเทินบก

กล่มุ สัตวเ์ ลือ้ ยคลาน กลุ่มสตั ว์ปกี และกล่มุ สัตวเ์ ลีย้ งลูกดว้ ย น้ำนม โดยใชล้ กั ษณะเฉพาะทส่ี งั เกตไดเ้ ปน็ เกณฑ์

มาตรฐาน
มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พันธุกรรม การเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต ความหลากหลาย ทางชีวภาพและวิวัฒนาการ
ของส่ิงมีชวี ติ รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชี้วัด
ป.4/๔ บรรยายลกั ษณะเฉพาะทส่ี งั เกตได้ของสตั ว์ มีกระดูกสนั หลงั ในกลมุ่ ปลา กลมุ่ สัตว์สะเทินน้ำ

สะเทินบก กลมุ่ สตั วเ์ ลอื้ ยคลาน กลุ่มนก และ กล่มุ สตั วเ์ ลี้ยงลกู ด้วยนำ้ นม และยกตัวอยา่ ง สิง่ มชี วี ติ ในแตล่ ะ
กลุม่

สมรรถนะสำคัญของผ้เู รียน
1. ความสามารถในการคดิ

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน

จดุ ประสงค์การเรยี นรู้
1. สงั เกตและบรรยายลักษณะเฉพาะที่สังเกตได้ของสตั ว์มีกระดกู สนั หลงั กลมุ่ ตา่ ง ๆ (K)
๒. ทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ (P)
๓. ม่งุ มั่นในการทำงาน (A)

สาระการเรียนรู้
การจำแนกสัตว์สามารถใช้การมีกระดูกสันหลัง เป็นเกณฑ์ในการจำแนกได้เป็นสัตว์มีกระดูกสันหลัง

และสตั ว์ไมม่ กี ระดกู สันหลัง

กจิ กรรมการเรยี นรู้ (กระบวนการสบื เสาะหาความร)ู้
1. ขั้นสร้างความสนใจ

1. ครูทบทวนความรู้เดิมเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์ออกเป็นกลุ่มโดยใช้การมีกระดูกสันหลังเป็นเกณฑ์
อาจใช้รูปสัตว์ที่มีกระดูกสันหลังและไม่มีกระดูก สันหลังมาให้นักเรียนสังเกต เช่น ปลา โค กิ้งก่า ยิ่งอ่าง นก
เอีย้ ง ผีเสอื้ ไส้เดอื นดิน แลว้ ใช้คำถามเพอื่ การอภปิ รายดงั น้ี

1.1 สัตวช์ นดิ ใดเปน็ สัตว์มีกระดกู สนั หลัง (ปลา โค กง้ิ กา่ ยงิ่ อา่ ง นกเอ้ียง)
1.2 สัตวช์ นดิ ใดเปน็ สัตวไ์ ม่มกี ระดกู สนั หลงั (ผีเสอื้ ไส้เดอื นดิน)
2. ครูตรวจสอบความรู้เดิมเกี่ยวกับการจำแนกสัตว์มีกระดูกสันหลัง ออกเป็นกลุ่ม โดยให้นักเรียน
สงั เกตรูปสัตวม์ กี ระดูกสนั หลงั อีกครง้ั แล้วใช้คำถามว่า จากลักษณะของสตั วท์ ี่สงั เกตได้สามารถนำมาใช้จำแนก
สตั ว์มีกระดูก สันหลงั ออกเปน็ กลุม่ ได้หรอื ไม่ อยา่ งไร (นกั เรียนตอบตามความเขา้ ใจของตนเอง)
3. ครูเชอื่ มโยงความรเู้ ดมิ ของนกั เรยี นโยงเข้าสูก่ จิ กรรมที่
1.3 โดยชักชวนให้นักเรียนมาร่วมกันสังเกตลักษณะของสัตว์มีกระดูกสันหลัง และให้ใช้
เกณฑ์ ในการจำแนกเหมือนนักวิทยาศาสตร์ในการจำแนกสัตว์มีกระดูกสนั หลังออกเปน็ กล่มุ ต่าง ๆ

2. ข้นั สำรวจและค้นหา
๑. นักเรียนอ่านชื่อกิจกรรม และ ทำเป็นคิดเป็น และร่วมกันอภิปรายเพื่อตรวจสอบความเข้าใจ

เก่ยี วกับจดุ ประสงคใ์ นการทำกิจกรรม โดยใช้คำถาม ดังน้ี
๑.1 กิจกรรมนีน้ ักเรียนจะได้เรียนเรอ่ื งอะไร (การจำแนกสัตว์มกี ระดูกสันหลังออกเปน็ กลุ่มตา่ ง ๆ)
๑.2 นักเรียนจะได้เรียนรู้เรื่องนี้ด้วยวิธีใด (การสังเกต สำรวจหรือสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ

ลักษณะเฉพาะท่สี งั เกตไดข้ องสัตว์มีกระดูกสนั หลัง)
๑.3 เม่ือเรียนแล้วนกั เรยี นจะทำอะไรได้ (บรรยายลักษณะเฉพาะทีส่ ังเกตได้ของสัตวม์ ีกระดูก

สันหลงั กลมุ่ ต่าง ๆ และยกตัวอยา่ งสตั วม์ กี ระดกู สันหลังในแต่ละกลุ่ม)
๒. นักเรยี นบนั ทึกจุดประสงค์ลงในแบบบันทึกกิจกรรม และ อ่านส่ิงทตี่ ้องใชใ้ นการทำกิจกรรม
๓. นักเรียนอ่าน ทำอย่างไร ทีละขอ้ โดยฝกึ อ่านตามความเหมาะสม แลว้ ใหน้ ักเรียนอภิปรายเพ่ือสรุป

ลำดบั ขน้ั ตอน โดยใช้คำถามตอ่ ไปนี้
๓.1 นักเรียนอา่ นใบความรู้เร่ืองอะไร และเมื่ออ่านแล้วต้องทำอะไรบ้าง (อ่านใบความรู้เรื่อง

กลุ่มสัตว์มีกระดูกสันหลัง อ่านแล้วต้องเขียนในการตรวจสอบความรู้ ครู เพียงรับฟังเหตุผลของนักเรียนเป็น
สำคัญ และยงั ไมเ่ ฉลยคำตอบใด ๆ ใหก้ ับนกั เรยี น แต่ชักชวนนกั เรียน ไปหาคำตอบท่ีถูกต้องจากกิจกรรม ต่าง
ๆ ในบทเรยี นน้ี แผนผงั สรุปลักษณะที่สังเกตได้ของสตั ว์มกี ระดกู สันหลังในกลมุ่ ตา่ ง ๆ และนำเสนอ)


Click to View FlipBook Version