The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

หลักสูตร-วิทยาศาสตร์-ป.5 Page

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by nuyui_12, 2022-04-10 09:31:54

หลักสูตร-วิทยาศาสตร์-ป.5 Page

หลักสูตร-วิทยาศาสตร์-ป.5 Page

1



คำนำ

กระทรวงศึกษาธิการได้ประกาศใช้มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด กลุ่มสาระการเรียนรู้
คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ศิ าสตรใ์ นกลุ่มสาระการเรยี นรู้สงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560 ) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ตามคำสั่ง
กระทรวงศึกษาธิการท่ี สพฐ.1239/2560 ลงวันที่ 7 สิงหาคม /2660 และคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ท่ี 30/2561 ลงวันท่ี 5 มกราคม 2561 ให้เปล่ียนแปลงมาตรฐานการเรียนรู้และ
ตัวช้ีวัด กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ และวิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) โดยมีคำสั่งให้
โรงเรียนดำเนินการใช้หลักสูตรในปีการศึกษา 2561 โดยให้ใช้ในชั้นประถมศึกษาปีท่ี 1 และ 4 ต้ังแต่ปี
การศึกษา 2561 เป็นต้นมา ให้เป็นหลักสูตรแกนกลาง ของประเทศ โดยกำหนดจุดหมาย และมาตรฐาน
การเรียนรู้เป็นเป้าหมายและกรอบทิศทางในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนมีพัฒนาการเต็มตามศักยภาพ มี
คุณภาพและมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและเป้าหมายของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐาน

โรงเรียน.......................... จึงได้ทำการปรับปรุงหลักสูตรสถานศึกษา พุทธศักราช 2564
ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และสาระภมู ิศาสตร์ในกลุม่ สาระการเรยี นรู้สงั คมศกึ ษา
ศาสนาและวัฒนธรรม ใช้ในทุกระดับช้ัน เพื่อนำไปใช้ประโยชน์และเป็นกรอบในการวางแผนและพัฒนา
หลักสูตร ของสถานศึกษาและจัดการเรียนการสอน อีกทั้งในปีการศึกษา 2564 โรงเรียนบ้านปางสัก
ได้ปรับปรุงหลักสูตรทุกสาระการเรียนรู้ เพ่ือให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นให้ผู้เรียน
เกิดความรู้ มีคุณธรรมและเสริมสร้างทักษะอาชีพ โดยมีเป้าหมายในการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน ให้มี
กระบวนการนำหลักสูตรไป สู่การปฏิบัติ โดยมีการกำหนดวิสัยทัศน์ จุดหมาย สมรรถนะสำคัญ ของ
ผ้เู รียน คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ มาตรฐานการเรยี นรู้และตัวช้ีวัด โครงสร้างเวลาเรยี น ตลอดจนเกณฑ์
การวัดประเมินผล ให้มีความสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้ เปิดโอกาสให้โรงเรียนสามารถกำหนด
ทิศทาง ในการจัดทำหลักสูตรการเรียนการสอนในแต่ละระดับตามความพร้อมและจุดเน้น โดยมีกรอบ
แกนกลาง เป็นแนวทางที่ชัดเจนเพื่อตอบสนองนโยบายไทยแลนด์ 4.0 มีความพร้อมในการก้าวสู่สังคม
คุณภาพ มคี วามรอู้ ย่างแทจ้ ริง และมีทกั ษะในศตวรรษท่ี 21

การจัดทำหลกั สตู รการศึกษาขั้นพื้นฐานจะประสบความสำเรจ็ ตามเป้าหมายท่คี าดหวงั ได้ ทกุ ฝา่ ย
ท่ีเกี่ยวข้องทั้งระดับชาติ ชุมชน ครอบครัว และบุคคลต้องร่วมรับผิดชอบ โดยร่วมกันทำงานอย่างเป็น
ระบบ และต่อเนื่อง ในการวางแผน ดำเนินการ ส่งเสริมสนบั สนุน ตรวจสอบ ตลอดจนปรับปรุงแกไ้ ข
เพอ่ื พัฒนาเยาวชนของชาติไปสคู่ ุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรทู้ ีก่ ำหนดไว้

ข หนา้

สารบัญ ก

หัวเรื่อง
1
คำนำ 4
สารบญั 6
บทนำ 7
ความสำคญั วิสัยทศั น์ เปา้ หมาย หลักการ จุดหมาย
สมรรถนะสำคัญ คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์ 9
สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้
คุณภาพผเู้ รียน 20
ตารางความสัมพันธ์ระหวา่ งตวั ช้วี ดั ชั้นปกี ับสาระการเรยี นรู้ 23
ตารางความสมั พันธ์ระหว่างตัวช้วี ดั ช้นั ปีกับสาระการเรียนรแู้ กนกลาง 24
สว่ นท่ี 3 คำอธบิ ายรายวชิ า และบันทึกผลการจัดทำโครงสร้างรายวิชา
คำอธบิ ายรายวิชา 30
โครงสร้างหนว่ ยการเรียนรู้ 33
แบบบันทกึ ผลการจดั ทำโครงสร้างรายวชิ า 39
ส่วนท่ี 4 การออกแบบการเรียนรู้ และบันทกึ หน่วยการเรียนรู้ 41
ตารางการออกแบบการเรยี นรู้หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 46
แบบบันทึกหนว่ ยการเรียนรู้ที่ 1 ส่งิ มีชีวิตและส่ิงแวดล้อม 49
ตารางการออกแบบการเรยี นร้หู น่วยการเรียนรูท้ ี่ 2 55
แบบบนั ทึกหนว่ ยการเรียนรทู้ ี่ 2 ลักษณะทางพนั ธุกรรม 58
ตารางการออกแบบการเรียนรู้หน่วยการเรียนรู้ท่ี 3 64
แบบบันทึกหนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 3 การเปลี่ยนแปลงของสาร 67
ตารางการออกแบบการเรยี นรู้หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 4 73
แบบบนั ทกึ หนว่ ยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและพลังงาน 76
ตารางการออกแบบการเรียนรู้หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 5 82
แบบบันทกึ หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 5 เสยี ง 85
ตารางการออกแบบการเรยี นรู้หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 6 92
แบบบันทกึ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 6 ปรากฏการณฺของกล่มุ ดาว 93
ตารางการออกแบบการเรียนรู้หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 7
แบบบนั ทึกหนว่ ยการเรยี นรูท้ ่ี 7 วฏั จักรของนำ้
ประกาศการใชห้ ลกั สูตรสถานศกึ ษา

คำสง่ั จัดทำหลักสตู รสถานศึกษา

1

บทนำ

ความสำคญั
ตัวช้ีวัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.

2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 น้ีได้กำหนดสาระ การเรียนรู้
ออกเป็น 4 สาระ ได้แก่ สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ สาระท่ี 3
วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ และสาระที่ 4 เทคโนโลยีมีสาระเพ่ิมเติม 4 สาระ ได้แก่ สาระชีววิทยา สาระ
เคมีสาระฟสิ ิกส์สาระโลก ดาราศาสตร์และอวกาศ ซ่ึงองคป์ ระกอบของหลักสูตร ทัง้ ในด้านของเนื้อหา การ
จัดการเรียนการสอน และการวัดและประเมินผลการเรียนรู้นั้น มีความสำคัญอย่างยิ่งในการวางรากฐาน
การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ของผู้เรียนในแตล่ ะระดับชนั้ ให้มี ความต่อเนื่องเชอ่ื มโยงกัน ตั้งแต่ช้ันประถมศึกษา
ปที ี่ 1 จนถึงชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 6 สำหรับกลุ่มสาระ การเรยี นรู้วิทยาศาสตรไ์ ด้กำหนดตัวช้วี ัดและสาระการ
เรียนรู้แกนกลาง ที่ผู้เรียนจำเป็นต้องเรียน เป็นพ้ืนฐาน เพื่อให้สามารถนำความรู้น้ีไปใช้ในการดำรงชีวิต
หรือศกึ ษาตอ่ ในวชิ าชพี ท่ตี ้องใช้ วิทยาศาสตร์ไดโ้ ดยจดั เรียงลำดับความยากงา่ ยของเนอ้ื หาแต่ละสาระในแต่
ละระดับชั้นให้มีการเชื่อมโยง ความรู้กับกระบวนการเรียนรู้และการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้
ผู้เรียนพัฒนาความคิด ท้ังความคิดเป็นเหตุเป็นผล คิดสร้างสรรค์ คิดวิเคราะห์วิจารณ์ มีทักษะที่สำคัญทั้ง
ทักษะ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และทักษะในศตวรรษท่ี 21 ในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ ด้วย
กระบวนการสืบเสาะหาความรู้สามารถแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ สามารถตั ดสินใจ โดยใช้ข้อมูล
หลากหลายและประจักษพ์ ยานท่ตี รวจสอบได้

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) ตระหนักถึงความสำคัญ ของการ
จัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ที่มุ่งหวังให้เกิดผลสัมฤทธ์ิต่อผู้เรียนมากที่สุด จึงได้จัดทำตัวชี้วัด และสาระการ
เรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 ขึ้น เพื่อให้สถานศึกษา ครูผู้สอนตลอดจนหน่วยงานต่าง ๆ ได้ใช้
เป็นแนวทางในการพัฒนาหนังสือเรียน คู่มือครูส่ือประกอบการเรียน การสอน ตลอดจนการวัดและ
ประเมินผล โดยตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง กลุ่มสาระ การเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ที่จัดทำขึ้นนี้ได้ปรับปรุง
เพื่อให้มีความสอดคล้องและเช่ือมโยงกันภายในสาระ การเรียนรู้เดียวกันและระหว่างสาระการเรียนรู้ใน
กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ตลอดจน การเช่ือมโยงเนือ้ หาความรูท้ างวิทยาศาสตรก์ ับคณิตศาสตรด์ ้วย
นอกจากนี้ยงั ได้ปรับปรุงเพื่อให้มี ความทันสมัยต่อการเปลยี่ นแปลง และความเจริญก้าวหน้าของวิทยาการ
ตา่ ง ๆ และทัดเทียมกับ นานาชาติ

2

วสิ ัยทศั น์
หลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียน.......................... กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มุ่ง

พัฒนาผู้เรียนทุกคนให้สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 ให้มีศักยภาพด้านทักษะกระบวนการ
ทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล การทดลองบันทึก จัด
กลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสารส่ิงท่ีเรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีจิต
วิทยาศาสตร์ มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสถานศึกษาและมีสมรรถนะสำคัญท้ัง 5 ประการ ท้ังหมดน้ี
เปน็ การมงุ่ เสริมสร้างศักยภาพและเป็นไปตามหลักสูตรโรงเรียนคุณภาพประจำตำบล

เป้าหมาย
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์มุ่งหวังให้ผู้เรียนได้เรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่เน้นการ เชื่อมโยง

ความรู้กับกระบวนการ มีทักษะสำคัญในการค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการในการสืบ
เสาะหาความรู้และแก้ปัญหาที่หลากหลาย ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ ทุกขั้นตอน มีการทำกิจกรรม
ดว้ ยการลงมอื ปฏิบัตจิ ริงอยา่ งหลากหลาย เหมาะสมกบั ระดบั ชนั้ โดยกำหนดสาระสำคัญ ดังนี้

✧ วิทยาศาสตร์ชีวภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ชีวิตในสิ่งแวดล้อม องค์ประกอบของสิ่งมีชีวิต การดำรงชีวิต
ของมนุษย์และสัตว์การดำรงชีวิตของพืช พันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ และวิวัฒนาการของ
สิง่ มชี วี ิต

✧ วิทยาศาสตร์กายภาพ เรียนรู้เก่ียวกับ ธรรมชาติของสาร การเปล่ียนแปลงของสาร การเคลื่อนท่ี
พลงั งาน และคลนื่

✧ วิทยาศาสตร์โลกและอวกาศ เรียนรู้เกี่ยวกับ องค์ประกอบของเอกภพ ปฏิสัมพันธ์ ภายในระบบ
สุริยะ เทคโนโลยีอวกาศ ระบบโลก การเปลี่ยนแปลงทางธรณีวิทยา กระบวนการ เปลี่ยนแปลงลมฟ้า
อากาศ และผลตอ่ สง่ิ มชี ีวติ และสงิ่ แวดลอ้ ม

✧ เทคโนโลยี
● การออกแบบและเทคโนโลยีเรียนรู้เก่ียวกับเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิต ในสังคมที่มีการ

เปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์ และศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือ
แก้ปัญหาหรือพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบ เชิงวิศวกรรม เลือกใช้
เทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสมโดยคำนงึ ถงึ ผลกระทบต่อชวี ิต สังคม และสิ่งแวดลอ้ ม

● วิทยาการคำนวณ เรียนรู้เก่ียวกับการคิดเชิงคำนวณ การคิดวิเคราะห์แก้ปัญหา เป็นขั้นตอนและ
เป็นระบบ ประยุกต์ใช้ความร้ดู ้านวิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการ
แก้ปญั หาทีพ่ บในชีวติ จรงิ ได้อยา่ งมปี ระสิทธภิ าพ

3

หลกั การ
หลักสตู รแกนกลางการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน มหี ลกั การท่สี ำคัญ ดังนี้
1. เป็นหลกั สตู รการศึกษาเพื่อความเป็นเอกภาพของชาติ มีจุดหมายและมาตรฐานการ

เรียนรู้ เปน็ เปา้ หมายสำหรับพัฒนาเด็กและเยาวชนให้มีความรู้ ทักษะ เจตคติ และคุณธรรมบนพ้นื ฐาน
ของความเปน็ ไทยควบคู่กบั ความเป็นสากล

2. เป็นหลกั สูตรการศึกษาเพื่อปวงชน ทป่ี ระชาชนทุกคนมีโอกาสได้รับการศึกษาอย่างเสมอภาค และมี
คุณภาพ

3. เป็นหลักสูตรการศึกษาท่ีสนองการกระจายอำนาจ ให้สังคมมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษา
ให้สอดคลอ้ งกับสภาพและความตอ้ งการของท้องถน่ิ

4. เป็นหลกั สูตรการศึกษาทมี่ โี ครงสร้างยืดหยุ่นทัง้ ดา้ นสาระการเรียนรู้ เวลาและการจดั การเรียนรู้
5. เปน็ หลักสูตรการศึกษาทเ่ี น้นผ้เู รียนเป็นสำคัญ
6. เป็นหลักสตู รการศึกษาสำหรบั การศึกษาในระบบ นอกระบบ และตามอัธยาศัย ครอบคลมุ ทุก
กลุ่มเป้าหมาย สามารถเทยี บโอนผลการเรียนรู้ และประสบการณ์

จดุ หมาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้เป็นคนดี มีปัญญา มีความสุข

มีศักยภาพในการศึกษาต่อ และประกอบอาชีพ จึงกำหนดเป็นจุดหมายเพ่ือให้เกิดกับผู้เรียน เมื่อจบ
การศกึ ษาขนั้ พ้นื ฐาน ดงั นี้

1. มีคุณธรรม จรยิ ธรรม และค่านิยมท่ีพงึ ประสงค์ เหน็ คุณคา่ ของตนเอง มีวนิ ัยและปฏบิ ัติตน
ตามหลกั ธรรมของพระพทุ ธศาสนา หรือศาสนาทตี่ นนบั ถือ ยึดหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2. มคี วามรู้ ความสามารถในการสื่อสาร การคดิ การแกป้ ัญหา การใชเ้ ทคโนโลยี และมที กั ษะชีวิต
3. มีสุขภาพกายและสขุ ภาพจติ ทด่ี ี มสี ขุ นิสัย และรักการออกกำลงั กาย
4. มีความรักชาติ มีจิตสำนึกในความเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ยึดม่ันใน วิถีชีวิตและ
การปกครองตามระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเป็นประมขุ
5. มีจติ สำนึกในการอนุรักษว์ ัฒนธรรมและภูมิปญั ญาไทย การอนรุ ักษ์และพฒั นาสิ่งแวดล้อม มี
จติ สาธารณะทม่ี ุ่งทำประโยชน์และสรา้ งส่งิ ท่ดี งี ามในสังคม และอยรู่ ่วมกันในสงั คมอย่างมคี วามสุข

4

เปา้ หมายของวิทยาศาสตร์
ในการเรยี นการสอนวิทยาศาสตร์มุ่งเน้นให้ผ้เู รียนได้คน้ พบความรู้ด้วยตนเองมากที่สุดเพื่อให้ได้ท้ัง

กระบวนการและความรู้จากวิธีการสังเกตการสํารวจตรวจสอบการทดลองแล้วนําผลที่ได้มาจัดระบบเป็น
หลกั การแนวคดิ และองค์ความรู้

การจดั การเรยี นการสอนวทิ ยาศาสตรจ์ ึงมีเปา้ หมายที่สําคญั
๑. เพอ่ื ให้เข้าใจหลกั การ ทฤษฎีและกฎที่เป็นพืน้ ฐานในวชิ าวิทยาศาสตร์
๒. เพ่ือให้เข้าใจขอบเขตของธรรมชาติของวิชาวิทยาศาสตร์และข้อจํากัดในการศึกษาวิชา

วทิ ยาศาสตร์
๓. เพอ่ื ใหม้ ที ักษะทส่ี าํ คญั ในการศกึ ษาคน้ คว้าและคดิ ค้นทางเทคโนโลยี
๔. เพื่อให้ตระหนักถึงความสมั พันธ์ระหว่างวิชาวทิ ยาศาสตร์เทคโนโลยีมวลมนุษยแ์ ละสภาพแวด

สภาพแวดลอ้ มในเชงิ ท่ีมีอทิ ธิพลและผลกระทบซง่ึ กนั และกัน
๕. เพื่อนําความรู้ความเข้าใจในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคม

และการดาํ รงชีวติ
๖. เพื่อพัฒนากระบวนการคิดและจินตนาการความสามารถในการแก้ปัญหาและการจัดการ

ทักษะในการสอ่ื สารและความสามารถในการตดั สินใจ
๗. เพ่ือให้เป็นผู้ท่ีมีจิตวิทยาศาสตร์มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมในการใช้วิทยาศาสตร์และ

เทคโนโลยอี ยา่ งสรา้ งสรรค์

สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รยี น
ในการพัฒนาผ้เู รยี นตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรียนให้มีคณุ ภาพ

ตามมาตรฐานท่ีกำหนด ซ่ึงจะช่วยให้ผเู้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญและคุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ ดังนี้
สมรรถนะสำคัญของผูเ้ รยี น

หลกั สตู รแกนกลางการศึกษาข้นั พ้นื ฐาน มุ่งให้ผูเ้ รยี นเกิดสมรรถนะสำคัญ 5 ประการ ดังน้ี
1. ความสามารถในการสอ่ื สาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร มวี ฒั นธรรมในการใช้
ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรูส้ กึ และทศั นะของตนเองเพื่อแลกเปลย่ี นข้อมูลข่าวสาร
และประสบการณ์อนั จะเปน็ ประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเองและสังคม รวมท้งั การเจรจาต่อรองเพ่ือขจัดและ
ลดปัญหาความขัดแย้งตา่ ง ๆ การเลือกรบั หรือไม่รบั ขอ้ มูลขา่ วสารด้วยหลักเหตผุ ลและความถูกต้อง
ตลอดจนการเลือกใช้วธิ ีการสื่อสาร ท่มี ีประสิทธภิ าพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่ีมตี ่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิด เป็นความสามารถในการคิดวเิ คราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิด อย่าง
สร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ และการคิดเป็นระบบ เพ่ือนำไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือ
สารสนเทศเพื่อการตัดสนิ ใจเกีย่ วกับตนเองและสังคมได้อยา่ งเหมาะสม

5

3. ความสามารถในการแก้ปัญหา เป็นความสามารถในการแก้ปัญหาและอุปสรรคต่าง ๆ
ท่ีเผชิญได้อย่างถูกต้องเหมาะสมบนพื้นฐานของหลักเหตุผล คุณธรรมและข้อมูลสารสนเทศ เข้าใจ
ความสัมพนั ธ์และการเปล่ียนแปลงของเหตุการณต์ า่ ง ๆ ในสังคม แสวงหาความรู้ ประยกุ ต์ความร้มู าใช้

ในการปอ้ งกนั และแก้ไขปัญหา และมีการตดั สินใจท่ีมปี ระสิทธิภาพโดยคำนึงถึงผลกระทบท่เี กิดข้ึน
ตอ่ ตนเอง สังคมและส่ิงแวดลอ้ ม

4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เปน็ ความสามารถในการนำกระบวนการต่าง ๆ ไปใช้ใน
การดำเนนิ ชวี ติ ประจำวนั การเรียนร้ดู ว้ ยตนเอง การเรียนรู้อยา่ งต่อเนือ่ ง การทำงาน และการอยรู่ ว่ มกนั
ในสงั คมด้วยการสร้างเสริมความสมั พนั ธอ์ นั ดีระหวา่ งบคุ คล การจดั การปัญหาและความขดั แยง้ ตา่ ง ๆ อย่าง
เหมาะสม การปรับตัวให้ทันกับการเปลย่ี นแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม และการรจู้ ักหลกี เลี่ยง
พฤติกรรมไมพ่ ึงประสงค์ทส่ี ง่ ผลกระทบตอ่ ตนเองและผู้อื่น

5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การส่ือสาร
การทำงาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถกู ตอ้ ง เหมาะสม และมีคณุ ธรรม

คณุ ลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือให้

สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่ืนในสงั คมไดอ้ ย่างมีความสุข ในฐานะเปน็ พลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี
1. รักชาติ ศาสน์ กษตั ริย์
2. ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต
3. มวี นิ ัย
4. ใฝ่เรยี นรู้
5. อยอู่ ย่างพอเพยี ง
6. มงุ่ มน่ั ในการทำงาน
7. รกั ความเป็นไทย
8. มจี ิตสาธารณะ

6

สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ
มาตรฐาน ว 1.1 เขา้ ใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิง่ ไม่มีชวี ิต กับสง่ิ มชี วี ิต

และความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ มีชวี ิตกับสงิ่ มชี ีวิตตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอด
พลงั งาน การเปล่ียนแปลงแทนทใี่ นระบบนเิ วศ ความหมายของ ประชากร ปญั หาและ
ผลกระทบท่ีมีตอ่ ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหาสิ่งแวดลอ้ ม รวมทง้ั นำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มชี วี ิต หน่วยพ้นื ฐานของส่งิ มชี ีวติ การลำเลยี งสารเข้า และออกจาก
เซลล์ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหน้าท่ีของระบบตา่ ง ๆ ของสัตวแ์ ละมนุษย์ที่
ทำงานสมั พันธก์ นั ความสมั พันธข์ องโครงสรา้ ง และหนา้ ท่ี ของอวัยวะตา่ ง ๆ ของพืชท่ี
ทำงานสัมพันธก์ นั รวมท้ังนำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์
มาตรฐาน ว 1.3 เขา้ ใจกระบวนการและความสำคญั ของการถ่ายทอดลักษณะทางพันธกุ รรม สาร
พนั ธกุ รรม การเปลย่ี นแปลงทางพนั ธุกรรมที่มีผลตอ่ สงิ่ มีชีวิต ความหลากหลาย ทาง
ชวี ภาพและววิ ฒั นาการของสิง่ มีชีวติ รวมทงั้ นำความร้ไู ปใช้ประโยชน์

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตรก์ ายภาพ
มาตรฐาน ว 2.1 เขา้ ใจสมบัตขิ องสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสมั พนั ธร์ ะหวา่ งสมบตั ขิ อง สสารกับ

โครงสร้างและแรงยึดเหน่ียวระหวา่ งอนุภาค หลกั และธรรมชาติ ของการเปลย่ี นแปลง
สถานะของสสาร การเกิดสารละลาย และการเกิด ปฏิกริ ยิ าเคมี
มาตรฐาน ว 2.2 เขา้ ใจธรรมชาตขิ องแรงในชีวติ ประจำวนั ผลของแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถุ ลักษณะ การ
เคล่อื นทแี่ บบตา่ ง ๆ ของวัตถุรวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลงั งาน การเปล่ยี นแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน ปฏสิ มั พนั ธ์
ระหว่างสสารและพลงั งาน พลงั งานในชวี ติ ประจำวัน ธรรมชาตขิ อง คลื่น ปรากฏการณ์ที่
เก่ียวข้องกบั เสยี ง แสง และคล่ืนแม่เหล็กไฟฟ้า รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองคป์ ระกอบ ลกั ษณะ กระบวนการเกิด และววิ ัฒนาการของเอก
ภพ กาแลก็ ซีดาวฤกษแ์ ละระบบสุรยิ ะ รวมท้ังปฏิสมั พันธภ์ ายในระบบสุรยิ ะ ท่สี ง่ ผลตอ่
สิง่ มชี ีวติ และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสมั พันธข์ องระบบโลก กระบวนการเปลีย่ นแปลง ภายใน
โลก และบนผิวโลก ธรณีพิบตั ิภยั กระบวนการเปล่ยี นแปลงลมฟา้ อากาศและภูมิอากาศ
โลก รวมทั้งผลต่อส่ิงมีชวี ติ และสง่ิ แวดล้อม

7

สาระท่ี 4 เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว 4.1 เขา้ ใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยเี พื่อการดำรงชวี ติ ในสงั คมท่ีมกี ารเปลี่ยนแปลง อย่าง

รวดเร็ว ใช้ความรู้และทกั ษะทางด้านวิทยาศาสตร์คณติ ศาสตร์และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพ่ือ
แกป้ ัญหาหรือพัฒนางานอยา่ งมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิง
วิศวกรรม เลอื กใชเ้ ทคโนโลยีอย่างเหมาะสม โดยคำนึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สงั คม และ
สง่ิ แวดล้อม
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใชแ้ นวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปญั หาทีพ่ บในชวี ติ จรงิ อยา่ งเป็น ขัน้ ตอนและ
เปน็ ระบบ ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการ
แกป้ ญั หาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ ร้เู ท่าทนั และมีจริยธรรม

คุณภาพผูเ้ รียน
จบชน้ั ประถมศึกษาปีท่ี 5

❖ เข้าใจโครงสร้าง ลกั ษณะเฉพาะและการปรับตวั ของสิ่งมีชวี ิต การทำหนา้ ท่ขี องส่วนต่าง ๆ ของพชื

❖ เขา้ ใจสมบตั ิและการจำแนกกลุ่มของวสั ดุ สถานะของสาร

❖ เข้าใจลักษณะของแรงโน้มถว่ งของโลก

❖ เข้าใจปรากฏการณก์ ารเปล่ียนแปลงรูปร่างปรากฏ ของดวงจันทร์องค์ประกอบของระบบสรุ ิยะ

❖ ค้นหาข้อมูลอย่างมีประสิทธภิ าพและประเมินความนา่ เชอ่ื ถอื ตดั สนิ ใจเลือกข้อมูล ใช้เหตุผลเชิงตรรกะ
ในการแก้ปัญหา ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสารในการทำงานร่วมกัน เข้าใจสิทธิและหน้าท่ี
ของตน เคารพสทิ ธขิ องผู้อื่น

❖ ตั้งคำถามหรือกำหนดปัญหาเก่ียวกับสิ่งท่ีจะเรียนรู้ตามที่กำหนดให้หรือตาม ความสนใจ คาดคะเน
คำตอบหลายแนวทาง สร้างสมมติฐานที่สอดคล้องกับคำถามหรือปัญหา ท่ีจะสำรวจตรวจสอบ
วางแผนและสำรวจตรวจสอบโดยใช้เครื่องมือ อุปกรณ์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ท่ีเหมาะสม ในการ
เก็บรวบรวมข้อมลู ท้ังเชงิ ปริมาณและคณุ ภาพ

❖ วิเคราะห์ข้อมูล ลงความเห็น และสรุปความสัมพันธ์ของข้อมูลที่มาจากการ สำรวจตรวจสอบใน
รูปแบบท่ีเหมาะสม เพื่อสื่อสารความรู้จากผลการสำรวจตรวจสอบได้อย่างมี เหตุผลและหลักฐาน
อา้ งองิ

❖ แสดงถึงความสนใจ มุ่งม่ัน ในสิ่งท่ีจะเรียนรู้มีความคิดสร้างสรรค์เกี่ยวกับ เร่ืองที่จะศึกษาตามความ
สนใจของตนเอง แสดงความคิดเห็นของตนเอง ยอมรับในข้อมูลที่มี หลักฐานอ้างอิง และรับฟังความ
คิดเห็นผอู้ น่ื

❖ แสดงความ รับผดิ ชอบด้วยการทำงานที่ได้ รับมอบหมายอย่างมุ่งม่นั รอบคอบ ประหยัด ซ่อื สัตย์จน
งานลุลว่ งเปน็ ผลสำเรจ็ และทำงานรว่ มกบั ผอู้ ืน่ อย่างสรา้ งสรรค์

8

❖ ตระหนักในคุณค่าของความรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ใช้ความรแู้ ละ กระบวนการทางวิทยาศาสตร์
ในการดำรงชีวติ แสดงความช่ืนชม ยกยอ่ ง และเคารพสิทธิในผลงาน ของผ้คู ิดค้นและศึกษาหาความรู้
เพมิ่ เตมิ ทำโครงงานหรือชิ้นงานตามท่ีกำหนดใหห้ รือตามความสนใจ

❖ แสดงถึงความซาบซึ้ง ห่วงใย แสดงพฤติกรรมเกี่ยวกับการใช้การดูแลรักษา ทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอ้ มอย่างรู้คณุ ค่า

9

ตารางความสมั พันธ์ระหวา่ งตวั ชว้ี ดั ช้นั ปีกบั สาระการเรียนร้แู กนกลาง

กล่มุ สาระการเรยี นรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนิเวศ ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสง่ิ ไมม่ ชี ีวิต กับ

สิง่ มีชวี ิต และความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ิตกบั สง่ิ มชี วี ติ ตา่ ง ๆ ในระบบนิเวศ การถ่ายทอดพลงั งาน การ

เปลี่ยนแปลงแทนท่ีในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปญั หาและผลกระทบที่มีต่อ

ทรัพยากรธรรมชาติและส่งิ แวดล้อม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรพั ยากรธรรมชาติและการแก้ไขปัญหา

สิ่งแวดลอ้ ม รวมทงั้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชว้ี ัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรทู้ ้องถน่ิ

1.บรรยายโครงสรา้ งและลกั ษณะ - สิ่งมีชีวติ ท้ังพชื และสัตวม์ โี ครงสรา้ ง -
ของส่ิงมีชวี ติ ทเ่ี หมาะสมกบั การ และลักษณะ ท่ีเหมาะสมในแต่ละแหล่ง
ดำรงชีวติ ซ่งึ เป็นผลมาจากการ ท่อี ยู่ ซึ่งเป็นผลมาจาก การปรับตัวของ
ปรับตวั ของส่งิ มชี ีวิตในแตล่ ะแหล่ง สง่ิ มีชีวติ เพ่ือให้ดำรงชีวติ และอยรู่ อดได้
ทอ่ี ยู่ ในแต่ละแหล่งท่อี ยู่ เชน่ ผักตบชวามี
ช่องอากาศในกา้ นใบ ชว่ ยให้ลอยน้ำได้
2. อธิบายความสัมพันธ์ระหวา่ ง ตน้ โกงกางท่ีขึ้นอยู่ใน ปา่ ชายเลนมรี าก
สง่ิ มีชวี ติ กบั ส่งิ มชี ีวิต และ ค้ำจนุ ทำใหล้ ำต้นไมล่ ้ม ปลามีครีบชว่ ย
ความสัมพันธ์ระหวา่ งสิ่งมีชีวิตกบั ในการเคล่ือนท่ีในนำ้
3. เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาท - ในแหลง่ ทอ่ี ยหู่ น่ึง ๆ ส่ิงมีชวี ิตจะมี
หน้าที่ของสิ่งมีชีวิตทเ่ี ปน็ ผู้ผลติ และ
ผ้บู ริโภคในโซ่อาหาร ความสมั พนั ธ์ ซึง่ กนั และกันและสมั พันธ์
4. ตระหนักในคุณคา่ ของ
สง่ิ แวดล้อมทม่ี ีตอ่ การดำรงชีวติ กบั สิ่งไม่มีชีวิต เพื่อประโยชน์ตอ่ การ
ของสิ่งมีชวี ิต โดยมีสว่ นร่วม ในการ
ดแู ลรักษาสิง่ แวดล้อม ดำรงชวี ติ เชน่ ความสมั พันธก์ นั ด้านการ

กินกนั เป็นอาหาร เป็นแหล่งที่อย่อู าศัย

หลบภยั และเล้ียงดูลูกอ่อน ใช้อากาศใน

การหายใจ

- สง่ิ มีชวี ติ มกี ารกินกนั เป็นอาหารโดย
กนิ ตอ่ กัน เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซ่
อาหารทำใหส้ ามารถระบบุ ทบาทหนา้ ที่
ของสง่ิ มีชวี ติ เป็นผูผ้ ลิตและผบู้ ริโภค

10

สาระที่ 1 วทิ ยาศาสตรช์ ีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.2 เข้าใจสมบัติของส่งิ มชี วี ิต หนว่ ยพ้นื ฐานของส่งิ มชี วี ติ การลำเลียงสารเขา้ และ

ออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสรา้ งและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ทที่ ำงานสมั พนั ธ์

กนั ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าท่ี ของอวยั วะตา่ ง ๆ ของพชื ท่ที ำงานสมั พันธ์กนั รวมท้ังนำความรู้

ไปใชป้ ระโยชน์

ตวั ชว้ี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรู้ทอ้ งถ่นิ

- --

สาระท่ี 1 วิทยาศาสตร์ชีวภาพ

มาตรฐาน ว 1.3 เข้าใจกระบวนการและความสำคัญของการถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม สาร

พนั ธกุ รรม การเปล่ียนแปลงทางพนั ธุกรรมท่ีมีผลต่อส่ิงมชี วี ติ ความหลากหลาย ทางชวี ภาพและวิวัฒนาการ

ของสิ่งมีชวี ิต รวมทง้ั นำความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์

ตัวชีว้ ัด สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรทู้ อ้ งถน่ิ

1. อธิบายลักษณะทางพันธกุ รรมทีม่ ี - สง่ิ มีชีวิตทง้ั พชื สตั ว์ และมนษุ ย์ เมอ่ื โตเตม็ ท่ี -
การถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูกของพืช จะมีการสืบพันธเ์ุ พื่อเพ่ิมจำนวนและดำรงพันธ์ุ -
สตั ว์ และมนษุ ย์ โดยลกู ท่เี กิดมาจะไดร้ บั การถ่ายทอดลักษณะ
2. แสดงความอยากรู้อยากเห็นโดย ทางพันธุกรรมจากพอ่ แมท่ ำใหม้ ลี กั ษณะทาง
การถามคำถามเกี่ยวกับลักษณะที่ พันธุกรรมท่เี ฉพาะแตกตา่ งจากสง่ิ มชี ีวิตชนดิ
คล้ายคลงึ กนั ของตนเองกับพอ่ แม่ อืน่
- พชื มกี ารถา่ ยทอดลักษณะทางพันธุกรรม
เชน่ ลักษณะของใบ สีดอก
- สตั วม์ ีการถา่ ยทอดลกั ษณะทางพันธกุ รรม
เช่น สีขน ลกั ษณะของขน ลักษณะของหู
- ม นุ ษ ย์ มี ก ารถ่ าย ท อ ด ลั ก ษ ณ ะ ท าง
พันธุกรรม เช่น เชิงผมที่หน้าผาก ลักยิ้ม
ลักษณะหนังตำ การหอ่ ล้ิน ลักษณะของติ่งหู

11

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.1 เข้าใจสมบัติของสสาร องค์ประกอบของสสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติ ของ

สสารกับโครงสรา้ งและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค หลักและธรรมชาติ ของการเปล่ียนแปลงสถานะของ

สสาร การเกิดสารละลาย และการเกิดปฏกิ ิรยิ าเคมี

ตัวช้ีวดั สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรียนรู้

ทอ้ งถ่ิน

1. อธิบายการเปลี่ยนสถานะของ - ก ารเป ล่ี ย น ส ถ าน ะ ข อ งส ส ารเป็ น ก าร

สสาร เมื่อทำให้สสารร้อนขึ้นหรือ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ เม่ือเพิ่มความร้อน

เยน็ ลง โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจกั ษ์ ให้กับสสารถึงระดับหนึ่งจะทำให้สสารท่ีเป็น

ของแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นของเหลว เรียกว่า

การหลอมเหลว และเม่ือเพ่ิม ความร้อนต่อไป

จนถึงอีกระดับหนึ่งของเหลวจะเปล่ียนเป็นแก๊ส

เรียกว่า การกลายเป็นไอ แต่เมื่อลดความร้อน

ล ง ถึ ง ร ะ ดั บ ห นึ่ ง แ ก๊ ส จ ะ เป ล่ี ย น ส ถ า น ะ เ ป็ น

ของเหลว เรียกว่า การควบแน่น และถ้าลด

ความร้อนต่อไปอีกจนถึงระดับหนึ่งของเหลวจะ

เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็ง เรียกว่า การแข็งตัว

ส ส า ร บ า ง ช นิ ด ส า ม า ร ถ เป ลี่ ย น ส ถ า น ะ จ า ก

ของแข็งเป็นแก๊สโดยไม่ผ่านการเป็น ของเหลว

เรียกว่า การระเหิด ส่วนแก๊สบางชนิดสามารถ

เปลี่ยนสถานะเป็นของแข็งโดยไม่ผ่าน การเป็น

ของเหลว เรยี กวา่ การะเหิดกลบั

2. อธิบายการละลายของสารในน้ำ - เมื่อใส่สารลงในน้ำแล้วสารน้ันรวมเป็นเน้ือ

โดยใช้หลกั ฐานเชิงประจักษ์ เดียวกันกับน้ำท่ัวทุกส่วน แสดงว่าสารเกิดการ

ละลาย เรียกสารผสมทีไ่ ดว้ ่าสารละลาย

3. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงของ - เมื่อผสมสาร 2 ชนิดขึ้นไปแล้วมีสารใหม่

เม่ือเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี เกิดข้ึน ซึ่งมีสมบัติจากสารเดิม หรือเมื่อสาร

โดยใชห้ ลักฐานเชิงประจักษ์ ชนิดเดียว เกิดการเปล่ียนแปลงแล้วมีสารใหม่

เกิดขึ้น การเป ลี่ยน แป ลงนี้ เรียกว่า การ

เปล่ียนแปลงทางเคมี ซ่ึงสังเกตได้จากมีสี หรือ

กล่ินต่างจากสารเดิม หรือ มีฟองแก๊ส หรือมี

ตะกอนเกิดขึ้น หรือมีการเพิ่มข้ึนหรือลดลงของ

ตัวชวี้ ัด 12 สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรแู้ กนกลาง ท้องถ่นิ

อณุ หภูมิ

4. วิ เค ร า ะ ห์ แ ล ะ ร ะ บุ ก า ร เม่ือสารเกิดการเปลี่ยนแปลงแล้ว สารามารถ
เปลี่ยนแปลงที่ผันกลับได้และการ เปล่ียนกลบั เป็นสารเดิมได้ เปน็ การเปล่ยี นแปลง
เปลย่ี นแปลงทผ่ี นั กลบั ไม่ได้ ทผ่ี นั กลับได้ เชน่ การหลอมเหลว การกลายเป็น
ไอ การละลาย แต่สารบางอย่างเกิดการ
เปลี่ยนแปลง แล้วไม่สามารถเปลี่ยนกลับเป็น
สารเดิมได้ เป็นการเปล่ียนแปลงที่ผันกลับไม่ได้
เช่น การเผาไหม้ การเกดิ สนมิ

สาระท่ี 2 วทิ ยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจำวัน ผลของแรงที่กระทำต่อวัตถุ ลักษณะ

การเคลื่อนทแี่ บบต่าง ๆ ของวัตถุ รวมท้งั นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ตัวชีว้ ดั สาระการเรยี นรูแ้ กนกลาง สาระการเรียนรู้ทอ้ งถน่ิ

1.อธิบายวิธีการหาแรงลัพธ์ของ - แรงลพั ธ์เปน็ ผลรวมของแรงทกี่ ระทำต่อ
แ ร ง ห ล า ย แ ร ง ใน แ น ว เดี ย ว กั น ที่ วตั ถุ โดยแรงลัพธ์ของแรง 2 แรงทีก่ ระทำต่อ
กระทำต่อวัตถุในกรณีที่วัตถุอยู่นิ่ง วตั ถุเดยี วกนั จะมีขนาดเทา่ กบั ผลรวมของ
จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ แรงทั้งสองเมื่อแรงท้ังสอง อยู่ในแนว
2. เขียน แผน ภ าพ แสดงแรงที่ เดียวกนั และมีทศิ ทางเดยี วกัน แตจ่ ะมีขนาด
กระทำต่อวัตถุท่ีอยู่ในแนวเดียวกัน เท่ากบั ผลต่างของแรงทัง้ สองเมือ่ แรงทั้งสอง
และแรงลพั ธท์ ีก่ ระทำต่อวัตถุ อย่ใู นแนวเดยี วกันแตม่ ที ิศทางตรงข้ามกัน
3. ใชเ้ ครือ่ งชั่งสปริงในการวัดแรงท่ี สำหรับวัตถุท่อี ยู่นิง่ แรงลัพธ์ท่กี ระทำต่อ
กระทำตอ่ วตั ถุ

วัตถุมีค่าเป็นศนู ย์- การเขยี นแผนภาพของ

แรงทก่ี ระทำต่อวัตถสุ ามารถเขียนไดโ้ ดยใช้

ลกู ศร โดยหัวลกู ศรแสดงทิศทางของแรง

และความยาวของลูกศรแสดงขนาดของแรง

ท่ีกระทำต่อวตั ถุ

13

ตวั ช้ีวดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ

4.ระบุผลของแรงเสียดทานท่ีมีต่อ - แรงเสียดทานเป็นแรงท่ีเกิดขึ้นระหว่าง
การเปล่ียนแปลงการเคลื่อนที่ของ ผิวสัมผัสของวัตถุ เพื่อต้านการเคล่ือนท่ี
วตั ถุจากหลกั ฐานเชิงประจักษ์ ของวัตถุนั้น โดยถ้าออกแรงกระทำต่อวัตถุ
5. เขียนแผนภาพแสดงแรงเสียด ท่ีอยู่น่ิงบนพื้นผิวหน่ึงให้เคล่ือนท่ี แรง
ทานและแรง ท่ีอยู่ในแนวเดียวกัน เสี ย ด ท า น จ า ก พื้ น ผิ ว นั้ น ก็ จ ะ ต้ า น ก า ร
ทกี่ ระทำตอ่ วัตถุ เคลื่อนที่ของวัตถุ แต่ถ้าวัตถุกำลังเคล่ือนท่ี
แรงเสียดทานกจ็ ะทำให้วัตถุน้นั เคล่ือนทีช่ ้า
ลง หรือหยุดนิง่

สาระที่ 2 วิทยาศาสตร์กายภาพ

มาตรฐาน ว 2.3 เข้าใจความหมายของพลังงาน การเปล่ียนแปลงและการถ่ายโอนพลังงาน

ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสสารและพลังงาน พลังงานในชีวิตประจำวัน ธรรมชาติ ของคลื่น ปรากฏการณ์ท่ี

เกย่ี วข้องกบั เสียง แสง และคลนื่ แม่เหล็กไฟฟา้ รวมทง้ั นำความรู้ไปใชป้ ระโยชน์

ตัวชีว้ ดั สาระการเรียนรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่ิน

1.อ ธิบ าย ก ารได้ ยิ น เสี ย งผ่ าน - การไดย้ นิ เสยี งน้ันต้องอาศัยตัวกลางโดย -
ตวั กลาง จากหลักฐานเชงิ ประจักษ์ อาจเปน็ ของแข็ง ของเหลว หรอื อากาศ

เสียงจะส่งผ่านตัวกลางมายังหู

2. ระบุตัวแปร ทดลองและอธิบาย - เสียงทีไ่ ดย้ ินมรี ะดบั สูงต่ำของเสียงต่างกัน
ลักษณะและการเกิดเสียงสูง เสียง ขึน้ กับความถข่ี องการส่ันของแหล่งกำเนดิ
ตำ่ เสยี ง โดยเมอ่ื แหล่งกำเนิดเสยี งสั่นดว้ ย
3. ออกแบบกำรทดลองและอธบิ าย ความถ่ตี ่ำจะเกิดเสยี งตำ่ แตถ่ ้าสนั่ ดว้ ย
ลักษณะและการเกิดเสียงดัง เสียง ความถส่ี ูงจะเกิดเสียงสงู สว่ นเสยี งดงั คอ่ ยท่ี
ค่อย ได้ยินขนึ้ กบั พลงั งานการส่ันของแหลง่ กำเนิด
4. วัดระดับเสียงโดยใช้เคร่ืองมือวัด เสยี ง โดยเมือ่ แหลง่ กำเนิดเสียงสั่นพลังงาน
ระดับเสียง มากจะเกิดเสียงดัง แต่ถา้ แหลง่ กำเนดิ เสยี ง
5. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ ส่ันด้วยพลงั งานนอ้ ยจะเกดิ เสียงคอ่ ย- เสียง
เรื่ อ ง ร ะ ดั บ เสี ย ง โ ด ย เส น อ แ น ะ ดังมาก ๆ เปน็ อนั ตรายต่อการไดย้ ินและ
แนวทางในการหลีกเลี่ยงและลด เสียงที่กอ่ ให้เกิดความรำคาญเปน็ มลพิษทาง
มลพิษทางเสียง เสียง เดซิเบลเป็นหนว่ ยทบี่ อกถึงความดัง
ของเสยี ง

14

สาระที่ 3 วทิ ยาศาสตรโ์ ลก และอวกาศ
มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจองค์ประกอบ ลักษณะ กระบวนการเกิด และวิวัฒนาการของเอกภพ

กาแล็กซี ดาวฤกษ์ และระบบสุริยะ รวมท้ังปฏิสัมพันธ์ภายในระบบสุริยะ ท่ีส่งผลต่อส่ิงมีชีวิต และการ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยอี วกาศ

ตัวช้วี ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นร้ทู อ้ งถ่ิน
1. เปรียบเทียบความแตกต่างของ -
ด า ว เค ร า ะ ห์ แ ล ะ ด า ว ฤ ก ษ์ จ า ก - ดาวที่มองเห็นบนท้องฟ้าอยู่ในอวกาศซ่ึง
แบบจำลอง เป็นบริเวณท่ีอยู่นอกบรรยากาศของโลกมี -
ท้ังดาวฤกษ์และดาวเคราะห์ ดาวฤกษ์เป็น
2. ใช้แผนท่ีดาวระบุตำแหน่งและ แหล่งกำเนิดแสงจึงสามารถมองเห็นได้
เส้นทาง การข้ึนและตกของกลุ่ม ส่วนดาวเคราะห์ ไม่ใช่แหล่งกำเนิดแสง
ดาวฤกษ์บนท้องฟ้า และอธิบาย แต่สามารถมองเห็นได้เน่ืองจากแสงจาก
แ บ บ รู ป เส้ น ท า ง ก า ร ข้ึ น แ ล ะ ต ก ดวงอาทิตย์ตกกระทบดาวเคราะห์แล้ว
ของกลมุ่ ดาวฤกษ์บนท้องฟ้าในรอบ สะท้อนเข้าสูต่ ำ
ปี - การมองเห็นกลุ่มดาวฤกษ์มีรูปร่างต่าง ๆ
เกิดจากจินตนาการของผู้สังเกต กลุ่มดาว
ฤกษ์ต่าง ๆ ท่ีปรากฏในท้องฟ้าแต่ละกลุ่ม
มีดาวฤกษ์แต่ละดวงเรียงกันที่ตำแหน่ง
คงท่ี และมีเส้นทางการข้ึนและตกตาม
เส้นทางเดิมทุกคืน ซ่ึงจะปรากฏตำแหน่ง
เดิมการสังเกตตำแหน่งและการข้ึนและตก
ของดาวฤกษ์และกลุ่มดาวฤกษ์สามารถทำ
ได้โดยใช้แผนท่ีดาว ซึ่งระบุมุมทิศและมุม
เงยท่ีกลุ่มดาวนั้นปรากฏ ผู้สังเกตสามารถ
ใช้มือในการประมาณค่าของมุมเงยเมื่อ
สังเกตดาวในท้องฟา้

15

สาระท่ี 3 วิทยาศาสตร์โลก และอวกาศ

มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปล่ียนแปลง

ภายในโลกและบนผิวโลก ธรณีพิบตั ิภัย กระบวนการเปล่ียนแปลง ลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมท้ัง

ผลตอ่ ส่ิงมีชีวิตและสิง่ แวดลอ้ ม

ตัวช้ีวัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถิน่

1. เปรยี บเทียบปริมาณน้ำในแต่ละ - โลกมีทง้ั นำ้ จืดและนำ้ เค็มซ่ึงอยใู่ นแหลง่ นำ้ -
แหล่ง และระบุปริมาณนำ้ ทมี่ นุษย์ ต่าง ๆ ที่มีท้งั แหล่งน้ำผิวดิน เช่น ทะเล
สามารถนำมาใช้ประโยชนไ์ ด้ จาก มหาสมุทร บงึ แมน่ ำ้ และแหล่งน้ำใตด้ ิน
ขอ้ มลู ทรี่ วบรวมได้ เชน่ น้ำในดนิ และน้ำบาดาล น้ำทง้ั หมดของ

โลกแบ่งเปน็ นำ้ เค็มประมาณ ร้อยละ 97.5

ซ่งึ อย่ใู นมหาสมุทรและแหลง่ นำ้ อน่ื ๆ และท่ี

เหลอื อกี ประมาณร้อยละ 2.5 เปน็ นำ้ จืด ถำ้

เรียงลำดับปรมิ าณนำ้ จดื จากมากไปน้อยจะ

อยูท่ ี่ ธารน้ำแขง็ และพดื นำ้ แข็ง นำ้ ใต้ดิน ชน้ั

ดินเยือกแข็งคงตัวและน้ำแข็งใตด้ นิ

ทะเลสาบ ความช้ืนในดิน ความชื้นใน

บรรยากาศ บงึ แมน่ ำ้ และน้ำในสิ่งมีชวี ติ

2. ตระหนักถึงคุณค่าของนำ้ โดย - นำ้ จืดท่มี นุษยน์ ำมาใชไ้ ด้มีปรมิ าณน้อย
นำเสนอแนวทาง การใชน้ ้ำอย่าง มาก จงึ ควรใช้นำ้ อย่างประหยัดและร่วมกัน
ประหยดั และการอนรุ ักษน์ ้ำ อนุรักษน์ ้ำ

3.สรา้ งแบบจำลองที่อธิบายการ - วฏั จกั รน้ำ เป็นการหมนุ เวยี นของนำ้ ที่มี
หมุนเวยี น ของนำ้ ในวฏั จักรน้ำ แบบรปู ซ้ำเดิม และตอ่ เนื่องระหวา่ งนำ้ ใน
บรรยากาศ นำ้ ผิวดนิ และนำ้ ใต้ดิน โดย
พฤติกรรมการดำรงชวี ิตของพืชและสัตว์
สง่ ผลต่อวัฏจกั รนำ้

4.เปรยี บเทยี บกระบวนการเกิดเมฆ - ไอน้ำในอากาศจะควบแนน่ เป็นละอองน้ำ

หมอก นำ้ คา้ ง และนำ้ คา้ งแขง็ จาก เลก็ ๆ โดยมีละอองลอย เช่น เกลอื ฝุ่น
แบบจำลอง

16

ตวั ชีว้ ดั สาระการเรยี นรู้แกนกลาง สาระการเรยี นรทู้ อ้ งถ่นิ
ละออง เกสรดอกไม้ เป็นอนุภาคแกนกลาง
เมอ่ื ละอองน้ำจำนวนมากเกาะกลมุ่ รวมกัน
ลอยอยสู่ งู จากพน้ื ดนิ มาก เรียกวา่ เมฆ แต่
ละอองนำ้ ท่ีเกาะกลุม่ รวมกันอย่ใู กลพ้ น้ื ดิน
เรียกว่า หมอก สว่ นไอน้ำท่ีควบแน่นเปน็
ละอองน้ำเกาะอย่บู นพ้ืนผวิ วัตถใุ กล้พืน้ ดิน
เรยี กวา่ น้ำค้าง ถ้ำอณุ หภมู ิ ใกล้พน้ื ดนิ ตำ่
กวา่ จดุ เยือกแขง็ น้ำคา้ งกจ็ ะกลายเปน็
นำ้ ค้างแข็ง

5. เปรียบเทียบกระบวนการเกิดฝน - ฝน หิมะ ลกู เห็บ เปน็ หยาดนำ้ ฟา้ ซ่งึ เปน็
หิมะ และลูกเหบ็ จากข้อมลู ท่ี นำ้ ทม่ี สี ถานะตา่ ง ๆ ที่ตกจากฟา้ ถึงพ้ืนดนิ
รวบรวมได้ ฝน เกิดจากละอองน้ำในเมฆที่รวมตัวกนั จน
อากาศไมส่ ามารถ

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.1 เข้าใจแนวคิดหลักของเทคโนโลยีเพ่ือการดำรงชีวิตในสงั คมท่ีมีการเปล่ียนแปลง

อย่างรวดเรว็ ใชค้ วามรู้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และ ศาสตร์อ่ืน ๆ เพื่อแก้ปัญหาหรือ

พัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ ด้วยกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่าง

เหมาะสม โดยคำนึงถงึ ผลกระทบตอ่ ชีวติ สงั คม และส่งิ แวดลอ้ ม

ตวั ชี้วดั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนรูท้ ้องถ่นิ

- --

17

สาระที่ 4 เทคโนโลยี

มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปัญหาท่ีพบในชีวิตจริงอย่างเป็น

ข้นั ตอนและเป็นระบบ ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปญั หา

ไดอ้ ยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ร้เู ท่าทัน และมีจริยธรรม

ตัวช้ีวัด สาระการเรียนร้แู กนกลาง สาระการเรยี นรูท้ ้องถ่ิน

1. ใชเ้ หตผุ ลเชิงตรรกะในการ - การใชเ้ หตุผลเชิงตรรกะเป็นการนำ
แก้ปัญหา การอธิบายการทำงาน กฎเกณฑ์ หรอื เงื่อนไขทค่ี รอบคลมุ ทุกกรณี
การคาดการณ์ผลลัพธ์ จากปัญหา มาใช้พจิ ารณา ในการแกป้ ญั หา การอธบิ าย
อยา่ งงา่ ย การทำงาน หรือ การคาดการณผ์ ลลพั ธ์

- สถานะเร่มิ ต้นของการทำงานทแ่ี ตกตา่ งกนั

จะให้ผลลพั ธท์ ่ีแตกตา่ งกนั

2. ออกแบบและเขยี นโปรแกรมท่มี ี - ตวั อย่างปัญหา เชน่ เกม Sudoku ,
การใชเ้ หตุผลเชงิ ตรรกะอย่างง่าย โปรแกรมทำนายตวั เลข, โปรแกรมสรา้ ง
ตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดและแกไ้ ข รูปเรขาคณติ ตามคา่ ข้อมลู เขา้ , การ
จัดลำดับการทำงานบ้านในชว่ งวนั หยุด,
จดั วางของในครัว
- การออกแบบโปรแกรมสามารถทำได้โดย

เขียน เปน็ ขอ้ ความ หรอื ผังงาน

- การออกแบบและเขยี นโปรแกรมที่มีการ

ตรวจสอบเง่ือนไขที่ครอบคลุมทกุ กรณี

เพ่ือใหไ้ ด้ผลลพั ธ์ท่ีถกู ต้องตรงตามความ

ตอ้ งการ

- หากมีข้อผิดพลาดใหต้ รวจสอบการทำงาน

ทีละคำสั่ง เม่ือพบจดุ ที่ทำให้ผลลพั ธ์ไม่

ถกู ต้อง ใหท้ ำการแก้ไขจนกว่าจะได้ผลลพั ธ์

ท่ถี กู ต้อง

- การฝกึ ตรวจหาข้อผิดพลาดจากโปรแกรม

ของผู้อน่ื จะช่วยพัฒนาทกั ษะการหาสาเหตุ

ของปญั หาได้ดียิ่งขึ้น

18

ตัวชี้วัด สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง สาระการเรียนร้ทู อ้ งถิ่น
- ตัวอย่างโปรแกรม เช่น โปรแกรม
ตรวจสอบเลขค่เู ลขคี่ โปรแกรมรบั ขอ้ มูล
นำ้ หนักหรอื ส่วนสูงแลว้ แสดงผลความสม
สว่ นของรา่ งกาย, โปรแกรมส่งั ให้ ตวั ละคร
ทำตามเงื่อนไขที่กำหนด

3. ใช้อินเทอรเ์ นต็ ค้นหาข้อมูล -ซอฟต์แวร์ทีใ่ ชใ้ นการเขยี นโปรแกรม เช่น
ตดิ ตอ่ สอ่ื สารและทำงานร่วมกนั Scratch, logo
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูล - การคน้ หาข้อมลู ในอนิ เทอรเ์ นต็ และการ
พจิ ารณาผลการคน้ หา
4. รวบรวม ประเมนิ นำเสนอ - การตดิ ต่อสื่อสารผา่ นอนิ เทอรเ์ นต็ เชน่
ขอ้ มลู และสารสนเทศ ตาม อีเมล บลอ็ ก โปรแกรมสนทนา
วตั ถปุ ระสงค์โดยใชซ้ อฟต์แวร์หรอื - การเขียนจดหมาย (บูรณาการกับวชิ า
บริการบนอินเทอรเ์ น็ตท่ี ภาษาไทย)
- การใชอ้ ินเทอรเ์ น็ตในการติดตอ่ ส่อื สาร
และทำงานร่วมกนั เช่น ใช้นัดหมายในการ
ประชมุ กลุ่ม ประชำสมั พนั ธ์กิจกรรมใน
หอ้ งเรยี น การแลกเปลย่ี นความรู้ ความ
คดิ เห็นในการเรียน ภายใต้การดูแลของครู
- การประเมินความน่าเชือ่ ถอื ของข้อมูล เช่น
เปรียบเทยี บความสอดคล้อง สมบรู ณ์ของ
ขอ้ มูลจากหลายแหล่ง แหล่งต้นตอของ
ข้อมูล ผู้เขยี น วันทีเ่ ผยแพรข่ ้อมลู
- ข้อมลู ทีด่ ีต้องมรี ายละเอียดครบทกุ ดา้ น
เช่น ข้อดแี ละข้อเสีย ประโยชนแ์ ละโทษ
- การรวบรวมขอ้ มูล ประมวลผล สร้าง
ทางเลือก ประเมินผล จะทำให้ได้สารสนเทศ
เพอ่ื ใช้ในการแกป้ ญั หาหรือการตัดสินใจได้

ตัวชว้ี ดั 19 สาระการเรียนรู้ทอ้ งถิ่น
หลากหลาย เพอื่ แกป้ ัญหาใน
ชีวติ ประจำวนั สาระการเรยี นรแู้ กนกลาง

5.ใชเ้ ทคโนโลยีสารสนเทศอย่าง อย่างมีประสิทธภิ าพ
ปลอดภยั มีมารยาท เขา้ ใจสิทธิ - การใช้ซอฟต์แวรห์ รอื บรกิ ารบน
และหนา้ ทข่ี องตน เคารพในสิทธิ อนิ เทอร์เนต็ ท่ีหลากหลายในการรวบรวม
ของผู้อ่นื แจ้งผู้เก่ยี วข้องเมื่อพบ ประมวลผล สร้างทางเลือก ประเมินผล
ขอ้ มูลหรือบคุ คลท่ไี ม่เหมาะสม นำเสนอ จะช่วยใหก้ ารแกป้ ัญหาทำได้อย่าง
รวดเรว็ ถกู ต้อง และแม่นยำ
- ตัวอย่างปญั หา เช่น ถ่ายภาพและสำรวจ
แผนท่ี ในท้องถิ่นเพื่อนำเสนอแนวทางใน
การจัดการพื้นทว่ี า่ งใหเ้ กิดประโยชน์ ทำ
แบบสำรวจความคดิ เห็นออนไลน์ และ
วเิ คราะหข์ ้อมลู นำเสนอข้อมูลโดยการใช้
Blog หรือ web page
- อนั ตรายจากการใชง้ านและอาชญากรรม
ทางอนิ เทอรเ์ นต็
-มารยาทในการติดต่อส่อื สารผา่ น
อนิ เทอรเ์ นต็ (บูรณาการกับวชิ าท่ี
เกี่ยวขอ้ ง)

20

คำอธิบายรายวิชา

รายวชิ าวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5 ว 15101 กลุ่มสาระการเรยี นรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

เวลาเรยี น 2 ช่ัวโมง/สัปดาห์ เวลา 80 ชว่ั โมง/ปี ชนั้ ประถมศกึ ษาปีท่ี 5

ศึกษา วิเคราะห์ โครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิต การดำรงชวี ิต ความสัมพันธ์ของส่ิงมีชีวิตกับ
การดำรงชีวิต การปรบั ตัวของสิ่งมีชีวิตในแต่ละแหล่งทีอ่ ยู่ ความสมั พันธร์ ะหว่างสิง่ มีชีวติ กับส่ิงมีชวี ิต และ
ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับสิ่งไม่มีชีวิต โซ่อาหาร หน้าท่ีของส่ิงมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภค
คุณค่าของสิ่งแวดล้อมท่ีมีต่อการดำรงชีวิต การดูแลรักษาส่ิงแวดล้อม ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีมีการ
ถ่ายทอดจากพ่อแม่สู่ลูก ลักษณะที่คล้ายคลึงกันของตนเองกับพ่อแม่ การเปล่ียนสถานะของสสาร การ
ละลายของสารในน้ำ การเปลย่ี นแปลงของสารเมื่อเกิดการเปลีย่ นแปลงทางเคมี การเปล่ยี นแปลงที่ผันกลับ
ได้และการเปลี่ยนแปลงท่ีผันกลับไม่ได้ แรงท่ีกระทำต่อวัตถุ แรงลัพธ์ของแรงหลายแรงในแนวเดียวกัน
การใช้เครื่องช่ังสปริงวัดแรงท่ีกระทำต่อวตั ถุ แรงเสียดทาน แรงเสียดทานและแรงทก่ี ระทำต่อวตั ถใุ นแนว
เดียวกัน เสียงและการไดย้ ินเสียง การเกดิ เสียงสูง เสยี งตำ่ เสียงค่อย การวัดระดับเสียงโดยใช้เครอ่ื งมอื วัด
ระดับเสียง การหลีกเล่ียงและลดมลพิษทางเสียง ดาวเคราะห์และดาวฤกษ์ การใช้แผนท่ีดาว ตำแหน่ง
และเส้นทางการขึน้ และตกของกลุ่มดาวฤกษ์ แบบรูปเสน้ ทางการขึ้นและตกของกลุ่มดาวฤกษ์บนท้องฟ้าใน
รอบปี ปริมาณน้ำในแต่ละแหล่งน้ำ คุณค่าของน้ำ การใช้น้ำอย่างประหยัดและการอนุรกั ษ์น้ำ วัฏจักรน้ำ
กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นำ้ ค้าง และนำ้ ค้างแขง็ การเกดิ ฝน หิมะ และลูกเหบ็

โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล การเปรียบเทียบข้อมูลจากหลักฐานเชิงประจักษ์ การอธิบาย อภิปราย และการสร้างแบบจำลอง
เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถส่ือสารส่ิงที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นำ
ความรู้ไปใช้ในชวี ิตประจำวัน มีจติ วทิ ยาศาสตร์ จรยิ ธรรม คณุ ธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

ใช้เหตุผลเชิงตรรกะในการแก้ปัญหา การทำงาน การคาดการณ์ผลลัพธ์จากปัญหาอย่างง่าย
การออกแบบ อธิบาย และเขียนโปรแกรมอย่างง่าย โดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือส่ือ และตรวจหาข้อผิดพลาด
และแก้ไข ใช้อนิ เทอรเ์ นต็ คน้ หาข้อมลู ตดิ ต่อส่ือสารและทำงานร่วมกนั ประเมินความน่าเชอื่ ถือของข้อมูล
รวบรวม นำเสนอข้อมูลและสารสนเทศโดยใช้ซอฟต์แวร์ หรือบริการบนอินเตอร์เน็ต เพื่อแก้ปัญหาใน
ชวี ิตประจำวัน ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างปลอดภัย มีมารยาท เข้าใจสิทธิและหนา้ ที่ของตน เคารพใน
สิทธขิ องผอู้ นื่ แจง้ ผเู้ ก่ยี วข้องเมือ่ พบขอ้ มูลหรือบคุ คลที่ไมเ่ หมาะสม

21

รหัสตวั ชี้วัด ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
มาตรฐาน ว 1.1 ป.5/1, ป.5/2
มาตรฐาน ว 1.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4
มาตรฐาน ว 2.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
มาตรฐาน ว 2.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4 ป.5/4
มาตรฐาน ว 2.3 ป.5/1, ป.5/2
มาตรฐาน ว 3.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
มาตรฐาน ว 3.2 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4, ป.5/5
มาตรฐาน ว 4.2
รวม 32 ตัวช้ีวัด

22
งมโนทัศน์สาระการเรียนรู้รายปี

หน่วยท่ี 1 หน่วยที่ 2
สงิ่ มีชวี ิตและส่ิงแวดล้อม ลักษณะทางพันธกุ รรม

(8) (8)

หนว่ ยที่ 3 หนว่ ยท่ี 4
การเปลี่ยนแปลงของสาร (12) แรงและพลงั งาน (10)

หนว่ ยท่ี 5 วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี 5
เสียง (14) ว 15101

หน่วยท่ี 6
ปรากฏการณขฺ องกลุ่มดาว

(10)

หน่วยท่ี 7
วฏั จกั รของน้ำ (14)

23

โครงสร้างหนว่ ยการเรยี นรู้

รายวชิ าวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 5 ว 15101 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 เวลา 80 ช่ัวโมง

หนว่ ยท่ี ชอ่ื หน่วยการเรยี นรู้ เวลา (ช่ัวโมง) นำ้ หนักคะแนน
8 10
1 สิ่งมีชีวิตและส่ิงแวดล้อม 8 10
2 ลกั ษณะทางพันธุกรรม 12 10
3 การเปล่ยี นแปลงของสาร 10 10
4 แรงและพลังงาน 14 10
5 เสยี ง 10 10
6 ปรากฏการณฺของกลุ่มดาว 14 10
7 วฏั จักรของนำ้ 76 70
รวมระหวา่ งปี 2 15

สรปุ ทบทวนภาพรวม (ทดสอบกลางป)ี 2 15

สรปุ ทบทวนภาพรวม (ทดสอบปลายปี) 80 100

รวมท้ังสนิ้ ตลอดปี

หมายเหตุ อตั ราสว่ นคะแนนระหวา่ งเรียนที่ 1 : การสอบกลางปี 35 : 15
อัตราส่วนคะแนนระหวา่ งเรียนที่ 1 : การสอบกลางปี 35 : 15

2

แบบบนั ทกึ ผลการจดั ทำโครงสรา้ งรายวิชา ก

ระดบั ประถมศึกษา ชน้ั ประถ

หน่วย มาตรฐานการ
การเรยี นรู้ท่ี
ช่ือหน่วยการเรยี นรู้ เรียนรู้ / สาระการเรยี
1
ตวั ช้ีวัด

สิ่งมีชีวิตและ ว 1.1 - โครงสร้างและลกั ษณะขอ

สง่ิ แวดล้อม ป.5/1 เหมาะสมกับการดำรงชวี ิต

ป.5/2 - ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสิ่งม

ป.5/3 และความสมั พันธ์ระหวา่ งส

ป.5/4 สิง่ แวดลอ้ ม

-โซอ่ าหารและระบุบทบาท

สิ่งมีชวี ติ ทเี่ ป็นผู้ผลิตและผบู้

อาหาร

- คณุ คา่ ของสิ่งแวดล้อมแล

สง่ิ แวดล้อม

24

กลุ่มสาระการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี
ถมศกึ ษาปที ่ี 4 เวลา 80 ชว่ั โมง

ยนรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนัก
(ชวั่ โมง) คะแนน

องสิ่งมชี ีวิตท่ี สิง่ มชี วี ิตแต่ละชนิดจะอาศัยอยตู่ ามที่ต่าง 8 10
ต ๆ ซงึ่ อาจ มสี ิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน ดงั น้ัน
มีชีวิตกับส่งิ มชี ีวติ สง่ิ มีชวี ิตจึงตอ้ งปรบั ตวั ดา้ น โครงสรา้ ง
สง่ิ มีชีวิตกับ และลกั ษณะของรา่ งกายใหเ้ หมาะสมกบั
การ ดำรงชวี ิตในแต่ละแหล่งทีอ่ ยู่
ทหน้าท่ีของ สิ่งแวดลอ้ มในแตล่ ะแหลง่ ท่ีอยู่
บริโภคในโซ่ ประกอบดว้ ยส่งิ มชี ีวิตและสงิ่ ไมม่ ชี ีวติ
สิง่ มีชวี ติ หลายชนิดท่ี อาศยั อยู่ร่วมกันใน
ละการดแู ลรกั ษา แหล่งทอ่ี ยู่หนึง่ ๆ นอกจากจะมี
ความสมั พันธ์ กับสิ่งมีชวี ิตด้วยกันในดา้ น
ต่าง ๆ แลว้ ยังมีความสัมพันธก์ ับ
สิ่งไมม่ ีชวี ิตด้วย เราจึงควรตระหนกั และ
ชว่ ยกนั ดแู ลรักษา สง่ิ แวดล้อมให้มสี ภาพ
ทเี่ หมาะสมกบั การดำรงชวี ติ ของ ส่ิงมชี ีวิต
ตลอดไป

2

หน่วย ชือ่ หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระการเรยี
การเรยี นรทู้ ่ี เรียนรู้ /
ตัวช้วี ดั - ลักษณะทางพันธุกรรมท่ีม
2 จากพ่อแมส่ ู่ลูกของพชื สัต
ว 1.3
ป.5/1
ป.5/2

ลกั ษณะทาง
พันธกุ รรม

3 ว 2.1 - การเปลี่ยนสถานะของสส
- การละลายของสารในน้ำ
ป.5/1 - การเปล่ียนแปลงของ เม่ือ
เปลี่ยนแปลงทางเคมี
ป.5/2 - การเปลย่ี นแปลงท่ผี นั กล
เปล่ยี นแปลงท่ผี นั กลบั ไมไ่ ด
การเปลีย่ นแปลง ป.5/3

ของสาร ป.5/4

25

ยนรู้ สาระสำคัญ เวลา น้ำหนัก
มีการถา่ ยทอด (ชั่วโมง) คะแนน
ตว์ และมนษุ ย์
ส่งิ มชี ีวติ ทงั้ พชื สัตว์ และมนุษยเ์ มอื่ 8 10
สาร เจริญเตบิ โต เต็มท่จี ะมีการสบื พนั ธ์ุเพ่ือ 12 10
ำ เพิ่มจาํ นวนและดาํ รงพนั ธใ์ุ ห้คง อยตู่ อ่ ไป
อเกิดการ โดยลกู ทเ่ี กิดจากการสบื พันธขุ์ องพ่อและ
ลบั ไดแ้ ละการ แม่จะ ได้รับการถ่ายทอดลักษณะทาง
ด้ พนั ธุกรรมมาจากพอ่ และ แม่ ซ่งึ ลกั ษณะ
ทางพันธกุ รรมที่ไดร้ ับการถา่ ยทอดมานี้
เป็น ลักษณะเฉพาะของส่งิ มชี ีวิตแต่ละ
ชนดิ
สสารเปล่ียนจากสถานะหนงึ่ ไปเป็นอีก
สถานะ หนงึ่ เมื่อได้รบั หรือสูญเสียความ
ร้อน การเปล่ียนแปลงน้ี เรียกว่า การ
เปลีย่ นสถานะ สารหลายชนิดเมอื่ ใสล่ งใน
น้ำ จะเกดิ การเปล่ียนแปลงโดยแตก
ออกเปน็ อนภุ าคเล็ก ๆ และรวมเปน็ เนอ้ื
เดียวกันกบั น้ำ การเปล่ยี นแปลงนี้
เรียกว่า การละลาย สารท่เี ปล่ียนสถานะ

หน่วย ชอื่ หน่วยการเรยี นรู้ มาตรฐานการ 2
การเรียนรู้ท่ี เรยี นรู้ /
ตัวชี้วดั สาระการเรยี

4 ว 2.2 - แรงลัพธข์ องแรงหลายแร
ป.5/1 ทกี่ ระทำต่อวัตถใุ นกรณีท่วี
ป.5/2 - แผนภาพแสดงแรงท่ีกระ
ป.5/3 แนวเดียวกันและแรงลัพธ์ท
ป.5/4 - ผลของแรงเสยี ดทานทม่ี ตี
ป.5/5 เปลี่ยนแปลงการเคลื่อนทข่ี
- แผนภาพแสดงแรงเสียดท
แรงและพลงั งาน ในแนวเดยี วกนั ทกี่ ระทำตอ่

26

ยนรู้ สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน

รงในแนวเดยี วกัน และสารท่ลี ะลายอยใู่ นน้ำ ยงั คงเป็น 10 10
วัตถุอย่นู ่ิง สารเดมิ ไม่เปล่ียนเปน็ สารใหม่ การเปลี่ยน
ะทำตอ่ วัตถุท่ีอย่ใู น สถานะและการละลายจงึ เปน็ การ
ท่กี ระทำต่อวัตถุ เปลี่ยนแปลงทาง กายภาพ
ต่อ การ เมือ่ มีแรงหลายแรงมากระทำตอ่ วัตถหุ นึ่ง
ของวตั ถุ ๆ ผลรวมของแรงเหล่านัน้ คือ แรงลัพธ์ท่ี
ทานและแรง ท่ีอยู่ กระทำตอ่ วตั ถุ การหาแรงลพั ธต์ อ้ ง
อวตั ถุ พจิ ารณาท้ังขนาดและทิศทางของ แรง
ท้ังหมดท่ีกระทำต่อวตั ถนุ ัน้ ถ้าแรงลพั ธท์ ี่
กระทำตอ่ วัตถุท่ีอยนู่ ิ่งมคี ่าเป็นศูนย์ วตั ถุ
ก็จะอยนู่ ิ่งต่อไป ถ้ามแี รง มากระทำต่อ
วัตถุเพอื่ ให้วตั ถุเคล่ือนท่ี โดยวตั ถุนั้น
สัมผัส กับผวิ สมั ผสั ของวัตถุอื่น จะเกิดแรง
เสียดทานต้านการ เคลื่อนท่ีของวัตถใุ น
บริเวณผวิ สมั ผสั ของวตั ถุนั้น และ สำหรบั
วัตถทุ ่ีกำลงั เคล่อื นท่ี ก็จะมีแรงเสยี ดทาน
ตา้ นการเคล่ือนที่ของวตั ถุเช่นกัน

2

หน่วย มาตรฐานการ สาระการเรยี
การเรียนรู้ท่ี ชือ่ หน่วยการเรยี นรู้ เรียนรู้ /
- การได้ยินเสียงผา่ นตัวกล
5 ตัวช้ีวัด - ลกั ษณะและการเกิดเสยี ง
ว 2.3 - ลักษณะและการเกดิ เสยี ง
ป.5/1 - การวัดระดบั เสยี ง
ป.5/2 - แนวทางในการหลีกเลี่ย
ป.5/3 ทางเสยี ง
ป.5/4
ป.5/5

เสียง

27

ยนรู้ สาระสำคญั เวลา นำ้ หนกั
(ช่วั โมง) คะแนน

ลาง เสียงเป็นพลงั งานท่ีเกิดจากการสั่นของ
งสูง เสียงตำ่ แหลง่ กำเนิดเสยี ง เสยี งเคล่ือนท่จี าก
งดัง เสยี งคอ่ ย แหล่งกำเนดิ เสียง โดยอาศยั ตัวกลางจนถึง
หผู ูฟ้ งั เสยี งที่ไดย้ นิ มีท้งั เสียงสูง เสียงตำ่
ยงและลดมลพิษ เสียงดัง เสียงคอ่ ย โดยเสียงสูง เสียงตำ่
ข้ึนกบั ความถี่ในการสั่นของแหลง่ กำเนิด
เสยี ง สว่ นเสยี งดงั เสยี งค่อยขึ้นกับ 14 10
พลงั งานในการสน่ั ของแหล่งกำเนิดเสยี ง
และระยะหา่ งจากแหลง่ กำเนิดเสยี งถงึ หู
ผฟู้ ัง ความดัง ของเสยี งวัดได้ด้วย
เครือ่ งมือวัดระดับเสียง มหี น่วยเป็น เดซิ
เบล เสยี งดงั มาก ๆ ที่เป็นอนั ตรายต่อการ
ไดย้ นิ และ เสยี งตา่ ง ๆ ท่ีก่อให้เกดิ ความ
รำคาญ จดั เปน็ มลพิษ ทางเสียง

2

หนว่ ย มาตรฐานการ สาระการเรยี
การเรียนรทู้ ่ี ช่ือหน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ /
- ความแตกต่างของดาว
6 ตัวชว้ี ัด ฤกษ์
ว 3.1 - การใช้แผนท่ีดาวระบุตำแ
ป.5/1 การข้นึ และตกของกลมุ่ ดาว
ป.5/2 - แบบรูปเส้นทางการขึ้นแ
ดาวฤกษ์บนท้องฟา้ ในรอบป
ปรากฏการณฺของ
กลุ่มดาว

7 ว 3.2 - ปริมาณน้ำในแต่ละแหล
ป.5/1 ทมี่ นษุ ยส์ ามารถนำมาใชป้ ร
ป.5/2 - คุณค่าของน้ำ และแน
อย่างประหยัดและการอนุร
วฏั จักรของนำ้ ป.5/3 - การหมุนเวยี น ของนำ้ ในว
ป.5/4 - กระบวนการเกิดเมฆ หม
ป.5/5 นำ้ คา้ งแขง็

28

ยนรู้ สาระสำคัญ เวลา นำ้ หนกั
(ช่ัวโมง) คะแนน

เคราะห์และดาว ดาวท่มี องเห็นบนท้องฟ้ามที ้ังดาวฤกษ์ 10 10
และดาวเคราะห์ โดยดาวฤกษ์และดาว 14 10
แหน่งและเสน้ ทาง เคราะหม์ ีลักษณะท่ีแตกต่างกัน ดาวสว่ น
วฤกษ์บนท้องฟา้ ใหญ่บนทอ้ งฟ้าเปน็ ดาวฤกษ์ มนุษยใ์ ช้
และตก ของกลุ่ม จนิ ตนาการ ทำให้มองเห็นกลุ่มของดาว
ปี ฤกษ์เป็นรูปรา่ งตา่ ง ๆ กลุ่มดาว เหลา่ นนั้
มีรูปรา่ งคงที่และเสน้ ทางท่ปี รากฏเปน็
ล่ง และปริมาณน้ำ แบบรูปซำ้ ๆ กนั เปน็ วัฏจักร แผนทด่ี าว
ระโยชนไ์ ด้ เปน็ เครอ่ื งมือที่ใช้สังเกตตำแหน่ง และ
นวทาง การใช้น้ำ การขึน้ และตกของกล่มุ ดาว
รักษน์ ำ้ พน้ื ผวิ โลกมนี ำ้ ปกคลุมเปน็ ส่วนใหญ่ ซ่ึง
วฏั จักรนำ้ เกอื บทั้งหมด เป็นนำ้ เคม็ สว่ นนำ้ จดื ท่ี
มอก น้ำค้าง และ นำมาใช้ได้มปี รมิ าณน้อยมาก เราจึงตอ้ ง
ใชน้ ำ้ อยา่ งประหยัด น้ำจากแหล่งนำ้ ตา่ ง
ๆ ทัง้ น้ำผิวดิน นำ้ ใต้ดิน น้ำในบรรยากาศ
และนำ้ ในสิง่ มชี วี ติ เกดิ การหมุนเวียน
ระหวา่ งแหล่งต่าง ๆ อยา่ งต่อเน่อื ง

2

หน่วย ชื่อหน่วยการเรียนรู้ มาตรฐานการ สาระการเรีย
การเรียนรู้ที่ เรียนรู้ / - กระบวนการเกดิ ฝน หมิ ะ
ตัวชวี้ ดั

รวมระหว่างปี
สรปุ ทบทวนภาพรวม (ทดสอบ
สรุปทบทวนภาพรวม (ทดสอบ

รวมท้ังส้ินตลอดปี

29 สาระสำคญั เวลา น้ำหนกั
(ชัว่ โมง) คะแนน
ยนรู้ กระบวนการเกดิ เมฆ หมอก นำ้ ค้าง
และลูกเหบ็ น้ำค้างแข็ง ฝน หิมะ และลูกเห็บ เป็น 76 70
ปรากฏการณ์ทที่ ำให้เกดิ การหมนุ เวียน 2 15
บกลางป)ี ของนำ้ เปน็ วัฏจักร 2 15
บปลายปี) 80 100

3

ตารางการออกแ

กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หน่วยที่ 1 ช่ือหนว่ ย ช

มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ สาระสำคญั ภาระงาน/ช้ิน
ตวั ช้ีวดั

ว 1.1 - โครงสรา้ งและ สิ่งมชี ีวติ แต่ละชนดิ ระหวา่ งกจิ กรร

ป. 5/1 ลักษณะของสง่ิ มีชีวิตที่ จะอาศยั อยู่ตามท่ี - กิจกรรมโครง

ป. 5/2 เหมาะสมกับการ ต่าง ๆ ซง่ึ อาจ มี และลกั ษณะขอ

ป. 5/3 ดำรงชีวติ สง่ิ แวดล้อมแตกตา่ ง สิ่งมชี วี ิตเหมาะ

ป. 5/4 - ความสัมพนั ธ์ กนั ดังน้ันสิ่งมชี วี ิตจงึ แหล่งทอ่ี ยู่อยา่ ง

ระหว่างสิ่งมชี ีวติ กบั ตอ้ งปรบั ตวั ด้าน - กจิ กรรมสิ่งมีช

ส่ิงมชี ีวิต และ โครงสร้างและ ความสมั พันธก์ ับ

ความสมั พันธ์ระหว่าง ลักษณะของร่างกาย สิง่ มีชวี ติ อยา่ งไร

ส่งิ มชี ีวิตกบั ให้เหมาะสมกับการ - กจิ กรรมสิ่งมชี

สิ่งแวดลอ้ ม ดำรงชวี ติ ในแตล่ ะ ความสมั พนั ธ์กับ

-โซอ่ าหารและระบุ แหลง่ ทีอ่ ยู่ สง่ิ มชี วี ิตในแหล

บทบาทหน้าที่ของ สง่ิ แวดลอ้ มในแตล่ ะ อยู่อยา่ งไร

สิ่งมชี ีวิตทเ่ี ป็นผ้ผู ลติ แหลง่ ท่ีอยู่ เมือ่ สนิ้ สุดกจิ กร

และผู้บริโภคในโซ่ ประกอบดว้ ย - ทดสอบความ

อาหาร สงิ่ มชี วี ิตและ - สรุปผงั ความค

- คุณคา่ ของ สง่ิ ไมม่ ีชีวติ สิง่ มชี วี ติ

30

แบบการเรยี นรู้

ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 8 ช่วั โมง 10 คะแนน

นงาน การวดั และประเมนิ ผล กิจกรรม/กระบวนการเรยี นรู้ ทักษะใน
ศตวรรษที่ 21

รม - จากกจิ กรรมโครงสรา้ ง แบง่ กลุ่มนักเรยี น เพื่อศึกษา การส่ือสาร

งสรา้ ง และลกั ษณะของส่ิงมชี ีวติ 1. โครงสรา้ งและลักษณะของ

อง เหมาะมกับแหลง่ ทอี่ ยู่ ส่ิงมีชีวิตท่ี เหมาะสมกบั การ ความร่วมมือ

ะมกบั อยา่ งไร ดำรงชีวติ ในแหล่งทอ่ี ยู่ต่าง ๆ

งไร - จากกิจกรรมสิ่งมีชีวิตมี บรรยายเก่ียวกับโครงสร้าง การใช้เทคโนโลยี

ชีวติ มี ความสมั พันธก์ ับส่ิงมีชีวติ และลักษณะนัน้ ๆ ได้ สารสนเทศและ

บ อยา่ งไร 2. ความสัมพันธร์ ะหวา่ ง การสือ่ สาร

ร - จากกจิ กรรมสงิ่ มีชวี ิตมี สง่ิ มชี ีวิตกบั ส่งิ มีชีวิต ในแหล่ง

ชวี ติ มี ความสัมพันธก์ ับสงิ่ มชี ีวติ ใน ทอ่ี ยู่

บ แหลง่ ทีอ่ ยู่อย่างไร 3. ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง

ลง่ ท่ี - จากการทำแบบทดสอบ สิ่งมชี วี ติ กบั สงิ่ ไม่มีชวี ติ ใน

ความรู้ แหล่งท่ีอยู่

รรม - จากการทำแบบสรุปผงั 4. เโซ่อาหารและระบุบทบาท

มรู้ ความคิด หน้าที่ของส่ิงมีชีวติ ในโซ่

คิด อาหาร 5. บอกแนวทางและ

รว่ มกันดแู ลรกั ษาสิง่ แวดลอ้ ม

3

มาตรฐาน/ สาระการเรยี นรู้ สาระสำคัญ ภาระงาน/ชนิ้
ตัวช้วี ดั
สง่ิ แวดลอ้ มและการ หลายชนิดที่ อาศัย
ดูแลรักษาสิ่งแวดล้อม อยรู่ ่วมกันในแหล่งที่
อยู่หนง่ึ ๆ นอกจาก
จะมีความสัมพนั ธ์
กบั สง่ิ มีชวี ติ ด้วยกัน
ในดา้ นตา่ ง ๆ แล้ว
ยงั มีความสัมพนั ธ์กับ
สิง่ ไม่มชี วี ิตดว้ ย เรา
จึงควรตระหนักและ
ช่วยกนั ดแู ลรกั ษา
ส่งิ แวดล้อมใหม้ ี
สภาพท่เี หมาะสมกับ
การดำรงชีวติ ของ
ส่งิ มชี ีวติ ตลอดไป

31

นงาน การวดั และประเมินผล กิจกรรม/กระบวนการเรียนรู้ ทกั ษะใน
ศตวรรษท่ี 21

ตามใบกิจกรรมตามภาระ

งาน /ช้นิ งาน

3

ตารางการออกแ

กลมุ่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หน่วยท่ี 1 ชื่อหน่วย ช

มาตรฐาน/ตัวช้ีวัด สื่อการเรยี นรู้ สมรรถนะสำคัญของ

ว 1.1 1. แบบทดสอบก่อนเรียน 1. ความสามารถในกา

ป. 5/1 2. วสั ดุและอปุ กรณ์ตามแบบ ส่อื สาร

ป. 5/2 บันทึกกจิ กรรม 2. ความสามารถในกา

ป. 5/3 3. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม 3. ความสามารถในกา

ป. 5/4 4.แหลง่ การเรยี นรู้ เทคโนโลยี

อนิ เทอร์เนต็

5.หนงั สือเรยี นวิทยาศาสตร์

ป.5

32

แบบการเรยี นรู้

ชีวิตและสิ่งแวดล้อม ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 5 เวลา 8 ชวั่ โมง 10 คะแนน

งผู้เรยี น คณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ นำ้ หนกั ( 10 คะแนน )

ระหว่างเรียน สอบ

าร 1. มวี นิ ัย 10 -

2. ใฝ่เรยี นรู้

ารคดิ 3. มุ่งม่ันในการทำงาน

ารใช้

33

แบบบนั ทกึ หน่วยการเรียนรู้

หน่วยที่ 1 ช่อื หน่วย ชวี ติ และส่งิ แวดล้อม

รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4 ว 15101 กลุ่มสาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี

ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 5 เวลา 8 ช่วั โมง โรงเรียน....................

...............................................................................................................................................................

1. คำอธบิ ายประจำหน่วย

อธิบาย บรรยายโครงสร้างและลักษณะของส่ิงมีชีวิตท่ีเหมาะสมกับการดำรงชีวิตซ่ึงเป็นผลมาจาก

การปรับตัวของส่ิงมีชีวิตในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ความสัมพันธ์ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับส่ิงมีชีวิต และความสัมพันธ์

ระหว่างส่ิงมีชีวิตกับ เขียนโซ่อาหารและระบุบทบาทหน้าท่ีของสิ่งมีชีวิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผู้บริโภคในโซ่

อาหาร

ตระหนักในคุณค่าของส่ิงแวดล้อมที่มีต่อ การดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วนร่วม ในการดูแล

รักษาสิ่งแวดล้อม ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจตรวจสอบ การ

สบื ค้นข้อมลู การทดลองบันทึก จัดกลุ่มข้อมูล และการอภิปรายเพ่ือให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ

สามารถนำเสนอสอ่ื สารสงิ่ ท่เี รยี นรู้ มคี วามสามารถในการตดั สนิ ใจ

เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ ในชีวิตประจำวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ คุณธรรม
จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

34

2. ผังมโนทัศนห์ นว่ ยการเรียนรู้ คณุ ลักษณะ
1. มีวินยั
เนือ้ หา 2. ใฝ่เรียนรู้
3. ม่งุ มั่นในการทำงาน
- โครงสรา้ งและลกั ษณะของสง่ิ มชี วี ิต
- ความสมั พันธ์ระหว่างสงิ่ มีชีวติ กบั สมรรถนะ
1. ความสามารถในการสอื่ สาร
ส่งิ มชี ีวิต ในแหลง่ ทอี่ ยู่ 2. ความสามารถในการคดิ
- โซ่อาหาร
- การอนรุ ักษส์ ิง่ แวดลอ้ ม 3. ความสามารถในการใช้

เทคโนโลยี

การวดั ประเมนิ ผล หน่วยท่ี 1 กระบวนการ
- การสงั เกต ชีวิตและส่ิงแวดล้อม
- การตอบคำถาม - กระบวนการสืบเสาะ
- แบบทดสอบ,สอบถาม สื่อและแหล่งเรยี นรู้ หาความรู้
- ตรวจผลงาน
- การนำเสนอ 1. วัสดุและอปุ กรณ์ตามแบบ - กระบวนการการ
บันทกึ กิจกรรม สำรวจตรวจสอบ
2. แบบบนั ทึกกิจกรรม
3.แหล่งการเรยี นรู้อนิ เทอรเ์ น็ต - กระบวนการการสบื คน้
4.หนงั สอื เรยี นวิทยาศาสตร์ ป.5 ขอ้ มลู

- การทดลอง

- การบันทกึ

- การจัดกลมุ่ ขอ้ มลู

- การอภิปราย

35

3. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ัด
มาตรฐาน ว 1.1 เข้าใจความหลากหลายของระบบนเิ วศ ความสมั พนั ธ์ระหว่างสงิ่ ไมม่ ีชีวิต กับ

ส่งิ มีชีวติ และความสัมพันธร์ ะหวา่ งสง่ิ มชี ีวติ กับส่ิงมีชีวิตต่าง ๆ ในระบบนิเวศ การถา่ ยทอดพลงั งาน การ
เปลย่ี นแปลงแทนที่ในระบบนิเวศ ความหมาย ของประชากร ปญั หาและผลกระทบทีม่ ีตอ่
ทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดลอ้ ม แนวทางในการอนรุ ักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและการแกไ้ ขปัญหา
สง่ิ แวดล้อม รวมทัง้ นำความรู้ไปใช้ประโยชน์

ป.5/1 บรรยายโครงสร้างและลักษณะของสิ่งมีชีวิตที่เหมาะสมกับการดำรงชีวิตซ่ึงเป็นผลมาจาก
การปรับตวั ของส่ิงมีชวี ิตในแต่ละแหลง่ ท่อี ยู่

ป.5/2 อธิบายความสมั พนั ธ์ระหว่างสง่ิ มีชีวติ กับสิง่ มชี วี ิต และความสัมพนั ธ์ระหว่างส่ิงมีชวี ิตกับ
ป.5/3 เขยี นโซอ่ าหารและระบุบทบาทหนา้ ท่ีของสิง่ มีชวี ิตท่ีเป็นผู้ผลิตและผูบ้ รโิ ภคในโซ่อาหาร
ป.5/4 ตระหนักในคุณค่าของสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ การดำรงชีวิตของส่ิงมีชีวิต โดยมีส่วนร่วม ในการ
ดแู ลรกั ษาส่ิงแวดลอ้ ม

4. สาระสำคญั / ความคิดรวบยอด
ส่ิงมีชีวิตแต่ละชนิดจะอาศัยอยู่ตามที่ต่าง ๆ ซึ่งอาจ มีสิ่งแวดล้อมแตกต่างกัน ดังนั้นสิ่งมีชีวิตจึงต้อง

ปรับตัวด้าน โครงสร้างและลักษณะของร่างกายให้เหมาะสมกับการ ดำรงชีวิตในแต่ละแหล่งที่อยู่
ส่ิงแวดล้อมในแต่ละแหล่งท่ีอยู่ ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตและส่ิงไม่มีชีวิต ส่ิงมีชีวิตหลายชนิดท่ี อาศัยอยู่
ร่วมกันในแหล่งท่ีอยู่หนึ่งๆ นอกจากจะมีความสัมพันธ์ กับส่ิงมีชีวิตด้วยกันในด้านต่าง ๆ แล้ว ยังมี
ความสัมพันธ์กับ ส่ิงไม่มีชีวิตด้วย เราจึงควรตระหนักและช่วยกันดูแลรักษา สิ่งแวดล้อมให้มีสภาพที่
เหมาะสมกับการดำรงชวี ติ ของ สง่ิ มีชีวติ ตลอดไป

5. สาระการเรียนรู้ แกนกลาง
- สงิ่ มีชีวติ ทัง้ พืชและสตั วม์ โี ครงสร้างและลักษณะ ที่เหมาะสมในแต่ละแหลง่ ทีอ่ ยู่ ซ่ึงเป็นผลมา

จาก การปรบั ตัวของส่ิงมีชีวติ เพือ่ ให้ดำรงชวี ิตและอยู่รอดไดใ้ นแตล่ ะแหล่งทีอ่ ยู่ เชน่ ผกั ตบชวามีชอ่ ง
อากาศในก้านใบ ช่วยใหล้ อยน้ำได้ ต้นโกงกางที่ข้นึ อยู่ใน ป่าชายเลนมรี ากคำ้ จนุ ทำใหล้ ำต้นไม่ล้ม ปลามี
ครีบช่วยในการเคลอ่ื นทใี่ นนำ้

- ในแหล่งท่อี ยหู่ นงึ่ ๆ สิ่งมชี ีวิตจะมีความสมั พันธ์ ซงึ่ กันและกันและสัมพันธก์ บั สง่ิ ไมม่ ชี วี ติ เพอื่
ประโยชน์ต่อการดำรงชวี ติ เช่น ความสมั พนั ธก์ นั ดา้ นการกินกนั เปน็ อาหาร เป็นแหล่งทอ่ี ย่อู าศยั หลบภยั
และเลยี้ งดูลูกอ่อน ใช้อากาศในการหายใจ

- สงิ่ มชี วี ติ มีการกินกันเปน็ อาหารโดยกนิ ตอ่ กัน เปน็ ทอด ๆ ในรปู แบบของโซอ่ าหารทำใหส้ ามารถ
ระบุบทบาทหน้าทีข่ องสิง่ มีชีวิตเป็นผ้ผู ลิตและผ้บู ริโภค

36

6. สมรรถนะสำคัญของผ้เู รยี น
1. ความสามารถในการส่อื สาร
2. ความสามารถในการคดิ
3. ความสามารถในการใชเ้ ทคโนโลยี

7. คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
1. มีวินัย
2. ใฝเ่ รียนรู้
3. มงุ่ มัน่ ในการทำงาน

8. ชน้ิ งาน/ภาระงาน
ระหวา่ งกจิ กรรม
- กิจกรรมโครงสรา้ งและลักษณะของส่งิ มชี ีวิตเหมาะมกับแหล่งที่อยูอ่ ย่างไร
- กิจกรรมส่งิ มชี วี ติ มีความสัมพันธก์ ับสิ่งมีชวี ติ อย่างไร
- กจิ กรรมสิ่งมชี วี ติ มีความสัมพนั ธ์กับสิง่ มชี ีวติ ในแหลง่ ท่ีอยู่อย่างไร
เมอ่ื ส้ินสุดกิจกรรม
- ทดสอบความรู้
- สรุปผงั ความคิด

9. การวัดผลประเมินผล
- จากกจิ กรรมโครงสรา้ งและลักษณะของสิง่ มีชวี ิตเหมาะมกบั แหล่งท่ีอยู่อยา่ งไร
- จากกิจกรรมสิ่งมชี วี ิตมคี วามสมั พันธก์ ับส่งิ มชี ีวิตอย่างไร
- จากกจิ กรรมส่ิงมชี วี ติ มีความสมั พนั ธ์กบั สิง่ มชี ีวิตในแหลง่ ที่อยู่อย่างไร
- จากการทำแบบทดสอบความรู้
- จากการทำแบบสรปุ ผงั ความคดิ

10. การประเมินผลระหว่างจัดกจิ กรรม

ประเด็นการประเมิน น้ำหนกั ระดับคุณภาพ

10 ดีมาก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)
อธิบายกิจกรรม
การทำ กิจกรรม 4 อธิบาย กจิ กรรม อธิบายกจิ กรรม อธบิ ายกจิ กรรม โครงสร้างและ
ลกั ษณะของ
โครงสรา้ งและ โครงสร้างและ โครงสร้างและ โครงสรา้ งและ ส่งิ มีชีวติ เหมาะม
กับแหลง่ ที่อยู่
ลกั ษณะของส่งิ มีชวี ิต ลักษณะของ ลักษณะของ ลกั ษณะของ

เหมาะมกบั แหลง่ ที่ สิ่งมีชีวติ เหมาะมกับ สิ่งมีชวี ติ เหมาะม สิ่งมีชีวติ เหมาะม

อยู่อย่างไร แหล่งท่ีอยู่อยา่ งไร กับแหลง่ ท่ีอยู่ กบั แหลง่ ที่อยู่

37

ประเดน็ การประเมนิ น้ำหนกั ระดับคณุ ภาพ

10 ดมี าก (4) ดี (3) พอใช้ (2) ปรับปรงุ (1)

ถกู ต้อง สมบูรณ์ อย่างไรยังไม่ คอ่ ย อย่างไรยังไม่ ค่อย อย่างไรไม่ถูกต้อง

ถูกต้อง สมบูรณ์ ถูกต้อง สมบรู ณ์ และไมม่ ีการ

หรอื ถูกต้องบา้ ง หรือไม่ถกู ต้องเลย ปรบั ปรงุ แก้ไข

และมีการปรบั ปรุง แต่มีการปรบั ปรุง

แก้ไข แกไ้ ข

การทำกจิ กรรม 4 อธบิ ายกิจกรรม อธิบายกจิ กรรม อธิบายกจิ กรรม อธิบายกจิ กรร

สงิ่ มีชีวติ มี สง่ิ มชี วี ิตมี สิ่งมีชีวติ มี สง่ิ มชี วี ิตมี สิ่งมชี ีวิตมี

ความสมั พนั ธ์กับ ความสัมพันธก์ ับ ความสัมพนั ธก์ ับ ความสัมพันธก์ ับ ความสมั พันธก์ ับ

สิ่งมชี วี ติ อย่างไร สง่ิ มชี วี ติ อย่างไร สิง่ มีชีวติ อย่างไร สง่ิ มีชีวติ อยา่ งไร สง่ิ มีชีวติ อยา่ งไร

ถกู ต้อง สมบรู ณ์ ยงั ไม่ คอ่ ยถูกต้อง ยังไม่ ค่อยถูกตอ้ ง ไม่ถูกตอ้ งและไม่มี

สมบูรณ์หรือถูกต้อง สมบรู ณ์หรอื ไม่ การปรบั ปรงุ แก้ไข

บ้างและมีการ ถูกต้องเลยแตม่ ีการ

ปรับปรงุ แก้ไข ปรบั ปรงุ แก้ไข

การทำกิจกรรม 4 อธบิ ายสิ่งมชี ีวติ มี อธิบายสง่ิ มชี วี ิตมี อธิบายกิจกรรม อธบิ ายกิจกรรม

ส่ิงมชี ีวิตมี ความสมั พนั ธ์กับ ความสัมพันธก์ ับ ส่ิงมชี ีวติ มี สงิ่ มีชวี ิตมี

ความสัมพนั ธก์ ับ สง่ิ มีชวี ติ ในแหลง่ ที่ สง่ิ มีชีวติ ในแหล่งที่ ความสัมพนั ธก์ ับ ความสัมพนั ธก์ ับ

สิ่งมชี วี ติ ในแหลง่ ที่ อยู่อย่างไร อยู่อยา่ งไร ยงั ไม่ สิง่ มชี วี ติ ในแหล่งที่ สง่ิ มีชวี ติ ในแหล่งท่ี

อยอู่ ย่างไร ถูกต้อง สมบรู ณ์ ค่อยถูกต้อง อยอู่ ย่างไร อยอู่ ย่างไรไม่

สมบรู ณห์ รือถูกต้อง ยังไม่ ค่อยถูกตอ้ ง ถูกต้องและไม่มีการ

บา้ งและมีการ สมบูรณห์ รือไม่ ปรบั ปรุงแก้ไข

ปรับปรุงแก้ไข ถกู ต้องเลยแต่มีการ

ปรบั ปรุงแก้ไข

การทำแบบทดสอบ 4 แบบทดสอบความรู้ แบบทดสอบความรู้ แบบทดสอบความรู้ แบบทดสอบความรู้

ความรู้ ถกู ทุกข้อ ถกู ร้อยละ 70-90 ถูกร้อยละ 50- ถกู นอ้ ยกวา่ รอ้ ยละ

60.99 50

การทำแบบสรปุ ผงั 4 สรุปผังความคิด ได้ สรปุ ผังความคดิ ได้ สรุปผังความคิด ได้ สรุปผงั ความคดิ ได้

ความคิด ครบถ้วน สะอาด ไม่ครบถ้วนแตม่ ี ไม่ครบถว้ น ไมค่ ่อย ไม่ครบถว้ น ไม่

ส่งตรงเวลา การแก้ไข ไมค่ ่อย สะอาด ส่งไม่ตรง สะอาด สง่ ชา้ กวา่

สะอาด สง่ ตรงเวลา เวลา กำหนด

38

เกณฑ์การประเมิน

ระหว่างจัดกิจกรรม 100 คะแนน

คะแนน 80-100 หมายถึง ดีมาก
ดี
คะแนน 70-79 หมายถงึ พอใช้
ปรับปรงุ
คะแนน 65-69 หมายถงึ

คะแนน ตำ่ กว่า 65 หมายถงึ

11. กจิ กรรมการเรยี นรู้
แบ่งกลุม่ นกั เรยี น เพอ่ื ศึกษา
1. โครงสร้างและลกั ษณะของสิ่งมีชวี ติ ที่ เหมาะสมกบั การดำรงชีวิตในแหล่งทอ่ี ยู่ต่าง ๆ บรรยาย

เกี่ยวกบั โครงสร้างและลักษณะนัน้ ๆ ได้
2. ความสมั พนั ธร์ ะหว่างสง่ิ มีชีวติ กบั สิ่งมชี ีวติ ในแหลง่ ที่อยู่
3. ความสมั พันธร์ ะหวา่ งสง่ิ มีชีวติ กับส่งิ ไม่มชี ีวติ ในแหลง่ ทอ่ี ยู่

4. เโซอ่ าหารและระบบุ ทบาทหนา้ ทขี่ องสงิ่ มีชวี ติ ในโซ่อาหาร 5. บอกแนวทางและรว่ มกันดูแลรักษาสิง่
แวดล้อ, ตามใบกจิ กรรม

12. สื่อการเรียน
1. วัสดุและอปุ กรณ์ตามแบบบนั ทึกกจิ กรรม
2. แบบบนั ทกึ กจิ กรรม
3. แหล่งการเรียนรอู้ ินเทอรเ์ น็ต
4. หนังสอื เรยี นวทิ ยาศาสตร์ สสวท. ป.5


Click to View FlipBook Version