The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ไฟล์รวมโครงงานกลุ่ม6

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by , 2022-03-08 05:27:48

ไฟล์รวมโครงงานกลุ่ม6

ไฟล์รวมโครงงานกลุ่ม6

โครงการ
อิฐบลอ็ กปพู ืน้ จากพลาสติกโฟม

จดั ทาโดย

1.นายโชคทวี โทแหล่ง รหัสนักศึกษา 63301240057

2.นายตะวัน มอสันเทยี๊ ะ รหสั นกั ศกึ ษา 63301240087

3.นางสาววทันยา เนนิ อรญั รหัสนกั ศกึ ษา 63301240095

เสนอ
นางสาวนิชาวติ า วาสนาม

โครงงานเลม่ น้เี ปน็ สว่ นหนง่ึ ของการศึกษาวิชาโครงการ (30124-8501)
ประเภทวชิ าอตุ สาหกรรม สาขาปโิ ตรเคมี

ภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยเทคนคิ ระยอง
สานักงานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ



โครงงานเรอื่ ง อฐิ บลอ็ กปูพื้นจากพลาสติกโฟม
ผูศ้ ึกษา นายโชคทวี โทแหลง่ , นายตะวนั มอสันเทีย๊ ะ, นางสาววทนั ยา เนินอรญั
รายวชิ า โครงงาน
ครูท่ีปรึกษา นางสาวนชิ าวิตา วาสนาม
ปกี ารศกึ ษา 2/2564
การวิจัยคร้ังนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟม เพื่อศึกษา
อัตราส่วนของส่วนผสมท่ีเหมาะสมสาหรับผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม และเพ่ือศึกษา
อุณหภมู ิทเ่ี หมาะสมในการจัดทาผลิตภัณฑ์อฐิ บลอ็ กปูพ้นื จากพลาสตกิ โฟม
ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ อาจารย์แผนกปิโตรเคมี และ นักศึกษาแผนกปิโตร
เคมี ระดับ ปวส.2/1,2 จานวน 30 คน ใชว้ ิธีสุ่มแบบง่าย (Simple random sampling)

บทคัดยอ่

การผลิตอิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟมละลายในน้ามันพืช การทาโครงงานครั้งน้ีมี
วตั ถุประสงค์เพื่อ 1) เพ่ือจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพ้นื จากพลาสติกโฟม 2) เพ่ือศึกษาอัตราส่วนของ
ส่วนผสมท่ีเหมาะสมสาหรับผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม 3) เพ่ือศึกษาอุณหภูมิท่ี
เหมาะสมในการจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบลอ็ กปูพื้นจากพลาสติกโฟม วัตถุดิบที่ใช้ในการทดลองคือ น้ามัน
พืช พลาสตกิ โฟมชนิดพอลสิ ไตรีนและสนี ้ามันชนดิ ผง โดยการทดลองจะแบ่งออกเป็น 3 ตอน คือ เพื่อ
ศึกษาขนาดที่เหมาะสมของพลาสติกโฟม 100 กรัม ต่อน้ามัน 50 มลิ ลิลิตร ในการผลิตอิฐบล็อกปูพื้น
จากพลาสติกโฟม ตอนท่ี 2 ศึกษาอัตราส่วนท่ีเหมาะสมระหวา่ งน้ามันพืชกับพลาสติกโฟม และตอนที่
3 ดาเนินการจัดทาอิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟมจากอัตราส่วนที่เหมาะสม ในการผลิตอิฐบล็อกปู
พื้นจากพลาสติกโฟม โดยการนาไปละลายในน้ามันพืชที่อุณหภูมิ ประมาณ 95 °C โดยใช้อัตราส่วน
ของวัตถุดบิ ระหว่างนา้ มันพชื กบั พลาสติกโฟม คือ 1 : 2 (50 ml ตอ่ 100 g) นามาขึ้นรูปตามแมพ่ ิมพ์



กิตตกิ รรมประกาศ

โครงงานวิจัยฉบับน้ีสาเรจ็ ลุล่วงไปได้ดว้ ยดี โดยคณะครู และนักศึกษาหมวดวิชาอสุ าหกรรม
แผนกวชิ า ปิโตรเคมี และวทิ ยาลัยเทคนิคระยองทไี่ ดใ้ ห้ทนุ สนับสนนุ งานวจิ ัยฉบับน้ี โดยไดร้ บั ความอนเุ คราะห์
จากทา่ นผูม้ ีรายนามดงั ต่อไปน้ี

ขอขอบคุณ คุณครูท่ีปรกึ ษาโครงงานวิจยั นางสาวนิชาวิตา วาสนาม นางสาวสุมติ รา ฉมิ ฉายและ
นางสาวปาริชาต ธนาภรณ์ ที่ให้คาปรกึ ษาข้นั ตอนการผลิตการจดั จาหนา่ ย ตลอดจนให้คาแนะนาและแกไ้ ข
ปญั หาของการทางานจนสาเร็จลลุ ว่ งด้วยดี

ขอขอบคุณผู้เชี่ยวชาญ ศ.ดร.เวชสวรรค์ หลา้ กาศ หรอื อาจารยเ์ ป้า ผศ.ดร.ไกรสร ลักษณ์ศิริ ตาแหน่ง
วิชาการ / สงั กัด ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ สาขาวชิ าวิศวกรรมการก่อสร้าง คณะวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี
มหาวทิ ยาลยั ราชภัฏเชียงใหม่ อาจารยพ์ ราวพรรณ อาสาสรรพกิจ ตาแหน่งวชิ าการ / สงั กัด อาจารย์
สาขาวิชาวิศวกรรมการก่อสร้าง คณะวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั เชยี งใหม่และ
ขอบคุณนางสาวแจม่ สภา ปริถุน ที่ให้ความอนเุ คราะหข์ ้อมูลเรือ่ งอิฐบล็อกจากพลาสตกิ ชนิดพอลสิ ไตรนี

ขอขอบคุณ นายไพทูรณ์ ลอยล่อย เจา้ ของอพาร์ทเม้นท์สขุ ใจ 3
ทใ่ี หค้ วามอนเุ คราะหส์ ถานที่และอานวยความสะดวกในการจัดทาช้นิ งาน

ขอขอบคุณบดิ า มารดา ทีส่ นับสนนุ ใหก้ าลงั ใจในการจดั ทาสิ่งประดิษฐน์ ี้ จนงานสาเรจ็
และสุดทา้ ยน้ีขอขอบคุณเพอ่ื นรว่ มงานและทุกทา่ นท่ีให้การสนับสนุน ทง้ั ที่ไม่ได้กล่าวนามมา ณ ทน่ี ีด้ ว้ ย
ขอขอบคุณ ทุกท่านเปน็ อยา่ งสงู ไว้ ณ โอกาสนี้

คณะผจู้ ดั ทำ

นายตะวนั มอสนั เท๊ียะ และคณะผ้จู ัดทา
2564

สารบญั ค

เรือ่ ง หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญตาราง ง
สารบัญรปู ภาพ จ
บทที่ 1 บทนา
1.1 ท่ีมาและความสาคญั ของปัญหา 1
1.2 วัตถปุ ระสงค์ของโครงงาน 2
1.3 ขอบเขตของการทาโครงงาน 2
1.4 สมมุติฐานการวิจัย 2
1.5 คาจากดั ความท่ีใช้ในการวจิ ัย 2
1.6 ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ บั 3
บทที่ 2 ทฤษฎแี ละโครงงานที่เก่ียวข้อง
2.1 พลาสติก 5
2.2 ประเภทของพลาสตกิ 5
2.3 พลาสตกิ รีไซเคลิ ทงั้ 7 ประเภท 6
2.4 พลาสตกิ พอลสิ ไตรีน 8
2.5 การผลติ พลาสติกโฟม 9
2.6 ผลิตภัณฑท์ ีท่ าจากพอลสิ ไตรนี 9
2.7 การรีไซเคลิ พลาสติกชนิดพอลิสไตรีน 11
2.8 เอกสารท่ีเกยี่ วข้อง 11
บทท่ี 3 อุปกรณ์ สารเคมีและวิธีการทดลอง
3.1 อปุ กรณ์และสารเคมี 13
3.2 วธิ ีการดลอง 13
บทที่ 4 ผลการทดลอง
4.1 การนาเสนอผลการศึกษาค้นคว้า 15
บทที่ 5 สรปุ ผลการทดลองและข้อเสนอแนะ
5.1 สรปุ ผลการศกึ ษาคน้ ควา้ 19
5.2 อภิปรายผลการศึกษาคน้ คว้า 19
5.3 ประโยชน์ท่ีคาดว่าจะได้รบั 20
5.4 ขอ้ เสนอแนะ 20
บรรณานกุ รม 21
ภาคผนวก 22
ขนั้ ตอนการทางาน 23

สารบญั ตาราง ง

เรอื่ ง หน้า
3
ตารางท่ี 1.1 แสดงแผนการดาเนินงานของผลติ ภัณฑ์อฐิ บลอ็ กปูพน้ื 15
จากพลาสติกโฟม 16
17
ตารางท่ี 4.1 แสดงคณุ ลักษณะการศกึ ษาขนาดที่เหมาะสมของ
พลาสตกิ โฟม 100 กรมั ตอ่ นา้ มนั 50 มิลลลิ ติ ร

ตารางท่ี 4.2 แสดงผลการทดลองอตั ราส่วนทเ่ี หมาะสมระหว่างน้ามนั
พืชกบั พลาสตกิ โฟม

ตารางที่ 4.3 แสดงผลการทดสอบความแขง็ ของอิฐบลอ็ กโดยใชเ้ ครื่อง
Shore D

สารบญั รูปภาพ จ

เรอื่ ง หน้า
ภาพท่ี1 แสดงตัวอย่างภาพผลติ ภณั ฑ์อฐิ บล็อกปู 4
7
พ้นื จากพลาสตกิ โฟม 9
ภาพที่ 2.1 แสดงสัญลักษณข์ อง 11
18
พลาสติกรีไซเคิลทง้ั 7 ชนิด
ภาพที่ 2.2 แสดงการผลติ พลาสตกิ โฟม 23
ภาพท่ี 2.3 แสดงตัวอยา่ งของพลาสตกิ
23
ชนิดพอลิสไตรนี
ภาพท่ี 4.3.1 แสดงค่าความแขง็ ทีไ่ ดจ้ ากการ 24
24
ทดสอบดว้ ยเครื่อง Shore D
ภาพที่ 1 เตรียมพลาสตกิ โฟมเป็นชิน้ เล็กๆเพ่ือให้

ง่ายตอ่ การละลาย ชง่ั พลาสติกโฟมทต่ี ัดเป็นช้นิ

เล็กๆ แลว้ ปริมาณ 250 gและเตรยี มแบบพิมพ์อฐิ

บลอ็ กปูพื้น

ภาพท่ี 2 ตวงนา้ มันพืช 100 ml ใส่ลงในหมอ้ ตม้
แล้วนาไปต้มจนน้ามนั มีอุณหภมู ิ 95 °C นา
พลาสติกโฟมท่ีเตรยี มไวล้ งไปละลายในน้ามนั ที
ละน้อย ใช้ไมพ้ ายคนให้พลาสติกละลายจนหมด
ภาพที่ 3 คนจนสารละลายพลาสติกโฟมท่ีได้หนดื

แลว้ จึงนาสารละลายพลาสตกิ โฟมท่ไี ด้มาเทลงใน

แมพ่ ิมพ์ท่ีเตรียมไว้

รปู ที่ 4 ท้งิ ไวจ้ นกระทงั่ อิฐบล็อกโฟมท่ีไดเ้ ยน็ ตัว

ลง และแกะแบบพมิ พ์ออก

บทท่ี 1

บทนำ

1.1 ที่มำและควำมสำคญั ของปญั หำ

ในปัจจุบันพลาสติกโฟมที่ใช้แล้วมักถูกทิ้งเป็นขยะ ซ่ึงมีปริมาณมาก และการกาจัดที่ถูกวิธี
เป็นไปได้ยาก การนาขยะพลาสติกโฟมไปกาจัดท้ิงโดยการฝังกลบเป็นวิธีท่ีสะดวกแต่มีผลเสียต่อ
สิ่งแวดลอ้ ม ทง้ั นี้เพราะโดยธรรมชาติพลาสติกโฟมจะถูกย่อยสลายได้ยากจึงทบั ถมอยู่ในดินและนบั วันยิง่ มี
ปริมาณมากขึ้นตามปริมาณการใช้พลาสติกโฟม ส่วนการเผาขยะพลาสติกโฟมก็ก่อให้เกิดมลพิษและเป็น
อันตรายอยา่ งมาก

พลาสติกโฟมเป็นพลาสติกที่มีการใชท้ าเป็นบรรจุอาหารกันเป็นจานวนมาก เน่ืองจากภาชนะที่
ทาจากพลาสตกิ โฟมมนี า้ หนักเบาและราคาถกู ข้ึนรูปไดง้ า่ ยราคาไม่แพง ทนตอ่ อุณหภมู ิทาให้มจี าหน่ายใน
หลายรปู แบบเช่น ถ้วยโฟม กลอ่ งโฟมบรรจุอาหาร ถาดโฟมสาหรบั ใส่อาหาร เป็นต้น ทาให้สะดวกในการ
ใช้งาน นอกจากนี้ภาชนะท่ีทาจากพลาสติกโฟมยังมีราคาถูกเม่ือเทียบกับภาชนะชนิดอ่ืน จึงนิยมใช้เป็น
ภาชนะบรรจุอาหารเพียงครั้งเดียวแล้วทิ้ง พลาสติกโฟมถูกใช้อย่างแพร่หลายในอุตสากรรม ไม่ว่าจะเป็น
ด้านอุตสาหกรรมบรรจภุ ัณฑ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อาหาร และอุตสาหกรรมห้องเย็น ช้ินส่วนเคร่อื งปรับอากาศ
หรือแม้กระท่ังยานยนต์ โฟมหรือพลาสติกเป็นที่ทราบกันว่ามีสารพิษท่ีล้วนเป็นสารก่อมะเร็งหลาย
ประเภทและก่อให้เกิดปัญหาโลกร้อน อาทิเช่น สารสไตรีนมอนอเมอร์ (Styrene Monomer) สารไดออก
ซนิ (Dioxin) สารไวนิลคลอไรด์มอนอเมอร์ (Vinyl Chloride Monomer) ซึ่งสารพษิ เหล่าน้ีลว้ นเป็นสารที่
เพ่ิมความเส่ียงของมะเร็งเต้านมในผู้หญิงและมะเร็งต่อมลูกหมากในผู้ชาย ซ่ึงทาให้ระบบฮอร์โมนของ
ร่างกายผิดปกติ รวมไปถึงมะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะอาหาร มะเร็งตับ มะเร็งต่อมน้าเหลือง และมะเร็ง
ผิวหนัง อีกท้ังโฟมเหล่าน้ีใช้เวลาย่อยสลายนาน 400-500 ปี ก่อให้เกิดขยะล้นโลกเป็นขยะประเภทท่ี
ทาลายได้ยากหรอื ทาลายแลว้ เป็นพิษตอ่ มนุษยแ์ ละสิง่ แวดลอ้ ม

ดังนั้นคณะผู้วิจัยจึงคิดวิธีการแก้ปัญหาขยะพลาสติกโฟมท่ีได้ผลดีท่ีสุด คือการนาขยะ
พลาสติกโฟมกลับมาใช้ประโยชน์ใหม่ ซึ่งมีหลายวิธี เช่น การนากลับมาใช้ซ้า การหลอมขึ้นรูปผลิตภัณฑ์
ใหม่ การเปลี่ยนเป็นผลิตภัณฑ์ของเหลวและก๊าซ การใช้เป็นเชื้อเพลิงโดยตรงและการนาไปใช้เป็นวัสดุ
ประกอบ รวมถึงการนามาทาเปน็ ผลิตภัณฑ์อฐิ บลอ็ กปูพ้นื จากพลาสตกิ โฟม

2

1.2 วตั ถปุ ระสงคข์ องโครงงำน
1.2.1 เพอ่ื จดั ทาผลติ ภณั ฑ์อิฐบลอ็ กปูพนื้ จากพลาสตกิ โฟม
1.2.2 เพ่ือศึกษาอัตราส่วนของส่วนผสมที่เหมาะสมสาหรับผลติ ภัณฑ์อฐิ บล็อกปูพื้นจากพลาสติก

โฟม
1.2.3 เพื่อศกึ ษาอุณหภมู ิท่ีเหมาะสมในการจัดทาผลิตภัณฑ์อฐิ บล็อกปพู ืน้ จากพลาสติกโฟม

1.3 ขอบเขตของกำรทำโครงงำน
1.3.1 ขอบเขตดา้ นเนื้อหา ประชุมวางแผนดาเนนิ งาน
เลือกใช้องค์ความรู้และวัสดเุ หลือใช้ในการออกแบบ และผลิตอฐิ บล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม

วัสดุที่ใช้ทาอิฐบล็อกปูพ้ืน ได้แก่ พลาสติกโฟม น้ามันพืช อุปกรณ์ ได้แก่ แม่พิมพ์อิฐบล็อกขนาด
22.7×19.7×6 ซม. หม้อหม้อสแตนเลสขนาด 22 น้ิว เตาแก๊ส ดาเนินการจากองค์ความรู้ การศึกษา
ค้นควา้ ท่ีสามารถทาให้อิฐบล็อกจากพลาสตกิ โฟมมีความแขง็ แรง และสวยงาม

1.3.2 ขอบเขตดา้ นประชากรและกล่มุ ตัวอย่าง
กลุ่มตัวอยา่ ง ได้แก่ อาจารยแ์ ผนกปิโตรเคมี และ นักศึกษาแผนกปิโตรเคมี ระดับ ปวส.2/1,2

จานวน 30 คน ใชว้ ิธีสมุ่ แบบง่าย (Simple random sampling)

1.4 สมมุติฐำนกำรวิจัย
1.4.1 ผลิตภัณฑอ์ ิฐบลอ็ กปพู ้นื จากพลาสตกิ โฟมจะสามารถใชง้ านได้จรงิ
1.4.2 ถ้าอัตราส่วนที่เหมาะสมของพลาสติกโฟม และน้ามันพืช มีผลต่อความแข็งแรงของอิฐ

บล็อกจากพลาสติกโฟมแลว้ ดังนั้นอัตราส่วนที่เหมาะสมของพลาสติกโฟม และน้ามันพืชที่แตกต่างกันจะ
ได้อฐิ บลอ็ กจากพลาสตกิ โฟมทค่ี ุณลักษณะแตกตา่ งกนั

1.4.3 อุณหภูมิที่เหมาะสมในการจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟม คือ 95 องศา
เซลเซียส

1.5 คำจำกดั ควำมทใ่ี ชใ้ นกำรวิจยั
1.5.1 ผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม หมายถึง อิฐบล็อกทางเลือก ขนาด

22.7×19.7×6 ซม. มรี าคาถูกสามารถทาเองได้ มแี ข็งแรง และทนทาน
1.5.2 อิฐบล็อก หมายถึง อิฐที่ทาจากส่วนผสมระหว่าง ปูนซีเมนต์ กับ ทราย เป็นวัสดุอีกชนิด

หนึ่งทน่ี ิยมใช้ในงานก่อสร้าง เน่ืองจากมีราคาถูกมาก เม่ือเทยี บกับอิฐชนดิ อื่น ๆ จึงเหมาะกับการก่อสร้าง
อาคาร โกดัง โรงงาน ท่ตี ้องการประหยัดงบประมาณและต้องการให้งานเสร็จไว เพราะ อิฐบล็อก มีขนาด
ใหญ่ จงึ ก่อสร้างไดส้ ะดวก รวดเร็ว

1.5.3 พลาสติกโฟม หมายถึง เป็นผลิตภัณฑ์พลาสติกชนิดหนึ่งท่ีเกิดจากผลพลอยได้จาก
กระบวนการผลิตปิโตรเลียม มาในรูปเม็ดพลาสติกเรซิ่น เม่ือผสมสารพองตัว (Blowing agent) ก๊าซเพน

3

เทนซึ่งเป็นสารประกอบคาร์บอนตามธรรมชาติ ผ่านกระบวนการให้ความร้อนจากไอน้า เกิดเป็นเม็ดโฟม
EPS สีขาว ขยายตัวประมาณ 50 เท่าเป็นเม็ดๆ มีลักษณะเป็นเซลล์ปิดและเม่ือขยายตัวแล้วจะมีอากาศ
เขา้ มาแทนทถี่ งึ 98% ของปรมิ าตรมีเพียง 2% เทา่ ที่เปน็ เนื้อพลาสติก

1.5.4 นา้ มันพชื หมายถึง เปน็ ไขมันทส่ี กดั จากเมลด็ หรือจากส่วนอ่ืน ๆ ของพชื

1.6 ประโยชน์ท่ีคำดวำ่ จะได้รบั
1.6.1 ไดผ้ ลติ ภณั ฑ์อิฐบลอ็ กปูพื้นจากพลาสติกโฟม
1.6.2 ลดปรมิ าณขยะประเภทพลาสตกิ โฟม
1.6.3 ประยุกตใ์ ชน้ า้ มันพชื เก่าที่ผ่านการใช้งานแล้ว

ตำรำงที่ 1.1 แสดงแผนการดาเนินงานของผลติ ภณั ฑ์อิฐบล็อกปูพืน้ จากพลาสติกโฟม

ระยะเวลำกำรดำเนนิ กำร

ขน้ั ตอนกำรดำเนนิ งำน พ.ศ. 2564 พ.ศ. 2565

พฤศจิกายน ธันวาคม มกราคม กุมภาพันธ์ มนี าคม

1. ศกึ ษาขอ้ มลู ท่สี นใจ

2. เสนอโครงการ

3. ศึกษาข้อมลู เพม่ิ เติม

4. วางแผนการทดลอง

5. ลงมือปฏบิ ตั ิ

6. สรุปผล/ประเมนิ ผล

7. จดั ทารายงานโครงการ

8. นาเสนอโครงการ

4

1.7 ตัวอย่ำงภำพประกอบ ผลิตภัณฑอ์ ิฐบลอ็ กปพู น้ื จำกพลำสตกิ โฟม ดังภาพท1ี่

ภาพที่1 แสดงตัวอย่างภาพผลิตภัณฑ์อิฐบลอ็ กปูพน้ื จากพลาสติกโฟม

บทที่ 2

ทฤษฎแี ละโครงงำนทีเ่ กยี่ วข้อง

ในการศึกษาการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เรือ่ ง ผลิตภณั ฑ์อฐิ บล็อกปพู ้นื จากพลาสตกิ โฟม เพ่อื ให้
โครงงานบรรลจุ ุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นควา้ คณะผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสาร แนวคดิ ทฤษฎีต่าง
ๆ ท่ีเกี่ยวข้องเพ่ือให้มีความรู้ความเข้าใจในหลักการ ท่ีมีส่วนเก่ียวข้องกับโครงงานดังเอกสารและรายงาน
วจิ ัยในหัวขอ้ ต่าง ๆ ดงั นี้

2.1 พลาสตกิ
2.2 ประเภทการใช้งานพลาสตกิ
2.3 พลาสตกิ รีไซเคลิ ทัง้ 7 ประเภท
2.4 พลาสติกพอลิสไตรีน (Polystyrene: PS)
2.5 การผลติ พลาสติกโฟม
2.6 ผลิตภณั ฑท์ ท่ี าจากพอลิสไตรนี
2.7 การรไี ซเคลิ พลาสติกชนดิ พอลสิ ไตรีน
2.8 เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

2.1 พลำสตกิ
พลาสติกจัดเป็นวัสดุพอลิเมอร์ท่ีเป็นสารประกอบอินทรีย์ที่มีลักษณะเป็นสายโซ่ยาวๆ แต่ไม่

สามารถมองเห็นสายโซ่ได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งสายโซ่ประกอบด้วยหน่วยย่อยๆที่เรียกว่า มอนอเมอร์
(monormer) พอลิเมอร์สามารถสังเคราะห์ได้จากกระบวนการพอลเิ มอรไ์ รเซชั่น (polymerization) ของ
มอนอเมอร์โดยใช้แหล่งวัตถุดิบจากปิโตรเคมีเป็นหลักพลาสติกมีหลายชนิดและสามารถใช้แทนวัสดุ
ธรรมชาติได้หลายอย่าง เช่น พอลิไวนิลคลอไรด์ (PVC) ใช้ผลิตท่อพีวีซี พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท (PET)
ใชผ้ ลติ ขวดบรรจุน้าดื่ม และพอลสิ ไตรีน (PS) ใชผ้ ลติ ภาชนะบรรจตุ ่างๆ เช่น กล่องข้าว ช้อนพลาสตกิ

2.2 ประเภทกำรใชง้ ำนพลำสติก
หากแบ่งประเภทของพลาสติกตามสมบตั ทิ างความรอ้ นสามารถแบง่ ออกเปน็ 2 ประเภทคอื
2.2.1 เทอรโ์ มพลำสตกิ (Thermoplastic)
โพลิเมอรป์ ระเภทนี้จะมีโครงสร้างโมเลกุลของสายโซ่โพลิเมอร์เปน็ แบบเส้นตรงหรือแบบก่งิ ส้นั ๆ

สามารถละลายได้ดีในตัวทาละลายบางชนิด เมื่อได้รับความร้อนจะอ่อนตัวและหลอมเหลวเป็นของเหลว
หนืดเน่อื งจากโมเลกุลของโพลิเมอร์ที่พนั กันอยู่สามารถเคลอ่ื นทีผ่ ่านกันไปมาได้ง่ายขึ้นเมื่อได้รบั ความรอ้ น
และเมื่อเย็นตัวลงก็จะแข็งตัว ซึ่งการหลอมเหลวและเย็นตัวน้ีสามารถ เกิดกลับไปกลับมาได้โดยไม่ทาให้
สมบัติทางเคมีและทางกายภาพหรือโครงสร้างของโพลิเมอร์เปลี่ยนไปมากนักพลาสติกประเภทน้ีสามารถ

6

ขน้ึ รปู โดยการฉดี ขณะท่ีพลาสติกถูกทาให้อ่อนตัวและ ไหลได้ด้วยความร้อนและความดันเข้าไปในแม่แบบ
ที่มีชอ่ งว่างเปน็ รปู ร่างตามต้องการภายหลังจากที่ พลาสตกิ ไหลเข้าจนเต็มแม่พิมพ์จะถูกทาให้เย็นตัวและ
ถอดออกจากแม่พิมพไ์ ดผ้ ลิตภณั ฑ์ที่มรี ูปร่าง ตามต้องการ สามารถนาไปใช้งานได้ เม่ือใชเ้ สรจ็ แล้วสามารถ
นากลับมารีไซเคลิ ได้โดยการบดและ หลอมด้วยความรอ้ นเพ่ือข้ึนรูปเปน็ ผลิตภัณฑ์ใหม่ได้อีก แต่พลาสติก
ประเภทนีม้ ีข้อเสยี และขีดจากดั ของการใช้งานคอื ไมส่ ามารถใช้งานที่อุณหภูมิสูงได้ เพราะอาจเกิดการบิด
เบีย้ วหรือเสยี รูปทรงไป ตวั อย่างเชน่ ขวดน้าดื่มไม่เหมาะสาหรับใช้บรรจุนา้ ร้อนจัดหรือเดอื ด

2.2.2 เทอร์โมเซตต้ิง (Thermosetting)
โพลิเมอร์ประเภทน้ีจะมีโครงสร้างเป็นแบบร่างแห ซ่ึงจะหลอมเหลวได้ในขั้นตอนการขึ้นรูปคร้ัง

แรก ขั้นตอนน้ีจะมีปฏิกิริยาเคมีเกิดข้ึน ทาให้เกิดพันธะเชื่อมโยงระหว่างโมเลกุลทาให้โพลิเมอร์ ไม่
สามารถหลอมเหลวได้อีกเมื่อได้รับความร้อนและหากได้รับความร้อนสูงเกินไป จะทาให้พันธะระหว่าง
อะตอมในโมเลกลุ แตกออกได้สารท่ีไมม่ ีสมบัตขิ องความเป็นโพลเิ มอรต์ ่อไป

การผลิตพลาสติกชนิดเทอร์โมเซตต้ิงจะแตกตา่ งจากพลาสตกิ ชนิดเทอร์โมพลาสติกคือในขั้นตอน
แรกต้องทาใหเ้ กิดปฏิกิริยาโพลเิ มอไรเซชันเพียงบางสว่ นมีการเช่ือมโยงโมเลกุลเกิดข้ึนบ้างเล็กน้อยและยัง
สามารถหลอมเหลวเมื่อได้รับความร้อนจึงสามารถข้ึนรปู ภายใตค้ วามดันและอุณหภมู ิสงู ได้เมอื่ ผลิตภัณฑ์มี
รูปร่างตามต้องการแล้ว ให้คงอุณหภูมิไว้ประมาณ 200-300 องศาเซลเซียส เพ่ือให้ได้โครงสร้างแบบ
ร่างแหท่ีเสถียรและแข็งแรง สามารถนาผลิตภัณฑ์ออกจากแบบโดยไม่ต้องรอให้เย็นเน่ืองจากผลิตภัณฑ์
จะแข็งตัวอยู่ภายในแม่พิมพ์ ดังน้ันการให้ความร้อนในกระบวนการผลิตพลาสติกเทอร์โมเซตกลับทาให้
วัสดุแข็งขึ้นต่างจากกระบวนการผลิตพลาสติกเทอร์โมพลาสติก ท่ีการให้ความร้อนจะทาให้พลาสติกน่ิม
และหลอมเหลวพลาสติกเทอร์โมเซตเมื่อใช้งานเสร็จแล้วไม่สามารถนามาผ่านการหลอมและผลิตเป็น
ผลิตภัณฑ์ใหม่หรือรีไซเคิล (recycle) ได้อีกและถ้าให้ความร้อนมากเกินไป จะทาให้พลาสติกเกิดการ
สลายตัวหรือไหม้โดยไม่เกิดการหลอมเหลว

2.3 พลำสตกิ รีไซเคิลทั้ง 7 ประเภท
2.3.1 พลำสติกหมำยเลข 1 : ชอ่ื วา่ พอลิเอทธิลีนเทเรฟธาเลท (Polyethylene Terephthalate)

หรือที่รู้จักกันเรียกว่าเพ็ท (PET หรือ PETE) เป็นพลาสติกใส แข็ง ทนแรงกระแทกดี ไม่เปราะแตกง่าย
และกันแก๊สซึมผ่านดีใช้ทาขวดบรรจุน้าดื่ม ขวดน้ามันพืช สามารถนามารีไซเคิลเป็นเส้นใยสาหรับทาเส้ือ
กนั หนาว พรม และใยสังเคราะหส์ าหรบั ยดั หมอน เปน็ ต้น

2.3.2 พลำสติกหมำยเลข 2 : ช่ือว่าพอลิเอธิลีนความหนาแน่นสูง ( High Density
Polyethylene) หรือท่ีเรียกแบบย่อว่า เอชดีพีอี (HDPE) เป็นพลาสติกที่เหนียวและแตกยาก ค่อนข้าง
แข็ง แต่ยึดได้มากทนทานต่อสารเคมีและสามารถขึ้นรูปทรงต่างๆได้ง่าย ใช้ทาขวดนมขวดน้าและบรรจุ
ภณั ฑส์ าหรับน้ายาทาความสะอาด ยาสระผม สามารถนามารีไซเคิลเป็นขวดนา้ มันเครื่อง ทอ่ ลังพลาสติก
ไม้เทียม เป็นต้น

7

2.3.3 พลำสติกหมำยเลข 3 : ชอ่ื ว่าพอลไิ วนิลคลอไรด์ (Polyvinylchloride) หรอื ที่รู้จักกันดีว่า
พีวีซี (PVC) ใช้ทาท่อน้าประปาสายยางใสสาหรับห่ออาหาร แผ่นพลาสตกิ สาหรับทาประตู หน้าต่าง และ
หนังเทียมเป็นต้น สามารถนามารีไซเคิลเป็นท่อน้าประปาหรือรางน้าสาหรับการเกษตร กรวยจราจร
เฟอร์นิเจอร์ ม้านั่งพลาสตกิ ตลับเทป เคเบลิ แผน่ ไมเ้ ทยี ม เป็นต้น

2.3.4 พลำสติกหมำยเลข 4 : ชื่อว่าพอลิเอทิลีนความหนาแน่นต่า ( Low Density
Polyethylene) สามารถเรียกแบบย่อว่า แอลดีพีอี (LDPE) เป็นพลาสติกท่ีมีความนิ่ม เหนียว ยืดตัวได้
มาก ใส ทนทาน แตไ่ ม่ค่อยทนต่อความร้อน ใช้ทาฟิล์มหอ่ อาหาร และห่อของถุงใส่ขนมปัง ถุงเยน็ สาหรับ
บรรจุอาหาร สามารถนามารีไซเคิลเป็นถุงดาสาหรับใส่ขยะ ถุงหูห้ิว ถังขยะ กระเบื้องปูพ้ืน เฟอร์นิเจอร์
แท่งไมเ้ ทียม เป็นตน้

2.3.5 พลำสติกหมำยเลข 5 : ช่ือว่าพอลิโพรพิลีน (Polypropylene) เรียกโดยย่อว่าพีพี (PP)
เป็นพลาสติกที่มีความใส ทนทานต่อความร้อน คงรูปเหนียวและทนแรงกระแทกได้ดี นอกจากน้ียังทนต่อ
สารเคมีและน้ามัน ใช้ทาภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่องชามจาน ถัง ตะกร้า กระบอกใส่น้าแช่เย็น ขวด
ซอสแก้วโยเกิร์ต ขวดบรรจุยา สามารถนามารไี ซเคิลเป็นกลอ่ งแบตเตอรี่ในรถยนตช์ ้ินสว่ นรถยนต์ เชน่ กัน
ชนและกรวยสาหรบั นา้ มัน ไฟท้าย ไม้กวาด พลาสตกิ แปรง เปน็ ต้น

2.3.6 พลำสติกหมำยเลข 6 : ชื่อว่าพอลิสไตรีน (Polystyrene) หรือท่ีเรียกโดยย่อว่า พีเอส
(PS) เป็นพลาสติกที่มีความใส แต่เปราะและแตกง่าย ใช้ทาภาชนะบรรจุของใช้ต่างๆหรือโฟมใส่อาหาร
เป็นต้น เป็นพลาสติกท่ีมีจุดหลอมเหลว 70-115 องศาเซลเซียส สามารถนามารีไซเคิลเป็นไม้แขวนเส้ือ
กล่องวดิ ีโอ ไม้บรรทัด กระเปาะเทอร์โมมิเตอร์ แผงสวติ ช์ไฟ ฉนวนความรอ้ น ถาดใสไ่ ข่ เคร่ืองมือเครอื่ งใช้
ตา่ งๆได้

2.3.7 พลำสติกหมำยเลข 7 : นั้นมิได้มีการระบุช่อื จาเพาะ แต่ไม่ใช่พลาสติกชนดิ ใดชนิดหน่ึงใน
6 ที่ไดก้ ล่าวไปในขา้ งต้น แต่เปน็ พลาสตกิ ทน่ี ามาหลอมใหมไ่ ด้

ภำพประกอบที่ 2.1 แสดงสัญลักษณ์ของพลาสติกรีไซเคลิ ทัง้ 7 ชนดิ

8

2.4 พลำสติกพอลิสไตรีน (Polystyrene: PS)
เปน็ พอลิเมอรเ์ กา่ แกท่ ่ีรจู้ ักกันมานานแลว้ โดยท่ัวไปสไตรีนพอลเิ มอร์จะมีความแขง็ เปราะแตกได้

ง่าย แต่สามารถทาให้เหนียวขึ้นได้โดยการเติมยางสังเคราะหบ์ ิวทาไดอีนลงไปซง่ึ เรียกว่าสไตรีนทนแรงอัด
สูง (High impact styrene) การใช้สไตรีนเป็นโคพอลเิ มอร์เพื่อปรับปรุงคุณภาพและสมบัติของพอลเิ มอร์
อ่ืนให้ดีขึ้นเมื่อรวมตัวกับพอลิเมอร์อื่นจะทาให้มีคุณสมบัติเปลี่ยนไป เช่น มีความเหนียวและความแข็ง
เพม่ิ ขน้ึ ทนความร้อนเพิ่มขึน้ อุณหภูมิจดุ หลอมตวั สูงข้ึน

พอลิสไตรนี บริสุทธ์ิมีลักษณะใสคล้ายกระจก ปัจจุบันนกั วิทยาศาสตร์ไดพ้ ฒั นาเทคโนโลยกี ารผลิต
พอลิสไตรีนให้มีคุณภาพดีข้ึนมีความเป็นผลึกใส แข็ง และข้ึนรูปได้ง่าย พอลิสไตรีนเป็นพอลิเมอร์ที่มี
อุณหภูมิหลอมเหลวเป็นช่วงกว้าง ทาให้ง่ายต่อการหล่อข้ึนรูปด้วยแม่พิมพ์สามารถเลือกต้ังอุณหภูมิและ
ความดนั ของเครือ่ งจกั รไดง้ า่ ย พอลสิ ไตรีนเป็นพอลเิ มอรท์ ่มี ีนา้ หนกั เบา(ที่สุด) และมีราคายอ่ มเยา

พลาสติกโฟมที่ใช้ทาภาชนะโฟมบรรจุอาหารที่ใช้กันอยู่ทั่วไปส่วนใหญ่เป็นโฟมท่ีทามาจาก
พลาสติกชนิดพอลิสไตรนี (Polystyrene, PS) ซ่ึงเป็นสารพอลิเมอร์ (polymer) ท่ีเกิดจากการนาโมเลกุล
ของสารสไตรีน (styrene) มาเชื่อมต่อกันเป็นสายยาวโดยขบวนการพอลิเมอไรเซชัน (polymerization)
พอลิสไตรีนท่ีได้จะถูกนามาเตมิ สารช่วยในการขยายตัว (blowing agent หรือ expanding agent) ได้แก่
คาร์บอนไดออกไซด์ (carbon dioxide) และเพนเทน (pentane) เพื่อช่วยให้พลาสติกสามารถพองตัว
และเกิดการแทรกตัวของก๊าซในเนื้อพลาสติกได้เป็นพอลิสไตรีนโฟม (Polystyrene Foam, PS foam)
หรือสไตโรโฟม (Styrofoam) หลังจากให้ความร้อนด้วยไอน้า พอลิสไตรีนโฟมท่ีได้มักถูกนาไปรีดให้เป็น
แผ่นเรียกว่า พอลิสไตรีน เปเปอร์โฟม (Polystyrene Paper Foam, PSP) ก่อนขึ้นรูปเป็นภาชนะบรรจุ
อาหารรปู ร่างตา่ งๆตามตอ้ งการ

พอลิสไตรีน (Polystyrene, PS) เป็นพลาสติกท่ีผลิตขึ้นมาจากสไตรีนมอนอเมอร์ซึ่งเป็นสาร
ไฮโดรคาร์บอนที่ได้จากปิโตรเลียมถูกผลิตออกขายคร้ังแรกในช่วงปี 1930-1939 ช่วงแรกสไตรีนที่ผลิต
ข้ึนมาถูกนาไปใช้ในสงครามโลกคร้ังท่ี 2 เป็นหลัก หลังจากสงครามจบลงจึงเปล่ียนมาผลิตเป็นพลาสติก
พอลิสไตรีนออกขายแทน ในการผลิตพอลิสไตรีนยังมีวัตถุดิบอื่น ๆ ท่ีใช้ร่วมด้วย ได้แก่ เบนซีน เอทิลีน
และบิวทาไดอินพอลิสไตรีนเป็นพลาสติกชนิดเทอร์โมพลาสติก คือหลอมเป็นของเหลวได้ โดยท่ี
อณุ หภูมิห้องจะอย่ใู นสถานะของแขง็ แต่จะหลอมละลายเมอ่ื ทาให้ร้อนและแข็งตัวเม่ือเย็นลง พอลสิ ไตรีน
แข็งที่บริสุทธ์ิจะไม่มีสี ใส แต่สามารถทาเป็นสีต่างๆ ได้และยืดหยุ่นได้จากัด พอลิสไตรีนที่ใช้กันอยู่ทั่วไป
ส่วนใหญ่เป็นชนิดที่เรียกว่า expanded polystyrene (EPS) เป็นชนิดท่ีได้จากการผสมพอลิสไตรีนร้อย
ละ 90-95 กับสารทาให้ขยายตัว ร้อยละ 5-10 พลาสติกท่ีเป็นของแข็งถูกทาให้เป็นโฟมโดยการใช้ความ
รอ้ นมักเปน็ ไอนา้ พอลิสไตรนี อกี ชนิดหนง่ึ คือ Extruded polystyrene (XPS) มชี อื่ ทางการค้าท่ีแพรห่ ลาย
คือ Styrofoam เปน็ ชนิดท่ีมีการเติมอากาศไว้ในช่องว่างตามเน้ือโฟมทาให้มีค่าการนาความรอ้ นต่า ใช้ใน
งานก่อสร้างและใช้เป็นฉนวนกันความร้อนในอาคาร และยังมีชนิดท่ีเป็นแผ่นเรียกว่า Polystyrene
Paper Foam (PSP) ใช้เปน็ ภาชนะบรรจุอาหาร เช่น กล่องหรือถาดใส่อาหาร

9

2.4.1 สมบัติทัว่ ไป
1. มคี วามแขง็ แต่เปราะแตกง่ายนา้ หนกั เบาราคาถกู
2. ไมม่ สี ไี มม่ ีกล่ินมีความใสผวิ เรยี บใสส่ เี ดมิ แตง่ ไดง้ า่ ยและคงความโปรง่ ใสเชน่ เดมิ
3. ทนทานต่อสารเคมที ั่วไป แตไ่ มท่ นตอ่ สารไฮโดรคารบ์ อนและตัวทาละลายอินทรีย์
4. เปน็ ฉนวนไฟฟา้
5. ไม่ดูดความชื้นเกิดไฟฟ้าสถติ ได้งา่ ยทาใหด้ ูดฝนุ่ ละอองได้ดี
6. การหดตวั สูงเมอ่ื เย็นตวั ทาให้ถอดจากแมพ่ มิ พไ์ ด้ง่าย แตอ่ าจเสยี รูปและขนาดไป
7. ไมท่ นตอ่ สภาพสิง่ แวดลอมภายนอกผิวเส่ือมสภาพเรว็ ไม่ทนตอ่ การถกู ขดี ข่วน

2.5 กำรผลติ พลำสตกิ โฟม
พลาสติกโฟมเป็นพลาสติกทมี่ ีเน้ือฟูเนือ่ งจากมีก๊าซแทรกอยูใ่ นเน้อื พลาสติก การท่ีมีกา๊ ซแทรกอยู่

ในเนือ้ ทาให้โฟมมีความหนาแน่นน้อยเป็นฉนวนความร้อน มีน้าหนักเบา ลอยน้าได้ และสามารถขึ้นรูปให้
มรี ูปร่างตา่ งๆได้ตามต้องการ ด้วยเหตุน้ีทาให้นยิ มนาโฟมมาใช้ประโยชน์ในงานต่างๆมากมาย เชน่ ใช้เป็น
ฉนวนกันความร้อนในอาคาร วัสดุกันกระแทก เส้ือชูชีพ โฟมว่ายน้า หมวกกันน็อคภาชนะบรรจุอาหาร
และบรรจุภัณฑ์อืน่ ๆ เชน่ กลอ่ งใส่ไข่ ถาดใส่เน้อื กลอ่ งเก็บความเยน็ เป็นตน้ พลาสติกท่ใี ช้เปน็ วตั ถุดิบใน
การผลิตโฟมได้มีหลายชนิด ได้แก่ Polyethylene Polystyrene Polyurethane แต่ชนิดที่เป็นที่นิยมใช้
อย่างแพร่หลายและกอ่ ให้เกิดปัญหาในการกาจัดเป็นโฟมจากพลาสติกชนดิ polystyrene (Polystyrene
Foam หรือ PS foam หรือ Styrofoan)

ภำพประกอบที่ 2.2 แสดงการผลติ พลาสตกิ โฟม

2.6 ผลติ ภัณฑท์ ี่ทำจำกพอลิสไตรนี
พอลิสไตรนี เรซนิ มีลักษณะเปน็ เม็ด เป็นผง และเปน็ ของเหลวเหมาะสาหรับการข้ึนรปู ผลติ ภัณฑ์

ด้วยวิธีต่างๆ ผลติ ภัณฑ์ทั่วไป ไดแ้ ก่
2.6.1 แก้วโฟม ถว้ ยจาน แกว้ น้า ชอ้ นสอ้ มท่ใี ช้แลว้ ท้งิ ทีค่ ัน่ พลาสติก จานหรอื ถาด
พลาสติกใส่อาหารกล่องบรรจอุ าหารและผลไม้
2.6.2 โฟมทใี่ ชเ้ ป็นบรรจภุ ณั ฑ์ตา่ ง ๆ เชน่ บรรจุภณั ฑ์กันกระแทกสาหรับใส่ขวดไวน์
ผลไม้ และคอมพวิ เตอรอ์ ปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนกิ ส์ เป็นต้น

10

2.6.3 วสั ดุช่วยพยุงใหล้ อยนา้
2.6.4 แผ่นฉนวนกันความร้อนในอาคาร
2.6.5 อน่ื ๆ เช่น ไม้บรรทัดไม้ แขวนเสื้อ ม้วนวดิ ีโอ ตลับเทป ชิ้นสว่ นในตู้เย็น ด้ามลกู อม
ในขนมเด็ก ขวดหรอื กระปกุ ใส่ยา เป็นตน้
การใชพ้ ลาสตกิ โฟมในการบรรจอุ าหารบางชนิดจะทาให้เกิดการปลดปล่อยสารสไตรีนซง่ึ เป็นสาร
ก่อมะเร็งในกลุ่ม 2B (carcinogen in group 2B) ซ่ึงเป็นสารท่ีอาจจะก่อให้เกิดมะเร็งในมนุษย์และสัตว์
ออกจากภาชนะโฟมลงสู่อาหารท่ีบรรจุอยู่ ปริมาณของสารสไตรีนท่ีถูกปล่อยลงสู่อาหารขึ้นกับสามปัจจัย
หลัก ได้แก่ อุณหภูมิของอาหารท่ีบรรจุ ปริมาณไขมันในอาหารและระยะเวลาท่ีภาชนะโฟมสัมผัสอาหาร
สารสไตรีนเป็นสารท่ีละลายได้ดีในน้ามันและแอลกอฮอล์ ดังนั้นการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารที่มีไขมัน
สูงจะทาให้มีสารสไตรีนละลายออกมาปนเป้ือนในอาหาร ย่ิงถ้าอุณหภูมิของอาหารที่บรรจุในภาชนะโฟม
สงู ประกอบกับการท้ิงให้อาหารสัมผัสกับภาชนะโฟมเป็นเวลานานดว้ ยแล้วย่ิงมกี ารปลดปล่อยสารสไตรีนอ
อกมาสู่อาหารได้มากขึ้น สารบางชนิดท่ีเป็นส่วนประกอบของเคร่ืองด่ืม เช่น แอลกอฮอล์หรือกรดในชา
มะนาวเองก็มีผลให้การละลายของสารสไตรีนลงสู่อาหารท่ีบรรจุอยู่ได้มากข้ึน ไม่เพียงแต่เคร่ืองดื่มที่เป็น
ของเหลวแม้แตอ่ าหารทเี่ ป็นของแข็งที่มีไขมนั สูง ถงึ แม้วา่ การวจิ ัยท่ผี ่านมายังสรุปไม่ได้ชดั เจนนกั ว่าสารส
ไตรีนจะมีผลร้ายต่อสุขภาพอย่างไรบ้าง แต่การที่ร่างกายได้รับสารชนิดนี้ในปริมาณค่อนข้างสูงอย่าง
ต่อเน่ืองเป็นเวลานานจากการใช้ภาชนะโฟมบรรจุอาหารที่ไม่ถูกวิธีย่ อมนามาซ่ึงผลเสียต่อสุขภาพใน
อนาคต การใช้ภาชนะโฟมพลาสตกิ EPS ใสอ่ าหารท่ีร้อน เช่น กาแฟรอ้ น การคนกาแฟร้อนๆ ดว้ ยแท่งคน
ที่ทาจากพลาสติก EPS หรือการท่โี ฟมสมั ผัสกับกรด เช่น น้ามะนาวหรอื อาหารท่ีมวี ติ ามินเอแล้วนาไปเข้า
ไมโครเวฟก็สามารถทาให้สไตรีนมอนอเมอร์ในโฟมพลาสติกละลายออกมาผสมในอาหารได้ การเผาโฟม
พลาสติกพอลิสไตรีนทาให้เกิดก๊าซพิษสไตรีนออกไซค์ ซ่ึงเป็นสาเหตุของของมะเร็งการรีไซเคิล โฟมพอ
ลิสไตรีนมีปัญหาในเรื่องไม่คุ้มทุนเป็นสาคัญ เน่ืองจากคุณภาพของพลาสติกที่รีไซเคิลได้จะต่าลงกว่าก่อน
ผ่านการรีไซเคิล ดังนั้นพลาสติกท่ีรีไซเคิลได้จึงไม่สามารถนากลับมาผลิตเป็นผลิตภัณฑ์เดิมได้ต้องทาเป็น
ผลิตภณั ฑ์ท่ดี ้อยคุณภาพลงไป เช่น โฟมบรรจุอาหารไม่สามารถรีไซเคลิ กลับมาใสอ่ าหารไดอ้ ีก ต้องนาไป
ทาเป็นโฟมกันกระแทกฉนวนฝาผนัง ถาดในโรงอาหาร เป็นต้น ซ่ึงการทาเช่นนี้ต้องใช้เพ่ิมวัตถุดิบหรือ
ตน้ ทุนด้านต่าง ๆ เข้าไปอีกอยา่ งไรก็ตาม ภาชนะบรรจุอาหารที่ทาจากโฟมเป็นภาชนะท่เี หมาะกับการใช้
เป็นภาชนะบรรจุอาหารท่ีใช้คร้ังเดียวแล้วทิง้ ประกอบกับในปัจจบุ ันมีการใชภ้ าชนะชนิดนี้อยา่ งแพร่หลาย
ทาให้เกดิ ปญั หาต่อสิ่งแวดล้อม ทั้งนี้เนือ่ งจากพลาสติกโฟมเป็นสารทไ่ี ม่สามารถย่อยสลายได้ การนาไปฝัง
ต้องใช้พื้นที่มากการเผาก็ทาให้เกิดมลพิษในอากาศ วิธีแก้ปัญหาท่ีดีที่สุดคือการลดการใช้ภาชนะบรรจุ
อาหารทที่ าจากพลาสติกโฟมโดยหนั ไปใช้ภาชนะที่ทาจากพลาสตกิ ชนดิ อื่น หรอื ภาชนะท่ีทาจากแก้วหรือ
กระเบื้องที่ปลอดภัยกว่าและสามารถนากลับมาใช้บรรจุอาหารได้ อีกหลายครั้งหรือใช้ภาชนะที่ทาจาก
พลาสตกิ ท่สี ามารถย่อยสลายไดท้ างชวี ภาพ

11

2.7 กำรรีไซเคิลพลำสติกชนดิ พอลสิ ไตรีน
สัญลักษณ์การรีไซเคิลของพลาสติกชนิดพอลิสไตรีนคือเลข 6 พลาสติกชนิดนี้สามารถรีไซเคิลได้

แต่มีค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงเม่ือเทียบกับราคาของตัวพลาสติกเองจึงไม่นิยมท่ีจะรีไซเคิลกัน นอกจากน้ี
พลาสตกิ ชนดิ พอลิสไตรีนที่อยใู่ นรูปของพลาสตกิ โฟม หรอื Ps foam จะมีผิวที่ถูกขูดขีดเป็นรอยได้ง่ายทา
ความสะอาดได้ยาก จึงไมน่ ิยมนากลับมาใชใ้ หมท่ าให้มขี ยะจากพลาสตกิ ชนดิ น้มี ากขน้ึ ทุกวันจนเป็นปญั หา
ต่อสิ่งแวดล้อมเพราะการกาจัดโดยการเผาขยะจากพลาสติกชนิดน้ีต้องใช้ความร้อนสูงและต้องมีปริมาณ
ออกซิเจนที่มากพอจึงจะเกิดการเผาไหม้ที่สมบูรณ์ และไม่เป็นพิษต่อสิ่งแวดล้อมนอกจากน้ีการกาจัดโดย
การฝังกลบต้องใช้พ้ืนที่มากเน่ืองจากปริมาณของพลาสติกที่มีมากและตัวพลาสติกเองมีความคงตัวสูงไม่
สามารถยอ่ ยสลายได้

ภำพประกอบที่ 2.3 แสดงตวั อย่างของพลาสตกิ ชนิดพอลสิ ไตรีน

2.8 เอกสำรท่เี กีย่ วขอ้ ง
‘โครงการบล็อกปูถนนรีไซเคิล’ โครงการของภาควชิ าเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์

และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ ในความดูแลของ ศ. ดร.เวชสวรรค์ หล้ากาศ หรือ อาจารย์
เป้า ของนักศึกษา น่ีคือโครงการท่ีใช้ ‘ถนนรีไซเคิล’ ผลงานของอาจารย์ มาต่อยอด จนกลายเป็นอีก
นวัตกรรมซึ่งช่วยจัดการขยะพลาสติกท่ีล้นโลกให้หมุนเวียนและเกิดประโยชน์อย่างย่ังยืน 7 ปีที่แล้ว
ในทริปทัศนาจรทะเลของอาจารย์และครอบครัว น่าจะเป็นการท่องเท่ียวท่ีสุขสันต์ตามปกติ หากแต่
อาจารยพ์ บความแปลกประหลาดของระบบนิเวศและสง่ิ แวดล้อมโดยรอบที่กลายเปน็ แรงบันดาลใจสาคัญ
ของอาจารย์เป้า เพื่อจัดการอะไรสกั อยา่ งกบั ขยะในทะเลแห่งน้ัน ประกอบกบั อาจารยเ์ ป้าเป็นวิศวกรโยธา
ที่มีองค์ความรู้เร่ืองคมนาคมและถนนหนทาง จึงเริ่มทดลองนาถุงพลาสติกแบบต่างๆ มาผสมใน
ส่วนประกอบผลิตวัสดุปูถนนร่วมกับยางมะตอย เน่ืองจากยางมะตอยและพลาสติกมาจากกระบวนการ

12

เผาปิโตรเคมซี ่ึงมาจากแหลง่ เดียวกัน ทาให้เกิดแรงยึดเหน่ยี วที่ทาใหว้ ัสดุยึดเกาะกนั ได้ดีขึ้น สง่ ผลให้วัสดุมี
ความแข็งแรง นาไปสู่การพัฒนาเป็นโครงการถนนรีไซเคิลในเวลาต่อมา อาจารย์ทดลองนาขยะ
ถุงพลาสติกมาผสมในยางมะตอย ปรากฏว่ามันทาให้ยางมะตอยมีค่าประสิทธิภาพที่สูงขึ้นและดีข้ึน ก่อน
ผสมขยะถงุ พลาสติกเข้าไป จากที่เริ่มทดลองเม่ือ 7 ปีทีแ่ ล้ว ค่าความแข็งแรงของยางมะตอยสงู กว่าเดมิ ไป
ประมาณสัก 20 – 30 เปอร์เซ็นต์ ตอนนเ้ี ราพัฒนาให้ค่านน้ั สงู กว่ามาตรฐานปกติ 300 เปอรเ์ ซ็นต์ ยางมะ
ตอยท่ีมันแข็งขึ้นหมายความว่าเราจะประหยัดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุง และใช้ถนนของเราได้ทนทาน
และนานข้นึ

สาหรับ พลาสติกเคยเป็นพระเอกมาก่อน เมื่อประมาณ 100 กว่าปีมีคนผลิตพลาสติกสาเร็จ
พลาสติกทาให้โลกของเรามีวิวัฒนาการแบบก้าวกระโดดเลย พลาสติกทาให้ชีวิตผู้คนสะดวกสบาย แต่
ตอนน้ีพลาสติกกลายเป็นผู้รา้ ย เพราะมนษุ ยใ์ ชพ้ ลาสติกเยอะมากจนเกิดเปน็ ไมโครพลาสตกิ เยอะ เกดิ เป็น
อะไรต่างๆ มันไม่ใช่ จริงๆ ต้องกลับมามองท่ีคน คนต่างหากที่ไปใช้อย่างไม่บันยะบันยัง มันก็เลยเกิด
ปัญหา

ดังน้ัน ศ. ดร.เวชสวรรค์ หล้ากาศ ภาควิชาเทคโนโลยีอุตสาหกรรม คณะวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จึงได้เร่ิมโครงการบล็อกปูถนนรีไซเคิลต่อยอดมาจากโครงการ
ถนนรไี ซเคิล ใช้วัสดุชนดิ เดียวกนั มาตัดแบ่งเปน็ บล็อกปถู นนที่มีความทนทานสูงในราคาตน้ ทุนท่ีไม่มากนัก
ขัน้ ตอนการผลิตเริ่มแรกคือ การคัดแยกขยะ เน่ืองจากขยะถุงพลาสติกคือวัสดุท่ีรถรับซ้ือของเก่าไม่รับซื้อ
ขยะถุงพลาสติกจึงกลายเป็นหน่ึงในวัตถุดิบสาคัญของบล็อกปูถนนรีไซเคิล อาจารย์เป้าเลือกขยะ
ถุงพลาสติกที่ยืดได้หรือเป็นถุงแบบอ่อนเท่าน้ัน เพราะถุงที่แข็งและฉีกขาดง่ายต้องใช้อุณหภูมิสูงในการ
ผลิต ทาให้ใช้พลังงานมากขึ้น เม่ือได้ถุงพลาสติกตามต้องการในปริมาณท่ีเหมาะสม จึงนาถุงพลาสติกมา
ย่อยเป็นชิ้นเล็กๆ ประมาณ 1 เซนติเมตร เพื่อใช้พลังงานการหลอมละลายให้น้อยท่ีสุด เมื่อย่อยชิ้น
พลาสติกแล้วจึงนาไปตากให้แห้ง จากน้ันจึงนาทรายผสมในอัตราส่วน 1:3 คือพลาสติก 1 ส่วน ทราย 3
ส่วน ซ่ึงทรายที่ใช้จะเป็นทรายหยาบหรือละเอียดก็ได้ แต่ควรเป็นทรายท่ีแห้งแล้ว หากยังไม่แห้งจะต้อง
เสียเวลานาทรายไปคั่วให้ไอน้าออกจากทราย ซึ่งจะเสียเวลาและทาให้ข้ันตอนยุ่งยาก เม่ือชั่งส่วนผสมจน
ได้อัตราส่วนที่ถูกต้องแล้ว จึงนาทรายใส่ในเครื่องผสมร้อนท่ีทางภาควิชาคิดค้นและพัฒนาขึ้นมา ทิ้งไว้ให้
อุณภูมิสูงราว 240 องศาเซลเซียส จึงนาพลาสติกใส่เข้าไป ให้เกิดการผสมและหลอมละลายรวมเป็นเน้ือ
เดียวกันราว 5 – 10 นาที ต้องหมั่นสังเกตให้วัสดุท้ังหมดเป็นสีเทา และอย่าให้ผสมนานเกินไปเพราะ
พลาสตกิ อาจลุกไหม้ได้ จากน้ันจึงเทวัสดุทห่ี ลอมรวมกันแล้วบรรจุในพิมพ์เหล็ก แล้วอัด กระทุ้ง หรือตอก
ดว้ ยค้อนเหล็กให้ได้ 70 – 75 ครง้ั จงึ ท้งิ ใหเ้ ซ็ตตัว เมื่อปล่อยให้วสั ดุบล็อกปูถนนเย็นตัวแลว้ ควรนาไปแช่
น้าให้อุณหภูมิลดลงอีก ในขณะท่ีแช่น้าควรคว่าหน้าบล็อกลง เพราะถ้าหงายพลาสติกลงน้าไม่ดี วัสดุจะ
กลายเป็นแอ่งไมส่ วยงาม ควรให้หน้าวัสดุเรยี บจึงแกะออกมาใชง้ านได้

บทที่ 3

อปุ กรณ์ สำรเคมแี ละวธิ กี ำรทดลอง

ในการทาโครงงานวิททยาศาสตร์ เรื่อง ผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม ครั้งนี้ มี
จุดมุ่งหมายเพือ่ ศกึ ษาปรมิ าณที่เหมาะสมของพลาสติกโฟมในการทาผลติ ภณั ฑ์อฐิ บล็อกปูพ้ืนจากพลาสติก
โฟม 1 ก้อน เพื่อศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสมของน้ามันพืช ต่อพลาสติกโฟม 1 กิโลกรัม ในการเพ่ิมความ
แข็งแรงของผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟม เพ่ือศึกษาความแข็งแรงทนทานของผลิตภัณฑ์อิฐ
บลอ็ กปูพ้ืนจากพลาสตกิ โฟม คณะผจู้ ดั ทา จงึ ดาเนินวิธกี ารศึกษาค้นคว้า ดงั นี้

3.1 วสั ดอุ ุปกรณ์และสารเคมี
3.2 ข้นั ตอนและวธิ ีการดาเนนิ งาน

3.1 อุปกรณ์
1. หม้อต้ม
2. เตาแก๊ส
3. เทอรโ์ มมิเตอร์
4. ไมพ้ ายคนสาร
5. ตาชัง่
6. ถ้วยตวง
7. แบบพมิ พอ์ ิฐบลอ็ กปูพน้ื
8. กระดาษหนังสือพิมพ์

สำรเคมี
1. กลอ่ งโฟมบรรจอุ าหารหรอื โฟมกันกระแทก
2. น้ามันพชื
3. สีน้ามันชนิดผง

3.2 วธิ ีกำรทดลอง
การทดลองในคร้ังน้ีแบ่งการดาเนินงานเป็น 2 ตอนคือตอนที่ 1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสม

ระหว่างนา้ มันพชื กบั พลาสติกโฟม ตอนที่ 2 ดาเนินการจดั ทาอฐิ บลอ็ กปูพื้น

ตอนท่ี 1 ศกึ ษำอตั รำส่วนท่เี หมำะสมระหว่ำงนำ้ มนั พืชกับพลำสตกิ โฟม
1. เตรยี มพลาสตกิ โฟมเปน็ ช้นิ เล็กๆ 50 g
2. ตวงน้ามนั พืช 50 ml ใส่ลงไปในหม้อต้มแลว้ นาไปตม้ จนนา้ มนั มอี ุณหภมู ิสูงกว่า 95 °C

14

3. นาพลาสติกโฟมท่เี ตรียมไวใ้ นข้อที่ 1. ลงไปละลายในน้ามันทีละน้อย ใชไ้ มพ้ ายคนสารคน
จนละลายเป็นเน้ือเดยี วกนั

4. เทสารละลายพลาสติกโฟมทไี่ ดจ้ ากข้อท่ี 3. ทง้ิ ใหเ้ ย็นตัว สังเกตความหนืดและการเย็นตัว
ของพลาสติกโฟมทีไ่ ด้และบันทึกผลการทดลอง

5. ทาการทดลองซา้ แตเ่ ปลี่ยนปรมิ าณโฟมจาก 50 g, 75 g, 100 g, 125 g และ 150 g
ตามลาดับ (อตั ราส่วนนา้ มนั พชื ต่อพลาสตกิ โฟมทีใ่ ชท้ ดลอง คอื 1:1 g, 1:1.5 g, 1:2 g,
1:2.5 gและ 1:3g)

ตอนที่ 2 ดำเนินกำรจัดทำผลิตภณั ฑ์อิฐบลอ็ กปพู น้ื จำกพลำสตกิ โฟม

1. เตรยี มพลาสติกโฟมเป็นชน้ิ เลก็ ๆและเตรียมแบบพมิ พ์อิฐบล็อกปูพ้ืน
2. ช่งั พลาสตกิ โฟมปริมาณ 250 g
3. ตวงนา้ มันพืช 100 ml ใสล่ งในหม้อตม้ แล้วนาไปต้มจนน้ามันมอี ุณหภมู ิ 95 °C
4. นาพลาสตกิ โฟมท่เี ตรยี มไว้ลงไปละลายในนา้ มนั ทลี ะน้อย ใชไ้ ม้พายคนสารคนสารละลาย

ตลอดเวลา
5. เติมสนี ้ามนั ชนิดผงลงไปในสารละลาย
6. คนจนสารละลายพลาสติกโฟมท่ไี ด้หนืดแลว้ จึงนาสารละลายพลาสตกิ โฟมที่ได้มาเทลงใน

แมพ่ ิมพท์ ี่เตรยี มไว้
7. ท้ิงไว้จนกระท่ังอิฐบล็อกโฟมท่ีได้เย็นตัวลง แกะแบบพมิ พ์ออกและตัดตกแตง่ ใหส้ วยงาม

หมำยเหตุ : สัดส่วนที่เหมาะสมระหว่างน้ามันพืชกับพลาสติกโฟมท่ีได้จากการทดลองในตอนท่ี 1 คือ 50
ml : 125 g หรอื 100 ml : 250 g (1:2.5) อุณหภมู ิทเ่ี หมาะสมในการทดลอง คือ 95 °C

บทท่ี 4

ผลกำรทดลอง

การทดลองในครั้งน้ีแบ่งการดาเนินงานเป็น 3 ตอน คือ ตอนที่ 1 ศึกษาอัตราส่วนที่เหมาะสม
ระหว่างน้ามันพืชกบั พลาสตกิ โฟม ตอนที่ 2 ดาเนินการจดั ทาผลิตภัณฑ์อิฐบลอ็ กปพู นื้ จากพลาสตกิ โฟม

ตอนท่ี 1 เพ่ือศึกษาขนาดที่เหมาะสมของพลาสติกโฟม 100 กรัม ต่อน้ามัน 50 มิลลิลิตร ในการผลิตอิฐ
บลอ็ กปูพนื้ จากพลาสติกโฟม

ตำรำงท่ี 4.1 แสดงคุณลักษณะการศึกษาขนาดท่ีเหมาะสมของพลาสติกโฟม 100 กรัม ต่อน้ามัน 50
มิลลลิ ิตร

ครัง้ ที่ ลกั ษณะผลิตภัณฑ์อฐิ บล็อกปูพืน้ จากพลาสติกโฟม

ขนาด สี รูปทรง ความแขง็ แรง

1 รศั มี 9 ซม. ขาว ทรงกระบอก แข็งแรงมาก

ความสงู 4 ซม.

2 รศั มี 9 ซม. ขาว ทรงกระบอก แข็งแรง

ความสูง 4 ซม.

3 รศั มี 9 ซม. ขาวอม ทรงกระบอก แขง็ แรง
ความสงู 4 ซม. เหลือง

16

ตอนท่ี 2 ศึกษาอตั ราสว่ นท่เี หมาะสมระหวา่ งนา้ มันพชื กับพลาสติกโฟม

ตำรำงที่ 4.2 แสดงผลการทดลองอัตราสว่ นที่เหมาะสมระหว่างนา้ มันพืชกบั พลาสติกโฟม

ปริมาตรน้ามนั พืช ปรมิ าณโฟม อัตราส่วน ผลการทดลอง
(ml) (g) นา้ มนั พืช (ml) :

โฟม (g)

50 50 1:1 น้ามนั เหลอื มากเกนิ ไป ไม่สามารถเทโฟม
ออกมาให้เป็นรูปตามแบบแมพ่ มิ พไ์ ด้

50 75 1:1.5 โฟมมีความหนืดข้ึนกวา่ สัดส่วนที่ 1 และยัง
มีนา้ มนั เหลือเลก็ นอ้ ย

50 100 1:2 โฟมหนืดได้ที่สามารถเทลงในแม่พิมพ์ได้
พอดี

50 125 1:2.5 โฟมมีความหนืดมากข้ึน ทาให้ใส่แม่พิมพ์
ยากขึ้นเล็กนอ้ ย

โฟมมีความหนืดมากเกินไป ทาให้เทใส่
50 150 1:3 แม่พิมพ์ยากและไม่เหลือน้ามันท่ีจะละลาย

โฟมได้อีก

17

ตอนท่ี 3 ดาเนินการจดั ทาอฐิ บลอ็ กปพู นื้ จากพลาสติกโฟมจากอัตราส่วนที่เหมาะสม
ในการผลิตอิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม โดยการนาไปละลายในน้ามันพืชท่ีอณุ หภูมิ ประมาณ

95 °C โดยใช้อัตราสว่ นของวัตถดุ ิบระหว่างนา้ มนั พืชกับพลาสติกโฟม คอื 1 : 2 (50 ml ตอ่ 100 g) นามา
ขน้ึ รูปตามแมพ่ มิ พ์ ซงึ่ ได้อิฐบล็อกจากโฟมที่มีสมบัติทางกายภาพและลักษณะดังตอ่ ไปน้ี

1. น้าหนกั เบา
2. สสี ันสวยงามเนือ่ งจากสามารถใชส้ นี า้ มันละลายไดห้ ลากหลายสตี ามต้องการ
3. มคี วามแข็งแรง ทดสอบโดยใช้เครือ่ ง Shore D

ตำรำงท่ี 4.3 แสดงผลการทดสอบความแข็งของอิฐบลอ็ กโดยใชเ้ คร่ือง Shore D

อิฐบลอ็ กกอ้ นที่ ทดสอบครงั้ ท่ี ค่าความแข็ง ค่าเฉล่ยี
1 1 52 53.4
2 2 51 54.2
3 3 54 55
4 54
5 56
1 54
2 55
3 55
4 54
5 53
1 54
2 55
3 57
4 53
5 56

18

อิฐบลอ็ กก้อนที่ ทดสอบคร้ังที่ คา่ ความแข็ง ค่าเฉล่ยี
4 1 56 55.8
2 54
5 3 56 57.4
4 58
5 55
1 58
2 59
3 56
4 57
5 57

ความแขง็ ของอิฐบลอ็ กโดยใชเ้ ครอ่ื ง Shore D

60

58

56

54

52

50

48

46 ทดสอบครง้ั ท่ี 2 ทดสอบครง้ั ท่ี 3 ทดสอบครง้ั ท่ี 4 ทดสอบครงั้ ท่ี 5
ทดสอบครง้ั ท่ี 1 อฐิ บลอ็ กกอ้ นท่ี 4 อฐิ บลอ็ กกอ้ นท่ี 5

อฐิ บลอ็ กกอ้ นท่ี 1 อิฐบลอ็ กกอ้ นท่ี 2 อิฐบลอ็ กกอ้ นท่ี 3

ภำพที่ 4.3.1 แสดงคา่ ความแขง็ ท่ไี ดจ้ ากการทดสอบดว้ ยเครือ่ ง Shore D

บทท่ี 5

สรปุ ผลกำรทดลองและข้อเสนอแนะ

การศึกษาค้นคว้าคร้ังน้ี มีจุดมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า เพื่อจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพื้น
จากพลาสติกโฟม เพ่ือศึกษาอัตราส่วนของส่วนผสมที่เหมาะสมสาหรับผลิตภัณฑ์อิฐบล็อกปูพ้ืนจาก
พลาสติกโฟม เพ่ือศึกษาอุณหภมู ิท่ีเหมาะสมในการจัดทาผลิตภัณฑ์อิฐบลอ็ กปพู ้ืนจากพลาสติกโฟม โดยมี
ผลการศึกษาคน้ คว้า ดังนี้

5.1 สรุปผลกำรศกึ ษำคน้ ควำ้
จากผลการศึกษาค้นคว้า ตอนท่ี 1 พบว่า ขนาดท่ีเหมาะสมของพลาสติกโฟม 100 กรมั ต่อน้ามัน

50 มิลลิลิตร ในการผลิตอิฐบล็อกปูพื้นจากพลาสติกโฟม ครั้งท่ี 1, 2 และ 3 คร้ังที่ 1 มีคุณลักษณะท่ีดี
ทีส่ ดุ คอื อิฐบล็อกปพู ้ืนจากพลาสตกิ โฟม มีขนาดรัศมี 9 ซม. สูง 4 ซม. มสี ขี าว มคี วามแขง็ แรงมาก ซึง่ ผล
การทดลองเป็นไปตามสมมตุ ิฐาน ขอ้ ที่ 1

จากผลการศึกษาค้นคว้า ตอนท่ี 2 พบว่า ศึกษาอัตราส่วนท่ีเหมาะสมระหว่างน้ามันพืชกับ
พลาสติกโฟม คือ ปริมาตรน้ามันพืช 50 ml ต่อ ปริมาณโฟม 100 g ซึ่งผลการทดลองเป็นไปตาม
สมมุตฐิ าน ขอ้ ท่ี 2

จากผลการศึกษาค้นคว้า ตอนท่ี 3 พบว่า ศึกษาอุณหภูมิท่ีเหมาะสมในการผลิตอิฐบล็อกปูพื้น
จากพลาสติกโฟม อุณหภูมิที่เหมาะสมในการผลิตอิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟม คือ อุณหภูมิ 95 °C ซึ่ง
ผลการทดลองเปน็ ไปตามสมมตุ ิฐาน ขอ้ ที่ 3

5.2 อภิปรำยผลกำรศกึ ษำค้นคว้ำ
ในการผลติ อิฐบล็อกปพู นื้ จากพลาสติกโฟม โดยการละลายในตัวทาละลายอนิ ทรีย์

ได้แก่ นา้ มันพืช จากการศึกษาสามารถสรุปได้ดงั นี้
1. จากผลการศึกษาค้นคว้าขนาดที่เหมาะสมของพลาสติกโฟม 100 กรัม ต่อน้ามัน 50 มิลลิลิตร

ในการผลิตอิฐบล็อกปูพ้นื จากพลาสติกโฟม พบวา่ คือ อฐิ บลอ็ กปพู ้ืนจากพลาสตกิ โฟม มีขนาดรัศมี 9 ซม.
สูง 4 ซม. มีสีขาว นา้ หนักเบา มีความแข็งแรงมาก มขี นาดท่ีพอเหมาะในการขนย้าย อฐิ บลอ็ กปูพื้นจาก
พลาสตกิ โฟม ท่ีผลติ ข้นึ ได้บรรลุตามจุดมงุ่ หมายและสมมตุ ฐิ านทต่ี งั้ ไว้

2. จากผลการศึกษาค้นคว้าอัตราส่วนที่เหมาะสมระหว่างน้ามันพืชกับพลาสติกโฟม พบว่า
ปริมาตรน้ามันพืช 50 ml ต่อ ปริมาณโฟม 100 g โฟมหนืดได้ที่สามารถเทลงในแม่พิมพ์ได้พอดี เมื่อโฟม
แห้ง โฟมไม่เกาะติดแม่แบบ และไม่มีน้ามันเหลืออยู่ อิฐบล็อกปูพ้ืนจากพลาสติกโฟม ท่ีผลิตข้ึนได้บรรลุ
ตามจดุ มุ่หมายและสมมุตฐิ านที่ต้ังไว้

20

3. จากผลการศกึ ษาค้นคว้าอุณหภมู ิที่เหมาะสมในการผลิตอฐิ บลอ็ กปูพน้ื จากพลาสติกโฟม พบว่า
อุณหภูมิท่ีเหมาะสม คือประมาณ 95 °C เพราะถ้าอุณหภูมิต่าเกินไป การละลายของพลาสติกโฟมจะไม่
สมบูรณ์ ขึ้นรูปได้ยาก แข็งตัวเร็วเกินไป แต่ถ้าอุณหภูมิสูงจนเกินไปจะทาให้เกิดควันมาก เกิดกลิ่นเหม็น
ในขณะปฏิบัติการทดลองอิฐบล็อกปพู ื้นจากพลาสติกโฟมที่ผลิตได้มีลักษณะเบา สีสันสวยงามเคลื่อนย้าย
ได้งา่ ย และท่ีสาคัญคือ สามารถลดขยะพลาสตกิ ประเภทโฟมได้มาก รวมถงึ สามารถนาน้ามันพชื เก่ากาจัด
ได้โดยไม่ต้องท้ิงให้เป็นผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม โดยถ้าใช้น้ามันพืชเก่า 1 ลิตร จะสามารถลดขยะพลาสติก
โฟมชนิดพอลิสไตรีนได้ถึง 2 กิโลกรัม หรือกล่องข้าวโฟม 377 กล่อง โดยกล่องข้าวโฟมขนาดกลาง 1
กลอ่ ง หนัก 5.31 กรัม อฐิ บลอ็ กจากพลาสตกิ โฟม ทผี่ ลิตขึน้ ไดบ้ รรลตุ ามจุดมงุ่ หมายและสมมตุ ฐิ านทตี่ งั้ ไว้

5.3 ประโยชนท์ คี่ ำดว่ำจะได้รบั
1. ไดผ้ ลิตภณั ฑอ์ ฐิ บล็อกปพู น้ื จากพลาสตกิ โฟม
2. ลดปริมาณขยะประเภทพลาสติกโฟม
3. ประยกุ ตใ์ ชน้ ้ามันพชื เก่าทีผ่ ่านการใชง้ านแลว้

5.4 ข้อเสนอแนะ
1. สามารถประยุกตด์ ดั แปลงใหม้ ีรูปทรงได้ตามต้องการ ขนึ้ อยกู่ ับแบบแม่พิมพ์ที่ใช้
2. สามารถเตมิ สสี นั ไดต้ ามต้องการ ขน้ึ อยกู่ บั สีทผี่ สมเข้าไป

21

บรรณานกุ รม

พทิ รู ตรีวิจิตรเกษม. (2553). นวตั กรรมการตลาดพลาสตกิ ชีวภาพชนิดสลายตัวได้, คณะวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยสุวินอภิชาติ พัฒนศิริ. (2556). การรีไซเคิล
พลาสติกชนิดพอลิสไตรีน, ภาควิชาวิศวกรรมเคมีคณะวิศวกรรมศาสตร์หมาวิทยาลัย
มหิดลวลัยพรมุข สุวรรณ, พลาสติกพอลิสไตรีน, เอกสารวิชาการศูนย์ความเป็นเลิศ
แห่งชาติด้านการจัดการส่ิงแวดล้อมและของเสียอันตรายกรมวิทยาศาสตร์บริการ
กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, มปป. อัญชนา พัฒนสพุ งษ์และคณะ. (2553). การ
ย่อยสลายพลาสติกชีวภาพ, ฝ่ายวิทยาศาสตร์ชีวภาพสถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีแห่งประเทศไทย Chintan Environmental Research and Action Group,
2007. Plastic: A treat to mankind, National Book Trust, India.

ท่มี า : https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/999567/

ท่มี า : https://sites.google.com/site/kaewphlastik/khwam-ru-keiyw-kab-phlastik-thang-
7-chnid

ทม่ี า : http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=4&ID=11
ทมี่ า : https://www.bbc.com/thai/thailand-54445023
ที่มา : http://www.chemtrack.org/News-Detail.asp?TID=1&ID=24
ทม่ี า : https://www.tcijthai.com/news/2013/19/scoop/2397
ทมี่ า : http://www.wkblock.com/block-talk/109-concreteblock.html
ทมี่ า : https://nocnoc.com/blog/how-to-decoate-a-small-space/

ภาคผนวก

23

รูปภาพแสดงขนั้ ตอนการทางาน

ภาพที่ 1 เตรียมพลาสติกโฟมเป็นชน้ิ เลก็ ๆเพื่อให้งา่ ยต่อการละลาย ช่งั พลาสตกิ โฟมทตี่ ัดเปน็ ช้ินเลก็ ๆ แลว้
ปรมิ าณ 250 gและเตรยี มแบบพิมพ์อิฐบลอ็ กปูพื้น

ภาพที่ 2 ตวงน้ามันพืช 100 ml ใส่ลงในหมอ้ ตม้ แลว้ นา้ ไปตม้ จนน้ามนั มีอณุ หภูมิ 95 °C น้าพลาสตกิ โฟมที่
เตรยี มไว้ลงไปละลายในน้ามนั ทลี ะน้อย ใช้ไม้พายคนให้พลาสตกิ ละลายจนหมด

24

ภาพที่ 3 คนจนสารละลายพลาสติกโฟมที่ได้หนืดแลว้ จงึ น้าสารละลายพลาสตกิ โฟมท่ีได้มาเทลงในแมพ่ ิมพ์ที่
เตรยี มไว้

รปู ที่ 4 ทิง้ ไวจ้ นกระทง่ั อฐิ บล็อกโฟมท่ีไดเ้ ย็นตัวลง และแกะแบบพมิ พอ์ อก


Click to View FlipBook Version