The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี 2563 ของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี 2563

รายงานประจำปี 2563 ของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

รายงาน

ประจําป
2563

กองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

คาํ นํา

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค
ไดจัดทํารายงานประจําป 2563 มีวัตถุประสงคเพ่ือเผยแพรผลการดําเนินงาน
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2563 โดยนําเสนอ ขอมูลท่ัวไปขององคกร
ยุทธศาสตร แผนงาน โครงการ ผลการดําเนินงานสําคัญท่ีผานมา ปจจัยแหง
ความสาํ เรจ็ ปญ หาและอุปสรรคในการดาํ เนินงานรวมถึงแนวทางแกไ ขปญหา

จากการดําเนินงานในป 2563 ถึงแมจะมีปจจัยท่ีทาทายตอการ
ดําเนินงานท้ังจากภายในและภายนอกองคกร แตกองฯ สามารถนํางบประมาณ
มาดําเนินการในการเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินเพ่ือการควบคุมโรค
และภัยสุขภาพ ซึ่งมีการพัฒนาท้ังดานนโยบาย งานวิชาการ และการบริหาร
จัดการของศูนยปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ไดบรรลุ
วัตถุประสงค

ในการจัดทํารายงานประจําปฉบับน้ี ไดรับความรวมมืออยางดียิ่ง
จากผูบริหาร คณะทํางานจัดทํารายงานประจําป 2563 ตลอดจนบุคลากรของ
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในการใหขอมูลประกอบการ
จัดทํารายงาน สงผลใหการจัดทํารายงานสําเร็จลุลวงดวยดี คณะผูจัดทําหวัง
เปนอยางย่ิงวา รายงานฉบับนี้จะเปนประโยชนในการเรียนรูกระบวนการ
ดําเนินงานตอ ไป

คณะทํางานจดั ทาํ รายงานประจาํ ป 2563
กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

พฤศจิกายน 2564

รายงานประจาํ ป 2563 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน

ท่ีปรกึ ษา: ผอู าํ นวยการกองควบคมุ โรคฯ
นายสตั วแพทยพ รพิทักษ พนั ธหลา รองผูอ าํ นวยการกองควบคมุ โรคฯ
รองผูอาํ นวยการกองควบคมุ โรคฯ
นายแพทยเ จษฎา ธนกจิ เจริญกุล

นายแพทยร ฐั พงษ บรุ ีวงษ

กองบรรณาธิการ
นางสธุ ดิ า วรโชตธิ นัน นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชํานาญการพิเศษ
นางสาวรจุ ริ า หม่นื ทอง นักวเิ คราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการ
นางสาวกษมา นบั ถือดี นกั วิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการ
นางสาวกิรณา เทวอกั ษร นกั วชิ าการสาธารณสุขชํานาญการ
นางสาวฐานิตา สมศรี นักทรพั ยากรบุคคล
นางสาวปภิชญา สายสวาสดิ์ นักจดั การงานท่วั ไป

จดั ทําโดย

คณะทํางานจดั ทาํ รายงานประจําป 2562 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ
โทรศพั ท : 02 590 3156, 02 590 3246 โทรสาร: 02 588 376
E-mail: [email protected]

สามารถดาวนโหลดเอกสารไดที่ Website: https://ddc.moph.go.th/ddce

สารบญั

คาํ นาํ หนา
สวนท่ี 1 ขอมลู ทั่วไปเกยี่ วกับกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน 1
สว นที่ 2 งบประมาณที่ไดรบั การจดั สรรและผลการเบกิ จาย 9
สวนที่ 3 ผลการดาํ เนนิ งานโครงการ 13
สว นท่ี 4 ผลงานสาํ คัญที่ผา นมา 35
สว นท่ี 5 ภาคผนวก 46

1

สวนท่ี 1 ขอมูลทวั่ ไปเก่ียวกับกองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

1. ประวตั ิความเปนมาของกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน
เน่ืองจากปญหาโรคและภัยสุขภาพเปนปญหาที่สําคัญและมีแนวโนมท่ีจะทวีความรุนแรงมากข้ึน

อันเนอ่ื งมาจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ีมกี ารแขงขันกันสูงรวมถึงสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป เชน ภาวะโลกรอน
เชื้อโรคกอตัวและเปล่ียนแปลงสายพันธุตลอดเวลา ประกอบกับปญหาฉุกเฉินทางดานสาธารณสุข เชน โรคที่เกิดจาก
ภยั ธรรมชาติ สารเคมีระเบิดหรอื รวั่ ไหล การปนเปอ นรังสีและนวิ เคลียร ก็ทวีความรุนแรงมากข้นึ เชนกนั ดังนั้น กรมควบคุมโรค
ในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจในการเฝาระวัง ปองกัน และควบคุมโรคและภัยสุขภาพจึงจําเปนตองมีหนวยงานเฉพาะ
ในการพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และเทคโนโลยี เพื่อใหการเฝาระวังปอ งกนั เตรียมความพรอม และควบคุม
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขเปนไปอยางมีระบบและทันตอสถานการณของโรคและภัยสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ฉะน้ัน
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติระเบยี บบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และทแี่ กไขเพม่ิ เติม
กรมควบคุมโรคจึงมีคําสั่งกรมควบคุมโรคท่ี 155/2561 ลงวันท่ี 1 กุมภาพันธ 2561 ใหจัดต้ังกองควบคุมโรคและภัย
สุขภาพในภาวะฉุกเฉินข้ึนเปนหนวยงานภายในเพ่ือรองรับการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและมีฐานะเทียบเทา
กองในสงั กัดกรมควบคมุ โรค

2. วสิ ัยทัศน พันธกจิ และบทบาทหนา ที่ของกองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ

วิสัยทัศน

“เปนองคกรระดับประเทศทไ่ี ดรับการยอมรับดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขแบบบูรณาการ
เพ่อื ใหประชาชนปลอดภัยจากโรคและภัยสุขภาพ”

พันธกจิ

1. พฒั นาระบบและกลไกศนู ยปฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉิน และระบบบัญชาการเหตุการณ ในการจดั การภาวะฉุกเฉิน
ทางสาธารณสขุ ใหเปน ไปตามมาตรฐานสากล
2. ประสานและบูรณาการความรวมมือระหวางหนวยงานท่ีเกีย่ วของและภาคีเครือขาย ในการจัดการภาวะฉุกเฉนิ
ทางสาธารณสขุ
3. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และถายทอดองคความรูเทคโนโลยี และนวัตกรรมเกี่ยวกับการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสขุ

บทบาทหนา ท่ีกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

1. ศึกษา วิเคราะห วิจัย และพัฒนาองคความรูและเทคโนโลยี ตลอดจนจัดทําระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับการ
จดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในขอบขา ยความรบั ผดิ ชอบของกรม

2. เปน ศนู ยกลางในการสง เสริม สนับสนนุ และประสานงานทางดา นวชิ าการ เวชภณั ฑและวัสดอุ ปุ กรณในการเฝา
ระวงั ปอ งกนั เตรยี มความพรอ ม และควบคมุ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในขอบขา ยความรบั ผดิ ชอบของกรม

2

3. เสนอแนะและพฒั นานโยบายยทุ ธศาสตร กฎหมายมาตรการและคณุ ภาพมาตรฐานการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
4. ถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใหแกหนวยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน องคก รปกครองสวนทองถน่ิ และประชาชน
5. จัด ประสาน และพัฒนาระบบ กลไก และเครือขายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข รวมทั้งสื่อ
สัญญาณเตือนภยั การระบาดของโรคแกห นว ยงานทเี่ กย่ี วของและสาธารณชน
6. ดาํ เนินการรวมกบั หนวยงานที่เกีย่ วขอ งหรอื องคก รปกครองสว นทอ งถ่ินในการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ
7. เตรยี มความพรอ มรบั มอื ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ ในขอบขายความรับผดิ ชอบของกรม
8. จัดระบบงานตระหนักรูสถานการณและระบบการรายงานขาวกรองเพื่อเตือนภัยและใหขอเสนอแนะ
เชงิ นโยบายแกผูบริหาร
9. บริหารจัดการศูนยป ฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉินของกรมท้ังในภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉิน
10. ปฏิบตั งิ านรวมกบั หรือสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานของหนว ยงานอน่ื ที่เกยี่ วของ หรอื ที่ไดรับมอบหมาย

3. ยทุ ธศาสตรใ นการดาํ เนนิ งาน กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ

3

4. ลักษณะสําคญั องคก ร

4

5. โครงสรา งของกองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน กรม

กองควบคมุ โรคและ

ผูอําน

กลุมบริหารทัว่ ไป กลุมตระหนกั รสู ถานการณ

บทบาทหนาที่ มีดังน้ี ศึกษา บทบาทหนา ที่ มีดงั น้ี
- วิเคราะห พัฒนาระบบบริหารจัดการของ - วิเคราะห ติดตาม เฝาระวัง คาดการณ
หนวยงาน พยากรณและประเมนิ สถานการณข องโรคและ
- ดําเนินการ ติดตามและประเมิน เกี่ยวกับ ภัยสขุ ภาพในภาวะปกตแิ ละภาวะฉุกเฉิน
การบรหิ ารจดั การทวั่ ไป - จดั ทาํ ขา วกรองและสื่อสารเตือนภัย
- สนับสนุนการปฏิบัติงานตามภารกิจ ระบบ - เปนศูนยขอมูลกลางและประมวลขอมูล
ควบคุมภายใน ระบบงานสารบรรณ งานการ สารสนเทศในศนู ยป ฏิบตั ิการภาวะฉุกเฉนิ
เจาหนาท่ี งานการเงินและบญั ชี งานพัสดแุ ละ - จัดทําขอเสนอเพื่อสถาปนาและยกระดับ
ยานพาหนะ และงานอาคารสถานท่ี ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ใหผูบริหาร
พิจารณาตดั สินใจ
- ประสานขอมูลกับทีมปฏิบัติการท่ีเกี่ยวของ
เพื่อใหศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน มีขอมูลที่
รวดเร็วและทันเหตุการณ เพื่อใชในการ
ตดั สนิ ใจปฏิบตั ิการ

5

มควบคุมโรค

ะภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน

นวยการกอง รองผูอํานวยการกอง

กลุม ยุทธศาสตรแ ละพฒั นาองคกร กลุมพัฒนาแผนรบั มอื ภาวะฉกุ เฉิน

บทบาทหนาท่ี มีดังน้ี และประเมินผล
- ศกึ ษา วเิ คราะห จัดทํา วิสัยทัศน พนั ธกจิ
เปาประสงคของหนวยงาน จดั ทําแผนยุทธศาสตร บทบาทหนาท่ี มดี ังน้ี
แผนงาน แผนปฏิบตั ริ าชการของหนวยงานและ - ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาองคความรูและ
ถายทอดใหผเู กี่ยวของนําไปสกู ารปฏิบัติ เทคโนโลยี เพื่อพัฒนาแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทาง
- ประสาน กํากับ ติดตาม และประเมินผลการเนิน สาธารณสขุ
งานตามแผนปฏิบัติราชการและบรหิ ารจดั การ - จัดทําแผนยุทธศาสตรดานการจัดการภาวะฉุกเฉิน
งบประมาณของหนว ยงาน ทางสาธารณสขุ ภายใตบ ริบทกรมควบคมุ โรค
- พัฒนาคุณภาพการบริหารจดั การภาครัฐ - จัดทําแผนเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทาง
(PMQA) และพฒั นากลไกการดําเนนิ งานของ ส า ธ า ร ณ สุ ข ( contingency plan) จั ด ทํ า แ ผ น
หนวยงานใหเ ปนรูปธรรม เผชิญเหตุ (incident action plan : IAP) เพื่อการ
- พัฒนาและติดตาม กํากบั การดําเนินงานตาม ปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน รวมกับหนวยงานที่
ตวั ช้วี ัดคํารับรองการปฏบิ ัติราชการของหนว ยงาน เก่ียวขอ ง
และตามตัวชีว้ ดั ท่สี ําคัญ - ประสานทีมงานผูเชี่ยวชาญเพื่อใหคําแนะนําดาน
วิชาการ และยุทธศาสตร กับผูปฏิบัติงานในระบบ
บญั ชาการเหตกุ ารณ
- พัฒนาหลักสูตรดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุข สําหรับกรมควบคุมโรค

กลุม ศนู ยป ฏิบตั ิการภาวะฉกุ เฉินทาง กรมค
สาธารณสุข
กองควบคมุ โรคและภ
บทบาทหนา ที่ มีดังน้ี
- สนับสนุนและอํานวยความสะดวกและบริหาร ผอู าํ น
จัดการศนู ยปฏิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉนิ (Emergency
Operations Center: EOC) ระดับกรมควบคุม กลุมพัฒนาเครอื ขาย
โรค ทัง้ ในภาวะปกตแิ ละภาวะฉกุ เฉนิ ภาวะฉุกเฉนิ ทาง
- ปฏิบัติหนาที่เลขานกุ าร (Liaison) และประสาน
การปฏิบัติงานดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง บทบาทหนา ที่ มดี ังนี้
สาธารณสุขกับหนวยงานตางๆที่เก่ียวของภายใน - พัฒนาระบบและกลไกก
กรมควบคุมโรค จั ด ก า ร ภ า ว ะ ฉุ ก เ ฉิ น ท า ง
- จัดทํารายงานผลการปฏบิ ัตงิ าน ขอสงั่ การท้ังใน เครอื ขายภายในและภายนอ
ภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินพรอมทั้งสื่อสารไปยัง - พัฒนาศักยภาพ และถ
หนวยงานตา งๆทีเ่ ก่ยี วของอยางรวดเร็ว หนวยงานเครือขายทั้งภา
- ติดตามผลการปฏิบัติงานตามขอส่ังการของ ควบคุมโรค เพื่อเตรียมพร
ผูบริหารหรือผูบัญชาการเหตุการณใหไดรับการ ฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ปฏิบัติอยางรวดเรว็ และมีประสิทธิภาพ เหตุการณ
- กํากับติดตาม และประเมินสมรรถนะของศูนย - ฝกซอมแผนรับมือโรคแ
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินและเครือขาย ตามกรอบ หนว ยงานเครือขาย
แนวทางของ EOC Assessment tool - รวบรวม วิเคราะหและจ
การประสานงานความรวม
ตางประเทศ ประสานงาน
หนวยงานเครือขายดานก
ทางสาธารณสขุ

คว6บคุมโรค
ภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

นวยการกอง รองผอู าํ นวยการกอง

ยดานการจัดการ กลมุ จัดการคลังเวชภัณฑ ทรัพยากรและ
งสาธารณสขุ สง กาํ ลังบาํ รุง

ารประสานงานเพ่ือการ บทบาทหนาที่ มีดังนี้
งสาธารณสุข รวมกับ - พัฒนาและประเมินระบบบริหารจัดการคลัง
อกกระทรวงสาธารณสขุ เวชภัณฑ ทรัพยากรและสงกําลังบํารุงในภาวะ
ายทอดองคความรู ให ฉุกเฉิน
ายในและภายนอกกรม - จัดเตรียม จัดหา และจัดเก็บ จัดทําแผนรอง
รอมตอการจัดการภาวะ เวชภัณฑอุปกรณทางการแพทย ทรัพยากรท่ี
ตามระบบบัญชาการ สาํ คญั และจําเปนสาํ หรับสถานการณฉกุ เฉิน
- ประสานงานกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพ่ือใหมี
และภัยสุขภาพรวมกับ การสํารองเวชภัณฑอุปกรณทางการแพทย และ
ทรัพยากรตา งๆ ตามแผนทีก่ ําหนดไว
จัดเตรียมขอมูลสําหรับ - เปนศูนยกลางในการกระจายและจัดสง
มมือกับองคกร/เครือขาย เวชภัณฑและอปุ กรณทางการแพทย ไปยังพืน้ ที่ ท่ี
นในการศึกษาดูงานของ มคี วามตองการอยางรวดเรว็
การจัดการภาวะฉุกเฉิน - ติ ดตา มผล การ ใชเ วชภั ณฑอุ ปกร ณทา ง
การแพทยและทรัพยากรในภาวะฉุกเฉิน เพื่อการ
บรหิ ารจดั การ ทม่ี ปี ระสิทธภิ าพ

7

ทําเนียบบุคลากรกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ

นายแพทยพรพิทกั ษ พนั ธห ลา
ผอู ํานวยการกองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

นายแพทยเ จษฎา ธนกิจเจรญิ กลุ นายแพทยรัฐพงษ บรุ ีวงษ
รองผูอํานวยการ รองผูอาํ นวยการ

กลมุ บริหารทวั่ ไป

8

กลุมพัฒนาเครือขา ยดา นการจัดการภาวะ กลุม พัฒนาแผนรบั มือภาวะฉุกเฉนิ
ฉกุ เฉินทางสาธารณสุข และประเมินผล

กลมุ ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กลมุ จัดการคลงั เวชภัณฑ ทรัพยากร
ทางสาธารณสขุ และสง กาํ ลงั บํารง

กลุมยุทธศาสตรและ กลุมตระหนกั รสู ถานการณ
พฒั นาองคก ร

สว นท่ี 2 งบประมาณทไ่ี ดรบั การจัดสรรและผลการเบกิ จาย

งบประมาณ งบประมาณท่ีไดรบั จัดสรร
(บาท)

ภาพรวม 51,001,200.00

งบบคุ ลากร 6,482,100.00

งบลงทุน 37,688,100.00

• กจิ กรรมหลักท่ี 2.1 พัฒนาระบบบริหารจัดการเพอ่ื 550,000.00
สนบั สนนุ การดําเนินงานเฝา ระวัง ปองกัน ควบคมุ โรคและภยั
สขุ ภาพ 27,138,100.00
10,000,000.00
• กิจกรรมหลักท่ี 8.1 พฒั นาระบบการจดั การภาวะฉุกเฉนิ
ทางสาธารณสุขอยางครบวงจรและบรู ณาการ

• กิจกรรมหลกั ที่ 8.3 พฒั นาสมรรถนะชองทางเขาออก
ระหวา งประเทศและจังหวัดชายแดน

งบดําเนนิ งานโครงการ 6,259,000.00

• กิจกรรมหลักท่ี 1.1 พัฒนาและสนับสนุนกระบวนการ 938,200.00
จัดทําผลิตภัณฑแ ละจัดการความรูของหนวยงานเพื่อการเฝา
ระวงั ปองกนั ควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพ 1,646,200.00

• กิจกรรมหลักท่ี 2.2 เสริมสรางศักยภาพพัฒนาความ 2,874,600.00
รวมมือและสรางการมีสวนรวมของเครือขายในการเฝาระวัง
ปอ งกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ

• กิจกรรมหลักที่ 8.1 พฒั นาระบบการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ
ทางสาธารณสขุ อยา งครบวงจรและบรู ณาการ

9

งบประมาณหลังโอน งบประมาณทเี่ บกิ จา ย คงเหลือ รอยละการ
เปล่ียนแปลง (บาท) (บาท) (บาท) เบิกจาย

50,107,237.16 49,434,629.26 672,607.90 98.66

5,821,833.16 5,821,833.16 - 100.00

16,138,330.00 15,489,430.00 648,900.00 95.98

- - - -

16,138,330.00 15,489,430.00 648,900.00 95.98

- - - -

27,581,265.00 27,560,798.13 20,466.87 99.93

1,004,600.00 1,003,917.95 682.05 99.93

1,563,280.00 1,551,772.00 11,508.00 99.26

24,584,600.00 24,576,323.18 8,276.82 99.97

งบประมาณ งบประมาณที่ไดรบั จดั สรร
(บาท)
• กิจกรรมหลักท่ี 9.1 พัฒนาสมรรถนะชองทางเขาออก
ระหวางประเทศและจังหวัดชายแดน เพ่ือรองรับเขตพัฒนา 800,000.00
เศรษฐกจิ พเิ ศษ
492,000.00
งบขนั้ ตํา่ ภารกิจประจาํ
492,000.00
• กิจกรรมหลักท่ี 17.1 คา ใชจายบุคลากรในการเฝา ระวัง
ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพ 80,000.00

งบสาธารณปู โภค

10 งบประมาณทเี่ บกิ จา ย คงเหลือ รอยละการ
(บาท) (บาท) เบกิ จาย
งบประมาณหลังโอน
เปลีย่ นแปลง (บาท) 428,785.00 - 100.00

428,785.00

464,809.00 464,809.00 - 100.00

464,809.00 464,809.00 - 100.00

101,000.00 97,758.97 3,241.03 96.79

สัดสว นงบประม

งบโครงการ งบข้นั ตาํ่ ฯ 0
งบลงทุน
12% 1%

7

งบบคุ ลากร งบลงทนุ งบดําเนินงานโคร

11

มาณทีไ่ ดร ับจัดสรร

0.15 % งบสาธาฯ งบบุคลากร

% 13%

74%

รงการ งบขนั ้ ตํ่า ภารกิจประจํา งบสาธารณปู โภค

งบดาํ เนินงานโครงการ กองควบคมุ โรคและภ

รายการ

กิจกรรมหลกั ที่ 1.1
1. โครงการพัฒนาองคก รสคู วามเปนเลศิ (กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ )
2. โครงการบรหิ ารจัดการทรพั ยากร (กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน) ปงบประมาณ 2563
กจิ กรรมหลกั ที่ 2.2
1. โครงการพัฒนาสมรรถนะเครอื ขายในการพัฒนาแผนเตรยี มพรอ มตอบโตภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ
2. โครงการพัฒนาสมรรถนะเครือขายระดับพนื้ ทใ่ี นการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
กิจกรรมหลักท่ี 8.1
1. โครงการเสริมสรา งความเขมแขง็ ของศูนยปฏิบัติการภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ของหนวยงานระดับ
2. โครงการพฒั นาระบบตระหนักรูสถานการณในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใหพรอมรับมือปรับตัวตอ
และภยั สขุ ภาพท่ีเกดิ จากการเปล่ยี นแปลงภมู อิ ากาศ
3. โครงการพฒั นาการเตรยี มความพรอมดานการบริหารจดั การคลงั เวชภัณฑท รพั ยากร และสง กําลังบําร
ทางสาธารณสุข
4. โครงการตอบโตภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ กรมควบคมุ โรค กรณโี รคปอดอักเสบจากเช้อื ไวรสั (Viral Pneu
5. โครงการสํารองเวชภัณฑปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรณีมลพิษอากาศฝุนละอองข
(PM2.5)
6. โครงการสํารองยาและเวชภัณฑที่มิใชยา เพื่อสนับสนุนใหแกประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโร
สามารถดแู ลตัวเองเบ้ืองตน ปง บประมาณ 2563
7. โครงการสาํ รองชดุ เวชภณั ฑป อ งกันโรคในสถานการณโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19)
กิจกรรมหลกั ท่ี 9.1
1. โครงการเสริมสรา งศักยภาพเครอื ขาย ในการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ดา นโรคและภยั สขุ ภาพในพ้ืนทจี่ ังหว
2563

12

ภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ ปงบประมาณ 2563

งบประมาณ เบกิ จา ยงบประมาณ คงเหลอื คดิ เปน
(บาท) (บาท) (บาท) รอ ยละ

51,000.00 50,820.00 180.00 99.65
953,600.00 953,097.95 502.05 99.95

ข 590,000.00 582,651.00 7,349.00 98.75

973,280.00 969,121.00 4,159.00 99.57

บชาติ 149,311.00 131,761.00 17,550.00 88.25
อโรคอบุ ัติใหม โรคอุบตั ิซ้ํา 1,020,000.00 1,014,609.00 5,391.00 99.47

รุง เพือ่ รองรับภาวะฉกุ เฉิน 759,530.00 759,250.00 280.00 99.96

umonia) 18,434,829.00 18,434,829.00 0.00 100.00
ขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน 499,000.00 499,000.00 0.00 100.00

รคและภัยสุขภาพที่สําคัญ 425,000.00 425,000.00 0.00 100.00

3,296,930.00 3,296,930.00 0.00 100.00

วัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ป 428,785.00 428,785.00 0.00 100.00

13

สว นที่ 3 ผลการดาํ เนินงานโครงการ

1. โครงการพัฒนาองคกรสคู วามเปนเลศิ (กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน)

หลักการเหตุผล
กรมควบคุมโรค ดําเนินงานพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐอยางตอเนื่อง โดยประยุกตแนวคิด

มาจาก TQA (Thailand Quality Award) เพ่ือนํามาปรับใหสอดคลองกับระบบราชการ PMQA (Public Management Quality
Award) ประกอบดวย 7 หมวด ดงั น้ี 1.) การนําองคการ 2.) การวางแผนเชิงยทุ ธศาสตร 3.) การใหความสําคญั กับผูรบั บริการและผูมี
สวนไดสวนเสีย 4.) การวัดการวิเคราะหและการจัดการความรู 5.) การมุงเนนทรัพยากรบุคคล 6.) การจัดการกระบวนการ
ประเมิน 7.) ผลลัพธการดําเนินการ โดยมีวัตถุประสงคเพื่อใหเกิดความสอดคลองและเปนแนวทางการพัฒนาหนวยงานไปสู
ระบบราชการ 4.0 สอดรับกับนโยบายการบริหารราชการของรัฐบาล รวมกับนําแนวทางการบริหารจัดการภาครัฐแนวใหม
(New Public Management) ท่ีใหความสําคัญกับการพัฒนาองคการภาครัฐทุกระดับใหเปนองคการที่มีการบริหารจัดการในเชิง
ยุทธศาสตรหรือมีการพัฒนาเปนองคการมุงเนนผลงานเชิงยุทธศาสตร หนวยงานจึงไดจัดทําโครงการพัฒนาองคกรสูความเปน
เลิศ (กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน) เพื่อวางแผนพัฒนาองคการใหสอดรับกับนโยบายท้ังในระดับกรม ระดับ
กระทรวง และระดับประเทศ ใหมีแนวทางในการปรับปรุงองคกร คนหาชอ งวา งในการพัฒนาตอยอด พรอมทั้งยกระดับองคกรดาน
การบริหารจัดการภาครัฐในทุกหมวด ใหเกิดผลลพั ธก ารดาํ เนนิ งานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธผิ ล

วตั ถุประสงค
เพ่อื ยกระดบั คณุ ภาพการบริหารจัดการของหนว ยงานตามแนวทางพัฒนาคุณภาพการบรหิ ารจดั การภาครฐั

ผลการดําเนินงาน
กิจกรรมการพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรเพอ่ื เสริมสรางคานิยมและวัฒนธรรมองคกร มีวตั ถปุ ระสงคเ พือ่ ใหบ ุคลากรมี

ความรู ความเขาใจ เกิดความตระหนักในการนําคานิยมองคกรมาปรับใชในการดําเนินชีวิตและสรางจิตสํานึกในการเปน
จิตอาสาใหกับบุคลากร โดยจัดกิจกรรมสรางความสุข และบริจาคส่ิงของใหกับผูสูงอายุท่ีศูนยพัฒนาการจัดสวัสดิการสังคม
ผูสูงอายุ จังหวัดปทุมธานี ในวันที่ 9 มกราคม 2563 เพื่อใหผูสูงอายุมีสุขภาพจิตท่ีดี สุขภาพกายที่แข็งแรง การจัดกิจกรรม
ครั้งน้ี มีบุคลากรเขารวมกิจกรรมจํานวน 20 คน หลังจบกิจกรรมประเมินพบวา บุคลากรมีความรู ความเขาใจ ในหลัก
คุณธรรม จริยธรรม คานิยมและวัฒนะธรรมท่ีดี โดยนําหลักการเหลานี้มาปรับใชในการดําเนินงานไดอยางมีความสุข
พรอ มทง้ั มีจติ สํานกึ เปน จิตอาสาเพือ่ สังคม

กิจกรรมการสงบุคลากรเขารับการอบรมสัมมนาวิชาการ โครงการ Elogistics Summit 2019 ภายใตแนวคิดหลัก
A NEW ERA : Converging The Physical and Digital logistics ระหวางวนั ท่ี 27 - 28 พฤศจกิ ายน 2562 ณ ศูนยป ระชุม
วายภุ ักด์ิ โรงแรมเซน็ ทารา ศนู ยร าชการ แจงวัฒนะ กรงุ เทพฯ ผลลพั ธที่ไดห ลังการอบรมคอื บุคลากรของหนว ยงาน มคี วามรู
ความเขาใจในการปฏิบัติงานดานโลจิสติกส สามารถนําดิจิทัลเขามาเพิ่มประสิทธิภาพในการทํางานดานการบริหารจัดการ
โลจิสติกสของหนวยงานในภาวะฉุกเฉินไดในหลายเหตุการณ เชน เหตุการณน้ําทวมที่จังหวัดอยุธยา เหตุการณฝุน PM2.5
และเหตกุ ารณโควดิ -19

14

กจิ กรรมโครงการสุขภาพดีวัยทํางาน บคุ ลากรกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ป 2563
มีวัตถุประสงคเพ่ือสงเสริมใหบุคลากรกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน มีสุขภาพรางกายแข็งแรง สมบูรณ

ผอนคลายจากการทํางาน และเปนการสงเสริมการสรางความผาสุกในที่ทํางานระหวางบุคลากรรวมกัน ใชรูปแบบใหบุคลากรไดมี

โอกาสออกกําลังกายตามวิธีท่ีเหมาะกับตนเอง ใหขอมูลในการดูแลสุขภาพที่ถูกตอง การเลือกรับประทานอาหารท่ีถูกหลัก การ

ออกกําลังกายท่ีปลอดภัย หลังจบกิจกรรมพบวาบุคลากรออกกําลังกายมากข้ึน เลือกรับประทานอาหารที่ถูกหลักโภชนาการ

บุคลากรสวนใหญเม่ือตรวจวดั BMI อยูในระดบั ปกติ

ปจจยั ความสาํ เร็จ
ผูบริหารใหความสําคัญโดยมอบนโยบายเพ่ือสงเสริมการพัฒนาศักยภาพบุคลากรภายในหนวยงานอยางตอเน่ือง

และบคุ ลากรใหความรวมมอื ในการเขา รว มกิจกรรมทจ่ี ัดข้นึ

ปญ หาอุปสรรค
1. เนื่องจากภารกิจหลักของกองฯคือการดําเนินงานในภาวะฉุกเฉิน สงผลใหบางกิจกรรมผูเขารวมประชุมติด
ภารกิจเรง ดว น ไมสามารถ เขารว มกิจกรรมที่จดั ข้นึ ได ทําใหก ลุม เปาหมาย ไมเ ปนไปตามแผนท่วี างไว
2. งบประมาณท่ไี ดร ับการจดั สรรในการพัฒนาองคกรและบุคลากร คดิ เปนเพียง 10% ของงบประมาณทั้งหมด ซึ่ง
ไมเพียงพอตอการดําเนินงานในการสนับสนุนหรือสงเสริมการพัฒนาความรู ทักษะ ความสามารถของบุคลากร
ภายใน ทําใหการสงเสริมบุคลากรใหมีองคความรทู ่ีพรอมปฏบิ ัติงานในการตอบโตภาวะฉุกเฉินยังไมเปนไปตาม
เปาหมาย

แนวทางการแกไ ขปญ หา
กาํ หนดแผนการดาํ เนนิ งานใหมคี วามยืดหยุน สูง และจัดทาํ แผนบริหารความเส่ียง

สง่ิ ที่ไดเรยี นรจู ากโครงการ
การจัดทําโครงการใหประสบความสําเร็จ จําเปนตองมีการวางแผน กําหนดวัตถุประสงค กลุมเปาหมายใหชัดเจน

เพ่อื ใหสามารถดําเนนิ การไดอยางราบรืน่ นอกจากน้ที ักษะการทํางานเปนทีม การส่อื สารที่มีประสิทธิภาพรวมไปถงึ การไดรับ
การสนับสนุนจากผูบรหิ าร และการใหค วามรวมมอื ในกจิ กรรมตาง ๆ ท่ีจัดขึ้นของผูเขารวมกิจกรรมลวนแตเปนปจจัยที่ทําให
การจัดทําโครงการประสบความสาํ เรจ็

2. โครงการบรหิ ารจดั การทรัพยากร (กองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน) ปงบประมาณ 2563
หลักการเหตุผล

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน เปนหนวยงานภายใตสังกัดกรมควบคุมโรคที่มีภารกิจในการ
ติดตามเฝาระวัง วิเคราะหประเมินสถานการณโรคและภัยสุขภาพ การบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ ทรัพยากรและสงกําลัง
บาํ รุง สรุปรายงานเหตุการณและผลการวิเคราะหความเสี่ยงท่ีสําคัญ เพ่ือรายงานเหตุการณเรงดวนใหผูบริหารทราบ พรอม
ท้ังเปนศูนยประสานขอมูลท้ังในระดับสวนกลาง ระดับสวนภูมิภาค ระดับเขต/จังหวัด ภาคีเครือขาย และทีมปฏิบัติงาน
ภาคสนามรวมถึงเปนศูนยขอมูลกลางการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินท่ีตองสามารถจัดการขอมูลไดอยางถูกตองและรวดเร็ว
มากท่ีสุด รวมไปถึงการศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาองคความรูและเทคโนโลยี ตลอดจนจัดระบบฐานขอมูลเกี่ยวกับการ
จดั การภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข เปน ศนู ยกลางในการสง เสรมิ สนับสนนุ และประสานงานทางดานวชิ าการ เวชภัณฑ และ

15

วัสดุอุปกรณในการเฝาระวัง ปองกัน เตรียมความพรอม และควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข บริหารการจัดการศูนย
ปฏบิ ตั ิการภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center : EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณข องกรม ทั้งในภาวะปกติ
และภาวะฉุกเฉิน ถายทอดองคความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใหแกหนวยงาน
ภาครัฐ ภาคเอกชน องคกรปกครองสวนทองถ่นิ และประชาชน จึงจําเปนตอ งมีการเตรียมความพรอมในการพฒั นาระบบการ
จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และมีศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน รวมทั้งการสนบั สนุน งบประมาณเพ่ือการดําเนินงาน
ของบุคลากร เพือ่ ใหบรรลวุ ัตถุประสงคใ นการจัดการภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุขไดอยางรวดเร็ว รวมท้งั การพัฒนาคุณภาพ
การบริหารจัดการองคกร เปนไปตามนโยบายของรัฐบาลที่ใหสวนราชการ พัฒนาขีดสมรรถนะ เพ่ือเปนกลไกสําคัญในการ
พฒั นาประเทศ มาตรฐานการพัฒนาระบบราชการไทย ท่ีมงุ เนน การบริหารแบบมงุ ผลสมั ฤทธ์ิ และขับเคล่อื นใหการดาํ เนินงาน
ตามแผนยทุ ธศาสตรทง้ั ระดับหนวยงานและกรมควบคุมโรค ใหบ รรลุเปาหมาย

วัตถปุ ระสงค
เพอื่ พัฒนาและปรบั ปรุงการบรหิ ารจัดการทรัพยากรของหนวยงานใหมปี ระสิทธภิ าพ

ผลการดําเนนิ งาน
มีการสนับสนุนการจัดซื้อจัดจางวัสดุสํานักงาน ไดแก การจัดซื้อนํ้ามันเชื้อเพลิง จัดซื้อวัสดุสํานักงานและวัสดุ

คอมพิวเตอรเ พ่ือใชในการปฏิบัติราชการของหนวยงาน การจางเปลี่ยนไสกรอง ซอ มแซมเครื่องปรับอากาศ ซอมแซมรถยนต
ราชการ ซ่ึงเสอ่ื มสภาพจากการใชงาน การเบิกจา ยคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติราชการและคาธรรมเนียมผา นทางพิเศษ
ของบุคลากร การเชาเครื่องถายเอกสารประจําเดือน การบํารุงดูแลรักษา ลางทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศของ
หนว ยงานจาํ นวน 32 เครือ่ ง การประชมุ การติดตาม กํากบั การดําเนนิ งาน กรรมการบรหิ ารและภาพรวมของหนวยงาน การ
จางเหมาพนักงานขับรถยนตเพื่อสนับสนุนภารกิจของหนวยงาน การจายคาตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการสําหรับ
เจาหนา ที่ รวมถึงคา ตอบแทนกรรการสาํ หรับงบลงทุนประจําปงบประมาณ 2563

ปจจัยความสาํ เร็จ

ผูบริหารใหความสําคัญตอการบริหารทรัพยากรของหนวยงานอยางใกลชิด และมีกฎระเบียบท่ีเก่ียวของสนับสนุน
การดาํ เนนิ งานอยา งครบถว น

ปญ หาอุปสรรค

ระยะเวลาในการดําเนินกิจกรรมมีความคาดเคล่ือนไมตรงกับกําหนดการท่ีต้ังไว การจัดซ้ือวัสดุสํานักงานเพื่อ
สนบั สนนุ การดาํ เนินงานของกลุมงานตางๆ มีปรมิ าณมากเกนิ กวาทีก่ ําหนด ทําใหก ารใชงบประมาณโครงการไมเ ปนไปตามแผน

แนวทางแกไขปญ หา
กลมุ งานทบทวนและวางแผนการจดั ซอ้ื วสั ดสุ าํ นักงานใหส อดคลอ งกับกจิ กรรมมากข้นึ เพื่อใหก ลมุ บริหารทั่วไปตั้ง

งบประมาณรองรับในกจิ กรรมดังกลาว ในปง บประมาณตอไป

ส่งิ ทไ่ี ดเ รยี นรจู ากโครงการ
1. การดาํ เนินงานของกองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ ตองมีความคลอ งตัว และรวดเร็ว
2. การบริหารจดั การเปน ระบบมากขึ้น

16

3. โครงการพัฒนาสมรรถนะเครือขายในการพฒั นาแผนเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ
หลักการเหตุผล

ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) ถือเปนโรคหรือเหตุการณใดๆ ที่เปนภัยคุกคามตอ
สุขภาพ ทําใหเกิดผลกระทบที่มีความรุนแรง ดังนั้นหนวยงานท่ีเกี่ยวของจึงตองมีการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(Public health Emergency Response) เพ่ือเปนการรองรับการจัดการภาวะฉุกเฉินดานโรคและภัยสุขภาพ ที่สอดคลอง
กับบทบาทหนาที่ของกรมควบคุมโรคสอดคลองกับนโยบายรัฐบาลดานการพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิตที่มีเปาประสงค
เพื่อใหประชาชนมีสขุ ภาพอนามัยดมี ีพฤตกิ รรมสุขภาพเหมาะสม สามารถควบคมุ และลดปจ จัยเสี่ยงตอโรค ภัยพิบัติ และภัย
สุขภาพ โดยตองมีการพัฒนาระบบงานใหมีความพรอมมีกําลังคนท่ีสามารถระดมมาปฏิบัติงานจัดการภาวะฉุกเฉินไดอยาง
รวดเร็ว การพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินใหแกหนวยงานสวนภูมิภาคทองถ่ินและหนวยงานอื่นๆ เชน การวิเคราะห
ความเสี่ยงทางสาธารณสุข และการจัดทําแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉินตางๆ (operational plan หรือ
all hazards plan) แผนเผชิญเหตุ (Incident Action Plan: IAP) แผนบริหารความตอเนื่ององคกร (Business Continuity
Plan : BCP) ตลอดจนพัฒนาหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ จงึ ถือเปนการพัฒนาสมรรถนะเครือขายเพ่ือให
ผูปฏิบัติงานในภาวะฉกุ เฉนิ มีความรูความเขาใจ และทําใหเ กิดการปฏบิ ัตงิ านเปนมาตรฐานเดียวกนั

วัตถปุ ระสงค
1) เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรในเร่ืองการวิเคราะหและประเมินความเสีย่ ง ดานโรคและภัยสุขภาพ ในระดับพ้ืนท่ี

(Risk Assessment) รวมท้งั จัดทาํ /ทบทวนแผนเตรยี มความพรอมและตอบโตภ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ สําหรับทุกโรคและ
ภัยสุขภาพ (All-Hazards Plan & Hazard Specific Plan) ในแตล ะระดับ

2) เพ่ือทบทวนและปรับปรุงแผนความตอเน่ืององคกร (Business Continuity Plan : BCP) ในการปฏิบัติงานในภาวะ
ฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

3) เพื่อพัฒนากระบวนงาน (Protocol) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP)
ของกลุมภารกจิ ภายใตระบบบัญชาการเหตุการณ ใหส อดคลองกับโรคและภัยสุขภาพทอี่ าจเกิดข้นึ

ผลการดําเนนิ งาน
บคุ ลากรกรมควบคุมโรคไดร ับการพัฒนาศักยภาพในเตรยี มความพรอมตอบโตภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุขตลอดจน

จัดทําและทบทวนแผนเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสําหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ (All-
Hazards Plan & Hazard Specific Plan) ในแตละระดับ สามารถนําไปพัฒนาแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉิน
ตางๆ แผนประคองกิจการ (BCP) แผนเผชิญเหตุ (IAP) ท้ังในระดับเขต และจังหวัด รวมทั้งการกําหนดกระบวนงาน
(Protocol) และมาตรฐานการปฏบิ ตั ิงาน (Standard Operating Procedure: SOP) ของกลมุ ภารกิจภายใตร ะบบบัญชาการ
เหตุการณ ใหส อดคลองกับโรคและภัยสุขภาพที่อาจเกดิ ขึ้นไดอ ยางเหมาะสม สงผลใหเกิดระบบการเตรียมพรอมตอบโตภาวะ
ฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่ดําเนินการไดอยางรวดเร็ว เปนระบบ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยเพ่ิมย่ิงขึ้นลด
ความสญู เสียตอ สขุ ภาพชวี ิต ทรัพยสนิ และเศรษฐกิจในภาพรวมของประเทศ

1) จัดทําคําสั่งกรมควบคุมโรค ที่ 385/2564 ลงวันที่ 23 กุมภาพันธ 2564 เรื่อง แตงตั้งคณะกรรมการบริหาร
ความตอเน่ืองภารกิจ ในภาวะฉุกเฉินหรือสภาวะวิกฤต (Business Continuity Management : BCM) กรมควบคุมโรค
เพื่อกําหนดแนวทางการบริหารความตอเนื่องขององคกร ทําใหสามารถดําเนินภารกิจหลักที่สําคัญในภาวะฉุกเฉินหรือ
สภาวะวิกฤตไดอยางมีประสิทธิภาพและเปนมาตรฐานเดียวกัน

17

2) ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและปรับปรุงแผนบริหารความตอเนื่ององคกร (Business Continuity Plan:
BCP) ระดับกรมและหนวยงานอ ระหวางวันที่ 1 - 2 ธันวาคม 2563 ณ โรงแรมโรงแรมทีเคพาเลซ แอนด คอนเวนชั่น
กรุงเทพมหานคร เพื่อพัฒนาศักยภาพใหกับเจาหนาที่บุคลากรของกรมควบคุมโรคใหมีความรูความเขาใจในขั้นตอน
กระบวนการประเมินความสี่ยงทางสาธารณสุข เพื่อนํามาทบทวนและปรับปรุงแผนบริหารความตอเนื่ององคกร
(Business Continuity Plan: BCP)

3) รายงานการวิเคราะห และประเมินความเส่ียงโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค ป พ.ศ. 2564
4) กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ขอใหหนวยงานของทาน ทบทวนและปรับปรุงภารกิจหลักของ
หนวยงาน (Core Business) เพือ่ ประกอบการจดั ทําBCP กรมควบคมุ โรค
5) วิเคราะหภารกิจหลักของหนวยงาน (Core Business) กรมควบคุมโรค ในภาวะฉุกเฉิน เพื่อจัดทําแผนบริหาร
ความตอเน่ืองภารกิจขององคกร ในภาวะฉุกเฉินหรือสภาวะวิกฤต กรมควบคุมโรค พ.ศ. 2564
- แผนยานพาหนะ ศูนยปฏิบัติภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรคกรณี การระบาดใหญของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา

2019 (COVID 19)
- แผนยายสถานที่สาํ รอง กรมควบคุมโรค
- แผนรองรับดานบุคลากร
- ทะเบียนผูปฏิบัติภารกิจตามระบบบัญชาการเหตุการณและศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค

(ICS&EOC)
- แผนระบบการสั่งการการสื่อสารและประสานงานระหวางหนวยงาน
- แผนรองรับดานอุปกรณ
- แผนรองรับดานผูรับจาง
- แผนความปลอดภัย ภายใตแผนบริหารความตอเน่ืองของกรมควบคุมโรค

สาํ หรับ สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
6) แผนปฏบิ ัตกิ ารปอ งกนั ควบคมุ โรคตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด 19) ตามระดับความรนุ แรงในระยะไมม วี ัคซีน
7) รวบรวมขอ มลู ในสวนของมาตรฐานข้ันตอนการปฏิบตั ิงาน (Standard Operating Procedure: SOP)
8) ทบทวนและปรบั ปรงุ มาตรฐานขั้นตอนการปฏิบัติงาน (SOP) กรณีโรคตดิ เช้ือไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) ให
เปนปจจบุ นั
9) การถอดบทเรียนการตอบโตภาวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรค COVID-19 กรมควบคุมโรค จากหนวยงาน
สวนกลางของกรมควบคุมโรค และนําผลวิเคราะหและประเมินผลการนํา BCP ของหนวยงานมาใชในการตอบโต
กรณี COVID-19 โดยกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินไดใชการวิเคราะหรูปแบบ SWOT Analysis เพื่อการ
วิเคราะหสภาพองคกร หรือหนวยงานในปจจุบัน เพ่ือคนหาหรือระบุจุดแข็งหรือขอไดเปรียบ (Strengths) จุดออนหรือ
ขอเสียเปรียบ (Weaknesses) โอกาสที่จะดําเนินการได (Opportunities) และอุปสรรค ขอจํากัด หรือปจจัยท่ีคุกคาม
(Threats) ของหนว ยงานในปจจบุ นั เพอื่ นาํ ไปสรู ะบบการดําเนินงานทตี่ องการในอนาคต

18

ปจจยั ความสาํ เรจ็
1) ผูบริหารและผูปฏิบัติงานใหความสําคัญในการจัดทําแผนเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

สําหรับทกุ โรคและภยั สขุ ภาพ ท้งั ในดา นกระบวนการและการตอบสนองตอสถานการณ
2) การแบง กลุมโรคและภัยสุขภาพ มีความเฉพาะเจาะจงทําใหส ามารถจัดลําดับความสําคัญและประเมินความเส่ียง

ไดช ดั เจนและสามารถนําไปเปน ขอมูลจัดทาํ แผนรองรับได
3) ผูบริหารและบุคลากรของหนวยงานใหความสนใจและสนับสนุนในการดําเนินงาน พรอมท้ังใหขอคิดเห็นและ

ขอ เสนอแนะในการดําเนินงาน
4) กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน เปนหนวยงานหลักในการพัฒนาระบบการเตรียมความพรอม โดย

การปรับการดําเนินงานตามสถานการณจริง และสามารถบูรณาการระบบตอบโตภาวะฉุกเฉินดานโรคและภัยสุขภาพระหวาง
หนว ยงานตา งๆไดอยางมีประสิทธิภาพ

5) ภาคีเครือขายระหวางหนวยงานใหความรวมมือและสนับสนุนเช่ือมโยงขอมูลที่เก่ียวของกับการจัดการภาวะ
ฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ

ปญหาอุปสรรค
1) เกณฑการประเมินความเสี่ยงในบางหัวขอยังไมมีการปรับใหเขากับสถานการณปจจุบัน ทําใหการผลประเมิน

ความเสย่ี งอาจมีการคลาดเคล่ือนได
2) เนื่องจากการดําเนินงานจําเปน ตองอาศยั ขอมูลจากเจาหนาทหี่ รือบุคลากรทกุ ฝายท่ีปฏิบัติงานในหนวยงาน อาจ

ทาํ ใหข ้นั ตอบการรวบรวมขอมลู ลาชา หรอื ไมส มบูรณ
3) โรคและภัยสุขภาพในปจจุบันมีความซับซอน จึงตองอาศัยขอมูลจากหลายแหลงและมีการอัพเดทใหทัน

สถานการณต ลอดเวลา
4) การดําเนินงานในภาวะฉุกเฉิน ไมสามารถดําเนินการตามทฤษฎีไดท้ังหมด และไมสามารถละท้ิงงานประจํายังท่ี

ดาํ เนินการอยูได จึงทาํ ใหผปู ฏบิ ตั ิงาน 1 คน ตองรับผดิ ชอบหลายภารกจิ

แนวทางแกไ ขปญหา
1) ควรมีการปรับปรุงหรือทบทวนเกณฑการประเมินความเสี่ยงใหเขากับสถานการณปจจุบัน รวมถึงชี้แจงทําความ

เขา ใจกับหนวยงานทเ่ี ก่ยี วขอ ง
2) พัฒนาบุคลากรทกุ ตาํ แหนง ใหม อี งคความรูท่ีพรอมปฏิบัติงาน และพรอ มรองรับสถานการณท ่คี าดวา จะเกิดข้ึนได
3) สนับสนุนใหเกดิ การแลกเปลีย่ น เผยแพรข อ มลู ขา วสารระหวางหนวยงานกรมควบคุมโรค
4) จัดตง้ั คณะทํางานเพื่อรวมกนั กําหนดมาตรการ/แผนปฏบิ ัติการ การดําเนินงาน การติดตามประเมินผลและกลไก

การสือ่ สารความเสีย่ ง เพ่อื สงเสรมิ สนับสนนุ งานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพมากยิง่ ข้ึน
5) ปรับแผนบรหิ ารจดั การงบประมาณในการลงพ้ืนที่ใหเหมาะสม สอดคลอ งกับแผนการดาํ เนนิ งาน

สง่ิ ทไ่ี ดเรยี นรจู ากโครงการ
1) การดําเนินงานในภาวะฉุกเฉิน บุคลากรควรรับผิดชอบเพียง 1 ภารกิจ และควรหยุดภารกิจที่ไมฉุกเฉิน หรือ

ตัวชีว้ ดั ทีไ่ มสอดคลองออกไปไดโดยไมม ผี ลกับการประเมนิ ผลการดําเนินงานราชการ
2) การสรางเครือขา ยการประสานงานท่ีดีจะสง ผลใหด ําเนินงานดานตางๆเกิดผลสําเร็จและรวดเร็ว

19

3) การแลกเปลี่ยนเรียนรู ทบทวนการดําเนินงานดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขชวยใหทราบถึงขอมูล
สะทอ นกลับเพื่อใชใ นการปรบั ปรุงและทบทวนแผนและพัฒนางานใหมปี ระสิทธิภาพยิ่งขึ้น

4. โครงการพัฒนาสมรรถนะเครอื ขายระดบั พืน้ ทใี่ นการจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ
หลักการเหตผุ ล

จากการขับเคล่อื นยุทธศาสตรช าตริ ะยะ 20 ป และยุทธศาสตรระยะ 20 ป ดานสาธารณสุข ไดมีการขับเคล่ือนเร่ือง
การควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน โดยระบุให Smart EOC เปน 1 ในกลไกขับเคล่ือน สาธารณสุข 4.0 และใน
ยุทธศาสตรความเปนเลิศ ดานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเปนเลิศในแผนงานท่ี 2 ไดกําหนดใหมีโครงการพัฒนาระบบ
การตอบโตภาวะฉุกเฉินและภัยสุขภาพอีกดวย ซึ่งในขณะเดียวกันกรมควบคุมโรคไดกําหนด 5 ยุทธศาสตรขาติ ระยะปฏิรูป
ป 2560-2564 โดยยุทธศาสตรท่ี 2 การเสริมสรางความเขมแข็งของระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ที่เนนเร่ือง
EOC และในการขับเคล่ือนของกรมควบคุมโรค ป 2559 - 2563 ใน 6 ยุทธศาสตร ซ่ึงยุทธศาสตรท่ี 5 ไดกําหนดใหมีการ
เตรยี มความพรอมและการจัดการในการปองกันควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพตามมาตรฐานสากล

วัตถุประสงค
1. เพ่ือพัฒนาศกั ยภาพของเครือขายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ดานระบบบัญชาการเหตฉุ ุกเฉนิ ทาง

สาธารณสขุ เพอื่ รองรับการปฏบิ ตั งิ านศูนยป ฏบิ ัตกิ ารภาวะฉกุ เฉินและระบบบัญชาการเหตกุ ารณก รมควบคมุ โรค
2. เพ่ือพัฒนารูปแบบ กลไกการประสานงานรวมกันระหวางเครือขายดานการจัดการภาวะฉุกเฉิน

ทางสาธารณสขุ

ผลการดาํ เนนิ งาน
ไดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือพัฒนาศักยภาพหนวยงานอื่นๆ ในระดบั ทองถ่นิ ดานการปองกันควบคุมโรคและภัย

สุขภาพในภาวะฉุกเฉิน (โรคทมี่ ากับนํา้ ทว ม) เพอ่ื พฒั นาความรว มมอื เครือขายดานการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ และ
กิจกรรมสําคญั ของกรมควบคุมโรคทจี่ ะตองเรงดําเนินการรวมกับหนวยงานภาคีเครอื ขาย รวมถึงพัฒนาศักยภาพของหนวยงาน
เครือขายใหสามารถดําเนนิ การปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ ไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

ปจ จัยความสาํ เร็จ
ผบู ริหารระดบั สูงใหค วามสาํ คัญและเปนนโยบายการพฒั นาระบบการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ปญ หาอปุ สรรค
บุคลากรท่ีเกี่ยวของและเครือขายยังขาดความรู ความเขาใจรวมถึงแนวทางการปฏิบัติงานรวมกันในการปองกัน

ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ (โรคทมี่ ากบั นํ้าทวม)

แนวทางแกไ ขปญ หา
1. ควรมีการประสานงานกับหนว ยงานท่ีเกี่ยวของ เชน สํานักงานสาธารณสุขจังหวัด หนวยงานระดับทองถ่ิน อยาง

สม่ําเสมอ มีการใหความรูรวมถึงกําหนดแนวทางในการปฏิบัติงานรวมกัน เพื่อใหการปฏิบัติงานรวมกันสามารถดําเนินไปได
ดว ยดแี ละมปี ระสทิ ธภิ าพ

2. ควรมกี ารทบทวนแนวทางการปฏิบัติงานรวมกันอยางนอ ยปล ะ 1 ครง้ั

20

สิง่ ทไี่ ดเรียนรจู ากโครงการ / ขอ คนพบ
1. ไดแลกเปลีย่ นเรียนรูประสบการณการทํางานดานการปอ งกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน (โรคที่มากับ

นาํ้ ทวม) รวมกับหนว ยงานเครอื ขา ยในระดับเขตและระดบั จังหวัด
2. การพัฒนาสมรรถนะดานกําลังคน (Staff) นับวาเปนส่ิงที่สําคัญอยางยิ่ง ตอการพัฒนางานดานการจัดการภาวะ

ฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข (PHEM) และศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉิน

5. โครงการเสริมสรา งความเขม แขง็ ของศนู ยปฏบิ ัตกิ ารภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับชาติ

หลักการเหตุผล
กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ใหได

มาตรฐานสากลสามารถตรวจจับเหตุการณผิดปกติไดอยางรวดเร็วและตอบโตไดทันทีภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
กรมควบคุมโรค (DDC's EOC) อยางครบวงจรและบูรณาการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของ ซึ่งการจัดการภาวะฉุกเฉิน
ทางสาธารณสุข ประกอบดวยกิจกรรมต้ังแตการปองกัน การเตรียมความพรอม การตอบโต และการฟนฟูสภาพ ดวยเหตุน้ี การ
มีสมรรถนะสูงในทุกระดับ ตั้งแตระดับชุมชน จนถึงระดับประเทศ จะชวยลดโอกาสเกิดโรคติดตออันตรายท่ีแพรระบาดใน
ประเทศ โดยเฉพาะโรคอุบัติใหมแ ละอุบัติซํ้า สามารถชวยลดผลกระทบในวงกวาง ศูนยปฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉิน จงึ เปนระบบ
สําคัญท่ีนานาชาติยอมรับจึงมีความจําเปนอยางสูงที่จะตองเรงรัดการพัฒนาใหกาวหนามีความทันสมัยและมีสมรรถนะ
ในระดับที่สูงตอไป การเตรียมความพรอมและสรางความรูความเขาใจใหกับบุคลากรเครือขายการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขรองรับการปฏิบัติงานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ทั้งการเตรียมความพรอมของผูบัญชาการเหตุฉุกเฉินและ
บุคลากรภาคสนามท่ีตองปฏิบัติในสวนภารกิจปฏิบัติการ (Operation section) เช่ือมโยงเขตพื้นที่สุขภาพ ระดับจังหวัด ระดับเขต
สุขภาพ และหนวยงานสวนกลาง ของกรมควบคุมโรค และกระทรวงสาธารณสุข

วตั ถปุ ระสงค
1. เพื่อพัฒนาศกั ยภาพบุคลากรสาํ นกั วิชาการสวนกลาง สํานักงานปอ งกนั ควบคุมโรค 1 – 12 สถาบันปองกันควบคุม

โรคเขตเมือง และเขตบริการสุขภาพ ใหมีความรูความเขาใจ สามารถจัดการภาวะฉุกเฉินทุกโรคและภัยสุขภาพไดอยางรวดเร็ว
เปนระบบ มคี วามเปนเอกภาพ มีประสทิ ธิภาพ และปลอดภัยรองรับการปฏิบตั งิ านศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉนิ

2. เพื่อพัฒนาศักยภาพของศูนยปฏิบัติการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ใหมีความพรอมในการปฏิบัติงาน
ดา นการควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ในระดับสว นกลางและสวนภูมิภาค

ผลการดําเนินงาน
กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ มกี ารเตรียมความพรอ มในการเฝาระวงั และตอบโตส ถานการณใ นการ

ปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใหมีประสิทธิภาพ โดยมีการดําเนินการประชุมทีมตระหนักรูสถานการณ (SAT) และ
ผูเช่ียวชาญดานการเฝาระวังปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพ กรมควบคุมโรค (SMEs) ประจําสัปดาหทุกวันจันทร ตั้งแต
เดือนตุลาคม 2562 – กนั ยายน 2563 จํานวน 51 ครั้ง มีผูเขารวมประชุมจากหนวยงานในสวนกลางของกรมควบคุมโรคทุก
หนวยงาน ซ่ึงจากการประชุมดังกลาว ประเด็นทม่ี ีการมอบหมายใหหนว ยงานรบั ผดิ ชอบดําเนินการพบประเดน็ สว นใหญ ดงั นี้
โรคติดตอนําโดยแมลง (โรคไขเลือดออก, โรคไขปวดขอยุงลายและโรคไขมาลาเรีย) โรคติดตอจากสัตวสูคน (โรคพิษสุนัขบา)
ผลกระทบจากสถานการณฝนุ PM 2.5 สาเหตขุ องการเกดิ โรคอาหารเปนพิษท่ีพบสวนใหญจากการรับประทานอาหารที่มีการ

21

ปนเปอนเชื้อกอโรค และการรับประทานเห็ดพิษ ความครอบคลุมของวัคซีน เชน ความครอบคลุมของวัคซีนไขหวัดใหญ

โรคหัด เปนตน พรอมท้ังมีการติดตามขอสั่งการจากหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหมีการรายงานผลการดําเนินการตามขอ

สั่งการในที่ประชุมรับทราบ การเตรียมพรอมในการพัฒนาศักยภาพบุคลากรตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โดยจัดทํา

ระบบ E-learning หลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการเหตุการณ และศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

ทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค เปนหลักสูตรที่เก่ียวของกับระบบการบริหารส่ังการ ประสานงาน และดําเนินงานที่เปนมาตรฐาน

ลดชองวางและจุดออนของการทํางานตามโครงสรางองคกรในภาวะปกติ เพื่อสนับสนุนการจัดการภาวะฉุกเฉินใหมีประสิทธิภาพ

Main Room หองใหญท่ีสุดของ EOC ที่สามารถใชเปนหองประชุมส่ือสาร ส่ังการ ระหวางผูบัญชาการเหตุการณ และทีมตางๆ

ภายใต ICS เพ่ือสนับสนนุ การตอบโตภาวะฉุกเฉิน ข้นึ ใหบคุ ลากรในทุกหนวยงานสามารถเรียนรูดว ยตนเองผานเว็บไซดของกอง

ควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน หมวดขาวประชาสัมพันธ “ หลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ระบบบัญชาการเหตุการณและศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข” ซ่ึงในปงบประมาณ 2563 บุคลากรสํานัก

วิชาการสวนกลาง สํานักงานปองกันควบคุมโรค 1 – 12 สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมืองที่ยังไมผานการอบรมหลักสูตร

ระบบบัญชาการเหตุการณภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (ICS 100) ของกรมควบคุมโรคทุกคน ไดเรยี นรดู วยตนเองทางระบบ

E-learning และผา นเกณฑการประเมนิ ความรูหลงั เรยี น (Post Test) ทีร่ ะดับคะแนนไมน อ ยกวา รอยละ 80 ครบรอ ยละ 100

และการพัฒนาศนู ยปฏบิ ัตกิ ารภาวะฉุกเฉนิ ระดับเขต (EOC Assessment Tool) ป 2563 โดยใหหนว ยงานระดบั เขตประเมนิ

ตนเองตามแบบเก็บขอมูลพื้นฐานเพ่ือการวางแผนการพัฒนาศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน สําหรับหนวยงานสาธารณสุขระดับ

จังหวัดและระดับเขต (EOC Assessment Tool) ผานระบบออนไลนโดยผลการประเมิน ดงั น้ี

- สาํ นักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 1 จังหวดั เชียงใหม รอยละ 62.16

- สํานักงานปองกันควบคมุ โรคที่ 2 จังหวัดพษิ ณโุ ลก รอ ยละ 72.97

- สํานกั งานปองกันควบคุมโรคท่ี 3 จังหวัดนครสวรรค รอ ยละ 77.03

- สาํ นักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 4 จงั หวัดสระบุรี รอ ยละ 91.89

- สํานักงานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 5 จังหวัดราชบรุ ี รอยละ 72.97

- สาํ นักงานปอ งกันควบคมุ โรคที่ 6 จังหวดั ชลบุรี รอยละ 75.68

- สาํ นกั งานปอ งกนั ควบคุมโรคที่ 7 จังหวดั ขอนแกน รอยละ 93.24

- สาํ นักงานปอ งกันควบคมุ โรคท่ี 8 จงั หวดั อดุ รธานี รอ ยละ 85.14

- สาํ นกั งานปอ งกนั ควบคมุ โรคที่ 9 จงั หวดั นครราชสีมา รอ ยละ 83.78

- สาํ นกั งานปอ งกันควบคุมโรคท่ี 10 จงั หวดั อบุ ลราชธานี รอยละ 71.62

- สาํ นกั งานปอ งกันควบคุมโรคที่ 11 จังหวดั นครศรีธรรมราช รอ ยละ 62.43

- สาํ นกั งานปองกนั ควบคมุ โรคท่ี 12 จงั หวัดสงขลา รอยละ 93.24

- สถาบนั ปองกันควบคุมโรคเขตเมือง รอยละ 87.84

ปจจัยแหง ความสาํ เร็จ
ผบู ริหารใหความสาํ คัญและสนับสนุนการดาํ เนนิ งานทั้งในเชิงนโยบาย ทรัพยากร และการพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ

กรมควบคุมโรค ทุกหนวยงานใหความรวมมือในการเรียนรูหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระบบบัญชาการ

เหตุการณ และศูนยป ฏิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคมุ โรค ดวยตนเองผา นระบบ E-learning

22

ปญหาอปุ สรรค
1. การอบรมหลักสูตรระบบบัญชาการเหตุการณภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (ICS 100) ของกรมควบคุมโรคบนเว็บ

ไซดของกองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉินมีหลายหลกั สตู ร จึงทาํ ใหผ เู รียนเลือกเรียนผิดหลักสตู ร

2. การประเมนิ สมรรถนะการพฒั นาศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระดับสวนกลาง ระดับเขต และระดับ

จงั หวดั โดยใชเคร่อื งมอื EOC Assessment Tool ยังพบวา บคุ ลากรของหนวยงานยังไมเ ขาใจถงึ บทบาทในการปฏบิ ตั ิงานใน

สภาวะปกติและสภาวะฉุกเฉิน ยงั ขาดความชัดเจนของบทบาทหนา ท่ใี นการปฏบิ ัติงานในภาวะฉุกเฉนิ กับหนว ยงานภายนอก

แนวทางแกไขปญหา
1. กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จัดทําลิงคหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบ

บญั ชาการเหตุการณแ ละศูนยป ฏิบตั กิ ารภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ และแจงไปยงั หนวยงานในสงั กัดกรมควบคมุ โรค
2. ช้แี จงขอบงช้ี แบบประเมนิ และประโยชนใ นการพัฒนาศูนยป ฏิบัตกิ ารภาวะฉุกเฉินใหกับหนว ยงานระดบั จังหวดั ใหมี

ความรูค วามเขาใจ เพือ่ สนบั สนุนการดําเนินงานตอไป

สง่ิ ทไี่ ดเรียนรจู ากโครงการ / ขอ คน พบ
1. การประสานงาน และสรางความเขาใจที่ถูกตองระหวางหนวยงานในการดําเนินงานโครงการ จะทําใหการทํางาน

ราบร่นื และบรรลุตามวตั ถุประสงค
2. การเตรียมความพรอมดานบุคลากร ระบบ และทรัพยากร จะทําใหศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และหนวยงาน

เครอื ขายมีความพรอ มในการปฏิบตั ิงานดา นการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
3. การพัฒนาศูนยปฏบิ ัติการระดับสวนภูมภิ าคน้ัน จะมคี วามพรอมในดานของวัสดุอุปกรณท่ีรองรับการปฏิบัตงิ านของ

ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินกรมควบคุมโรคได จะตองไดรับการสนับสนุนจากผูบริหารระดับสูงในการดําเนินงาน ควรมีการ
กําหนดพ้ืนที่สําหรับการปฏิบัติงานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินท่ีชัดเจน รวมทั้งมีระบบขอมูลสําหรับการปฏิบัติงานในภาวะ
ฉกุ เฉินที่มปี ระสิทธิภาพ และมีการพัฒนาบคุ ลากรอยา งตอเนือ่ ง

6. โครงการพัฒนาระบบตระหนักรูสถานการณในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใหพรอมรับมือปรับตัวตอโรคอุบัติใหม
โรคอบุ ตั ิซา้ํ และภัยสุขภาพทีเ่ กดิ จากการเปลี่ยนแปลงภมู ิอากาศ
หลักการและเหตุผล

กรมควบคุมโรคมีเปาประสงคในการพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพท่ีไดมาตรฐาน เพ่ือสามารถตรวจจับ
เหตุการณผิดปกติไดอยางรวดเร็ว และตอบโตไดทันเหตุการณ โดยมีทีมตระหนักรูสถานการณ (Situation Awareness
Team -SAT) และทมี ปฏิบัตกิ ารสอบสวนโรค (Joint Investigation Team - JIT) ทพี่ รอ มปฏบิ ตั ิงาน 24 ชัว่ โมง โดยสามารถ
เช่ือมตอขอมูลจากพ้ืนที่เกิดเหตุจนถึงสวนกลางไดแบบ Real Time ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน จึงจําเปนตองพัฒนากลไก
การบริหารจัดการทีมตระหนักรสู ถานการณแ ละพัฒนาบุคลากรใหสามารถเฝา ระวงั ตรวจจับเหตุการณผิดปกติ ตรวจสอบขา ว
การระบาด ติดตามสถานการณโรคและภัยสุขภาพ และประเมินความเสี่ยงสถานการณโรคตาง ๆ ใหเขมแข็ง รวมถึง
การพัฒนากลไกการประสานงานรวมกับหนวยงานเครือขาย อันจะสงผลใหเกิดความพรอมในการตอบสนองสถานการณโรค
และภัยสุขภาพในภาพรวมของประเทศและสอดประสานภารกิจกับหนวยงานอ่ืนๆ ที่เกี่ยวของ ทั้งภายในและภายนอก
กระทรวงสาธารณสขุ อยา งเปนเอกภาพ และไดมาตรฐานสากล

23

วตั ถุประสงค
1. เพ่ือยกระดับความสามารถในการเฝาระวังและประเมินแนวโนมสถานการณปญหาโรคและภัยสุขภาพในภาวะ

ฉุกเฉนิ ของประเทศไทย ในป 2563
2. เพ่อื พฒั นาหลักสูตรทเ่ี กยี่ วขอ งกบั ทมี ตระหนักรสู ถานการณ และทบทวน ปรบั ปรุง แนวทางการปฏิบตั งิ าน (SOP)

กระบวนการดําเนนิ งานตาง ๆ ทเี่ ก่ียวของกับการเฝาระวังและรายงานเหตุการณใ หท ันตอสถานการณแบบเปน ปจจุบนั (Real time)
3. เพ่ือพัฒนาทักษะดานการติดตาม วิเคราะหและประเมินแนวโนมสถานการณโรคและภัยสุขภาพ แกบุคลากร

ทีเ่ กีย่ วของ ในสว นกลาง และระดับเขต
4. เพือ่ ตดิ ตาม ประเมินสถานการณ และวิเคราะหค วามเสยี่ งของโรคและภยั สุขภาพในพื้นที่อยา งตอเนื่อง

ผลการดาํ เนินงาน
1) พัฒนาศักยภาพบุคลากรผูปฏิบัติงาน SAT Manager กรมควบคุมโรค ป 2563 ระหวางวันที่ 11 - 13

ธันวาคม 2562 ณ เรนเดียร พารค รีสอรท จังหวัดนครนายก โดยมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรผูปฏิบัติงาน
SAT Manager ประจําสัปดาห กรมควบคุมโรคใหมีความเขาใจบทบาทหนาที่ แนวทางการปฏิบัติงานตําแหนง
SAT Manager ทีมตระหนักรูสถานการณ และเพ่ือพัฒนาทักษะ ความรู หลักระบาดวิทยาท่ีเก่ียวของกับการปฏิบัติงาน
ทีมตระหนักรูส ถานการณเพอ่ื ใหสามารถปฏิบตั งิ าน SAT Manager ประจาํ สัปดาห กรมควบคุมโรคไดอ ยางมปี ระสิทธิภาพ

2) ประชุมเชิงปฏิบัตกิ ารจัดวางแนวทางพัฒนาทีมตระหนักรูสถานการณ กรมควบคุมโรค ป 2563 ระหวา งวันที่
19 – 21 สิงหาคม 2563 ณ โรงแรมบานริมอา ว จังหวดั จนั ทบุรี โดยมีวตั ถปุ ระสงคเพอ่ื ระดมแนวคดิ ที่ไดจากการปฏิบัติงานทีม
ตระหนักรูสถานการณของผูปฏิบัติงานกรณีโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ในชวงเดือนมกราคม – สิงหาคม 2563 ท่ีผานมา
เพื่อนําขอเสนอแนะ แนวทางท่ีไดรับจากผูเขารวมประชุมไปวางแผนพัฒนาแนวทางการดาํ เนินงาน และการพัฒนาศักยภาพ
บุคลากรผูปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ใหมีความพรอมรับมือการดําเนินงาน
ภายใตสถานการณฉกุ เฉินไดอ ยา งตอ เนื่องและมีประสิทธภิ าพ

3) บริหารจัดการการปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณ (Situation Awareness Team - SAT)
กรมควบคุมโรค และทีมตระหนักรูสถานการณ (Situation Awareness Team -SAT) กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 โดยผูปฏิบตั ิงานประจาํ สัปดาหเ ปน แพทย สัตวแพทย นักวิชาการสาธารณสุข กรมควบคมุ โรค จากจํานวน 22 หนวยงาน
รวมทงั้ สิ้น 205 คน ปฏิบัติงานรวม 52 สัปดาห สวนกรณโี รคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ไดบริหารจัดการการปฏิบัติงานตาม
ความเหมาะสมของสถานการณ

4) ปฏิบัติงานคณะทํางานกลุมภารกิจดานตระหนักรูสถานการณสาธารณสุข ตามคําสั่งกรมควบคุมโรค
คณะทํางานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Emergency Operation Center) กรณีโรคปอดอักเสบติดเชื้อ
รนุ แรงจากเชอ้ื ไวรัส (Viral Pneumonia) ลงวันที่ 6 มกราคม 2563 และฉบับเพิ่มเตมิ

ปจจัยแหงความสาํ เร็จ
กลุมเปาหมายสวนใหญเขารวมปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณตามแผนที่วางไว รวมถึงบุคลากรผูเขารวม

ประชุมใหความสนใจ ใหความรวมมือในการทํากิจกรรม และแสดงความคิดเห็น ใหข อเสนอแนะที่เปนประโยชน ซึ่งสามารถ
นําความคิดเหน็ และขอเสนอแนะตาง ๆท่ไี ดรับ มาปรับปรุงและประยุกตใชใ นการทํางานไดอยางมปี ระสิทธภิ าพยิง่ ขึ้น รวมท้ัง
ผบู รหิ ารใหความสําคัญตอ การดําเนนิ งานดงั กลาว ทาํ ใหก จิ กรรมตางๆเปนไปอยางราบร่ืน ประสบความสาํ เรจ็

24

ปญ หาอุปสรรค
1) เน่ืองจากสถานการณการระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ที่กําลังแพรระบาดในปจจุบัน กอใหเกิด

ผลกระทบอยางเปนวงกวาง โดยเฉพาะอยางยิ่งผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในสังคม จึงทําใหเกิดนโยบายหรือ
มาตรการที่จํากัดการรวมกลุมคนเพื่อปองกันและควบคุมสถานการณการแพรระบาดของโรคซ่ึงบุคลากรที่เปนกลุมเปา หมาย
ในการดําเนินงานตามแผนประจําป จําเปนตองปฏิบัติงานตามคําส่ังคณะทํางานกรมควบคุมโรคเพ่ือปฏิบัติงานภายใต
สถานการณฉกุ เฉนิ กรณโี รคติดเชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 จงึ ทาํ ใหไมสามารถดําเนนิ การตามแผนประจาํ ปท ก่ี ําหนดไวไดอ ยา งครบถวน

2) การจัดบุคลากรเขารวมปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณ ยังพบปญหาอุปสรรคคือ บางหนวยงานอาจไม
เขาใจโครงสรางและบทบาทภารกิจการดําเนินงานดังกลาว ซ่ึงเปนภารกิจภาพรวมของกรมควบคุมโรค หรือศูนยปฏิบัติการ
ภาวะฉุกเฉิน ไมใชภารกิจของหนวยงานใดหนวยงานหน่ึง ทําใหไมเห็นความสําคัญของการสงบุคลากรเขารวมปฏิบัติงาน
ดังกลาวเทา ทค่ี วร

แนวทางแกไ ขปญหา
ผูบริหารหรือหัวหนาหนวยงานตางๆ ควรเขาใจและใหความสําคัญกับการปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณ ซ่ึง

เปน ภารกิจสําคัญของกรมควบคุมโรค และกรณี มีภารกจิ อน่ื ๆท่ีตอ งดําเนินการในชว งเวลาเดียวกบั การปฏิบตั ิงานทีมตระหนัก
รสู ถานการณ ควรบรหิ ารจดั การใหเหมาะสม เชน หาผปู ฏิบตั งิ านแทน เปนตน

สิ่งท่ไี ดเ รียนรูจ ากโครงการ / ขอคนพบ
การพัฒนาระบบงานตระหนักรูสถานการณจําเปนตองพัฒนาอยางตอเน่ือง เพื่อฝกฝนทักษะบุคลากร กรมควบคุมโรค

ใหมีความพรอมในการดําเนินงานท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน ใหพรอมรับมือตอสถานการณโรคและภัยสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น
รวมถงึ การพฒั นาระบบบริหารจัดการ รวมถึงระบบฐานขอ มูลตางๆ ที่เกย่ี วของเพ่อื อํานวยความสะดวกในการปฏบิ ัตงิ าน

7. โครงการพัฒนาการเตรียมความพรอมดานการบริหารจัดการคลังเวชภัณฑทรัพยากร และสงกําลังบํารุง เพ่ือรองรับ
ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

หลักการเหตุผล
ปจจุบันประเทศไทยประสบกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและภัยพิบัติตาง ๆ บอยคร้ัง แตละคร้ังมีระดับ

ความรุนแรงเพ่ิมข้ึน และขยายเปนวงกวาง ซ่ึงสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของประเทศอีกดวย
การเตรยี มความพรอมระบบจัดการภาวะฉุกเฉินจึงเปนเรื่องที่สาํ คญั อยางยิ่งในทกุ ระบบ การเตรียมการที่เหมาะสม รอบดาน
และตอเนื่อง การบูรณาการที่มีประสิทธิภาพ กลไกการสรางการมีสวนรวมของภาคสวนตาง ๆ จะชวยลดผลกระทบหรือ
บรรเทาความรุนแรงของความเสียหายทอี่ าจเกิดขนึ้

นอกจากนี้จากการประเมินผลสมรรถนะหลักในการปฏิบัติตามกฎอนามัยระหวางประเทศของประเทศไทย
(IHR 2005) พบวาความเส่ียงดานสาธารณสุขท่ีมีความสําคัญสูง และขอมูลแหลงและการใชทรัพยากรใหเปนประโยชน
ยังมีสวนท่ีตองปรับปรุงและพัฒนาดานการบริหารจัดการดานเวชภัณฑ ทรัพยากรของโรคและภัยสุขภาพที่เปนปญหา
สาธารณสุขท่ีสําคัญ ซ่ึงยังไมมีระบบที่เปนเอกภาพและมาตรฐานเดียวกัน ดังนั้นจึงตองมีการจัดการขอมูลและความพรอม
ของทรพั ยากรใหเ ปน ระบบและทันเวลามากขึ้น

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค จึงเล็งเห็นความสําคัญของการเตรียมความพรอม
ดา นการบริหารจดั การคลังเวชภัณฑทรัพยากรและสงกําลังบํารุง เพื่อการรับมือภาวะฉกุ เฉิน ถือเปน กุญแจสําคัญท่จี ะชวยลด

25

ผลกระทบหรอื บรรเทาความเสียหายท่อี าจเกดิ ขนึ้ การจัดการคงคลังเวชภณั ฑแ ละทรัพยากรท่มี ีอยูแลว และที่ตอ งจดั สรรจาก
แหลงอื่น เปน กระบวนการท่ีซับซอ นจงึ ควรมกี ารวางแผนลว งหนา ไมปลอยใหการจัดการเปน การแกป ญหาเฉพาะหนา เพือ่ ให
การจัดการคงคลังเวชภัณฑ และทรัพยากร เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ และสามารถใชทรัพยากรไดอยางคุมคา กองควบคุมโรค
และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จึงไดจัดทําโครงการพัฒนาการเตรียมความพรอมดานการบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ
ทรัพยากร และสงกําลังบาํ รุง เพ่ือรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ขึ้น เพ่ือเปนการเตรียมความพรอมรองรับสถานการณ
ฉุกเฉินและภัยสุขภาพท่ีเกดิ ขน้ึ ไดอ ยางมีประสิทธิภาพ

วัตถุประสงค
1. เพ่ือใหเกิดการเตรียมความพรอมดานการบริหารจัดการคลังเวชภัณฑท รัพยากร และสงกําลังบํารงุ เพื่อรองรับ

ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ
2. เพื่อใหเกิดระบบความเชื่อมโยงฐานขอ มลู โรคและภัยสุขภาพ เพอื่ การสนับสนนุ การตอบโตภ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ
3. เพ่ือใหมีแนวทางรับ-สง ยาและเวชภัณฑปองกันควบคุมโรค และบุคลากรทางการแพทย ขณะเกิดภาวะฉกุ เฉิน

ทางสาธารณสุข

ผลการดําเนินงาน
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ไดดําเนินโครงการพัฒนาการเตรียมความพรอมดานการบริหาร

จัดการคลงั เวชภณั ฑท รพั ยากร และสง กาํ ลงั บํารงุ เพอื่ รองรบั ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ โดยดาํ เนินกจิ กรรมดังน้ี
1. การพฒั นาระบบบริหารคลังเวชภณั ฑ ทรัพยากร และสงกาํ ลังบํารงุ ไดด ําเนินการดังน้ี
1.1 ประชุมการเชื่อมตอขอมูลโปรแกรมการจัดเก็บฐานขอมูลยา เวชภัณฑ และทรัพยากร วัตถุประสงคเพ่ือ
หารือการเช่ือมตอขอมูลกับการจัดเก็บฐานขอมูลรายการยาเวชภัณฑ ทรัพยากรของหนวยงานภายในสังกัดกรม
ควบคุมโรค ผลจากการประชุม ระบบ HIS (EMR soft) สามารถดึงขอมูลเปนรูปแบบไฟลขอมูล จากระบบ HIS
โดยเจาหนาทีส่ ารสนเทศของหนวยงาน และไมมคี า ใชจายเพิม่ เติม พรอมท้ังสามารถดงึ ขอมลู ผา น API ได
1.2 ประชุมคณะทํางานการพัฒนาระบบบริหารคลังเวชภัณฑ ทรัพยากร และสงกําลังบํารุง ในภาวะฉุกเฉิน
กรมควบคมุ โรค ครั้งที่ 2/2562 วนั ที่ 30 ตลุ าคม 2562 วัตถุประสงคเพ่ือติดตามการดําเนนิ งานตามขอสั่งการในการ
ประชุมคณะทํางานการพัฒนาระบบบริหารคลงั เวชภัณฑ ทรัพยากร และสงกําลังบํารุง ในภาวะฉกุ เฉิน กรมควบคมุ โรค
คร้ังท่ี1/2562 ผลจากการประชุม มอบหมายสํานักงานเลขานุการกรมหารือและขอตกลงรวมกันระหวางหนวยงาน
ท่ีเกี่ยวของในการจัดทําแผนสํารองดานยานพาหนะ การกําหนดขั้นต่ําของรถยนตและพนักงานขับรถ และกําหนดแผน
(SOP) หรือแนวทางการใชรถยนตเมื่อเกิดภาวะฉุกเฉิน เพ่ือใหสามารถเรียกใชรถยนตจากหนวยงานน้ันๆ ไดทัน
ตอสถานการณ การแสดงขอมูลยาเวชภัณฑ ทรัพยากรที่สําคัญและจําเปนในแตละโรค/ภัย การจัดทํา Resource
Mapping ที่นอกเหนือจากท่ีกรมควบคุมโรครับผิดชอบ เชน หอง Negative Pressure และทีมปฏิบัติการที่พรอม
ลงปฏิบัติการพื้นท่ี การจดั ทาํ Resource Mapping บางรายการ เชน การเตรยี มยานพาหนะตามความเหมาะสมกับ
สถานการณ หองประชุมสําหรับ Incidence commander ขณะมีการยกระดับศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC)
และวางระบบการจองหองประชุมกรมควบคุมโรคเช่ือมโยงกับระบบ Resource Mapping ที่กําลังพัฒนาได และ
มีขอเสนอใหเพ่ิมเติมผูประสานงานหลักในการประสานงานกับกรมวิทยาศาสตรการแพทย เพื่อประโยชนในการ
เช่อื มโยงและการบริหารจดั การทรัพยากรสาํ หรับการตรวจทางหองปฏิบัติการอยางเพียงพอ

26

1.3 ประชุมหารือการจัดทําเกณฑข้ันต่ํา (Safety stock) ของยา เวชภัณฑ และทรัพยากร ผูเขารวมประชุม
ประกอบดวยหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค วัตถุประสงคเพื่อกําหนดเกณฑขั้นต่ํา (Safety stock) ยา วัคซีน
เวชภัณฑที่มิใชยา วัสดุวิทยาศาสตร เคมีภัณฑ และครุภัณฑทางการแพทย ผลที่ไดจากการประชุม คือ แนวทาง
การกําหนดเกณฑขั้นต่ํา (Safety stock) ยา วัคซีน เวชภัณฑท่ีมิใชยา วัสดุวิทยาศาสตร เคมีภัณฑ และครุภัณฑ
ทางการแพทย ของหนวยงานทีเ่ กี่ยวขอ งในสังกัดกรมควบคุมโรค

1.4 ประชุมตดิ ตามการพัฒนาระบบเช่ือมโยงฐานขอมูลเวชภัณฑ ทรัพยากร และสง กําลงั บํารุง กรมควบคุมโรค
วัตถุประสงคเพ่ือเตรียมจัดทําคูมือการใชงานและติดตามผลตอบรับงานระบบเชื่อมโยงฐานขอมูลเวชภัณฑ
ทรัพยากร และสงกําลังบํารุง กรมควบคุมโรค ระดับหนวยงาน ผลจากการประชุม ไดดําเนินการจัดทําคูมือการใช
งานระบบ Resource Mapping ใหมีท้ังภาพและเสียงประกอบ เพ่ือให admin แตละสํานักงานปองกันควบคุมโรค
สามารถทาํ ความเขา ใจไดมากขึน้ กอนใชง านจริง และมอบหมายเจา หนาทป่ี ระสานงานแตล ะหนวยงาน

1.5 ประชมุ ติดตามการใชง านระบบเชื่อมโยงฐานขอ มูลเวชภณั ฑ ทรัพยากร และสงกําลงั บาํ รุง กรมควบคุมโรค
และหารือแผนการลงพ้ืนท่ีเพ่ือติดตามผลการใชงานและปญหาอุปสรรคเชิงลึก ระดับหนวยงาน ผลจากการประชุม
มอบหมายเจาหนาท่ีติดตามการใชงานระดับหนวยงาน รวบรวมขอเสนอแนะ พรอมท้ังปญหาอุปสรรคของแตละ
หนวยงาน เพ่ือดําเนินการแกไขปรับปรุงใหไดประสิทธิภาพมากที่สุด และวางแผนการลงพื้นที่ใน 3 หนวยงาน โดย
พจิ ารณาจากผลการติดตามการใชงานของสาํ นักงานปองกันควบคุมโรค
2. จัดซื้อเวชภัณฑและทรัพยากรที่จําเปน สําหรับสนับสนุนกรณีภัยพิบัติ เพื่อรองรับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขในการ
ตอบโตส ถานการณภ ัยพบิ ตั ิ ไดแ ก คลอรนี เมด็ จํานวน 210 กระปุก ผา อนามัย จํานวน 2,015 หอ ผา หม จํานวน 350 ผืน

ปจ จยั ความสาํ เรจ็
ผบู ริหารใหความสนใจและใหก ารสนบั สนนุ การดาํ เนนิ งาน

8. โครงการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขกรมควบคุมโรค กรณีโรคปอดอักเสบจากเชื้อไวรัส (Viral Pneumonia)

หลกั การเหตุผล
ตามทสี่ าธารณรัฐประชาชนจนี โดยคณะกรรมการสุขอนามัยเมืองอฮู ัน่ (Wuhan Municipal Health Commission)

ไดเผยแพรสถานการณโรคปอดอักเสบรุนแรงจากเชื้อไวรัส ณ วันท่ี 11 มกราคม 2563 พบผูปวย 59 ราย ในจํานวนนี้ตรวจ
ทางหองปฏิบัติการพบเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุใหม (Novel coronavirus) 41 ราย ผูปวยมีอาการรุนแรงอยูในภาวะวิกฤติ
7 ราย เสียชีวิต 1 ราย และมีผูสัมผัสที่อยูภายใตการสังเกตอาการ จํานวน 739 ราย ท้ังนี้ ประเทศไทยไดพบผูเดินทางจาก
เมืองอูฮั่นที่สงสัยติดเช้ือไวรัสดังกลาว จากการคัดกรองผานชองทางดานควบคุมโรคติดตอระหวางประเทศ ณ ชองทางเขาออก
ประเทศ ในทาอากาศยานนานาชาติ จํานวน 5 แหง ไดแ ก ทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ทา อากาศยานนานาชาตดิ อนเมอื ง
ทาอากาศยานนานาชาติเชียงใหม ทาอากาศยานนานาชาติภูเก็ต และทาอากาศยานนานาชาติกระบี่ กรมควบคุมโรคจึง
ดําเนินการติดตามสถานการณ การเฝาระวังโรคอยางใกลชิด เตรียมพรอมดานการดูแลรักษาผูปวย ดานการสอบสวนโรค
ดานการเตรียมพรอมสํารองเวชภัณฑ เพ่ือรับมือกับภาวะฉุกเฉินจากการระบาดของโรคจากสถานการณการระบาดของ
โรคปอดอักเสบรุนแรงจากเช้ือไวรัส (Viral Pneumonia) ที่เกิดขึน้ ในเมืองอูฮั่น (Wuhan) มณฑลหเู ปย (Hubei) สาธารณรัฐประชาชน
จีน และดําเนนิ การยกระดับศูนยป ฏบิ ตั ิการภาวะฉุกเฉนิ กรณีโรคปอดอกั เสบรุนแรงจากเชือ้ ไวรัส (Viral Pneumonia)

27

วัตถุประสงค
1. เพื่อติดตาม เฝาระวังขอมูลผูเดินทางและผูปวยสงสัยตามนิยามทุกรายใหไดรับการดูแลรักษาและตรวจวินิจฉัย

อยางเหมาะสม
2. เพื่อวิเคราะหขอมูลผูเดินทางและผูปวยไดรับการจัดการอยางเปนระบบสามารถใชเปนขอมูลอางอิงในการ

ปฏบิ ัตกิ ารและสื่อสารความเสี่ยงไดท ันตอ สถานการณ
3. เพ่ือสนบั สนุนการยกระดบั การปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินในการตอบโตท างสาธารณสุข กรณีโรคปอดอักเสบจากเช้ือ

ไวรสั (Viral Pneumonia)

ผลการดําเนนิ งาน
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ไดรับงบประมาณเพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานตอบโตภาวะฉุกเฉิน

ทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรณีโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ไดแก สนับสนุนคาใชจายการเดินทางไปราชการของ
ทีมปฏิบัติการสอบสวนควบคุมโรค ในกรณีไดรับรายงานผูปวยยืนยันตองสอบสวนโรค รวมไปถึงการลงพื้นที่คัดกรองผูปวย
สงสัย ทําใหลดความเส่ียงในการแพรกระจายเชื้อไปยังชุมชนขางเคียง และควบคุมโรคใหอยูในวงจํากัด การจัดซ้ือยา และ
เวชภัณฑปองกันควบคุมโรค ใหกับทีมปฏิบัติการและหนวยงานระดับเขตและจงั หวัดใชในการดําเนินการปองกันควบคุมโรค
ในพ้ืนที่ รวมไปถึงการสํารองทรัพยากรที่จําเปนสําหรับสวนกลางหากเกิดกรณีฉุกเฉิน อาทิ ถุงมือไนไตรล 12 น้ิว ,ถุงมือยาง
เจลลางมือ ,ไมกดล้ิน , ยา Favipiravir, หนากากอนามัยชนิดใชแลวท้ิง ,Universal Transport (UTM) เสื้อกาวนเพลาสติก
กนั น้ํา, เคร่ืองวัดอุณภูมิรางกายแบบอินฟราเรด ,น้ํายานําสงสง่ิ สงตรวจ สําหรับเช้ือไวรัส (Viral Transport media) ,ปรอทวัด
ไข เปนตน การผลิตสื่อประชาสัมพันธประเภทชุดจัดนิทรรศการ (Roll up) และแผนพับ ใชในการสื่อสารความเส่ียงผาน
ชองทางตางๆ และกระจายไปยังพื้นท่ีในการสื่อสารใหความรูกับกลุมเส่ียง และประชาชนทั่วไป ใหสามารถปฏิบัติตัวในการ
ปองกันควบคุมโรคไดอยางถูกตอง การพฒั นาศักยภาพบคุ ลากรในการบริหารจัดการสถานท่ีกักกนั โรคแหงรัฐในพ้ืนท่ีระดับเขต
และเปนแนวทางสําหรับผูปฏิบัติงานดานการปองกัน ควบคุมโรค นําไปใชในการบริหารจัดการไดอยางมีประสิทธิภาพ
สนับสนุนการดําเนินงานของกลุมภารกิจตางๆ ภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ไดแก การประชุมทบทวน
ถอดบทเรียนประสบการณการปฏิบัติงาน พัฒนาประสิทธิภาพและประสิทธผิ ลของการปฏิบัติงานภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินใหกับบุคลากร กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน และบุคลากรที่ปฏิบัติงานภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉิน ในกลุมภารกิจดานตา ง ๆ เชน กลุมภารกิจดานการประสานงานและเลขานุการ กลุมภารกิจดานตระหนักรูสถานการณ
กลุมภารกจิ ดา นมาตรฐานการกักกัน และกลุม ภารกจิ ดานสํารองเวชภณั ฑและสง กาํ ลงั บํารุง เปน ตน

ปจ จัยความสาํ เร็จ
1. การสนบั สนนุ ของผบู รหิ ารในการใหนโยบายในการดําเนินงานในระดบั สว นกลางและระดับพืน้ ท่ี
2. ไดรับการสนบั สนนุ จากกองยุทธศาสตรแ ละแผนงาน ตามการรอ งขอจากหนวยงาน

ปญ หาอุปสรรค
1. การจัดซอ้ื จัดจางในกรณเี รง ดว นไมสามารถดาํ เนนิ การไดท นั ทีเนื่องจากตองปฏบิ ัตติ ามหลักเกณฑและระเบยี บของการพัสดุ
2. การสือ่ สารภายในระหวา งกลุมภารกิจขาดความชัดเจน ทาํ ใหบ างครงั้ เกิดการส่ือสารผิดพลาดทาํ ใหการดําเนินงานลาชา

28

แนวทางแกไ ขปญหา
1. ขอคําแนะนําจากกองบรหิ ารการคลังในการดําเนนิ การใหถ ูกตองตามระเบียบ และรวดเร็วทันตอ สถานการณ
2. กาํ หนดผูประสานงานของแตละกลุมภารกิจ เพอ่ื ใหการประสานงานมคี วามราบร่ืนและการดาํ เนนิ งานทนั ตอสถานการณ

สง่ิ ที่ไดเ รยี นรูจ ากโครงการ
1. การวางแผนการดาํ เนินงานที่ดี จะทาํ ใหการทํางานราบรนื่ และบรรลุตามวัตถุประสงค
2. การกาํ หนดเปา หมายและผลลพั ธท ่ชี ัดเจนของแตล ะกิจกรรม จะทําใหผูปฏิบตั ิงานงานสามารถดําเนนิ การไดอยาง

รวดเรว็ และบรรลเุ ปาหมายของกจิ กรรม

9. โครงการสํารองเวชภัณฑปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรณีมลพิษอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5
ไมครอน (PM 2.5)

หลักการเหตุผล
จากขอมูลรายงานสถานการณและคุณภาพอากาศประเทศไทย โดยกรมควบคุมมลพิษ ณ วันที่ 21 มกราคม 2563

พบคาฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) เกินคามาตรฐาน ติดตอกัน 3 วัน ในหลายพื้นที่ของกรุงเทพมหานคร
ปริมณฑล และพ้ืนท่ีเสี่ยง และจากขอมูลสถานการณการเฝาระวังผลกระทบตอสุขภาพจากมลพิษอากาศฝุนละอองขนาด
เล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในเขตพ้ืนท่ีกรุงเทพมหานคร และปริมณฑล และพ้ืนที่เสี่ยง โดยกองระบาดวิทยา ระหวาง
วันที่ 3 สิงหาคม 2561 – 20 มกราคม 2563 จากการพิจารณาจํานวนผูปวยจําแนกตามวันเริ่มปวยและคาเฉลี่ยระดับ
คุณภาพอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร (สถานีตรวจวัด 16 แหง) พบวา
จํานวนผปู ว ยที่รายงานเขา สูระบบเฝาระวงั มีแนวโนมการรายงานสูงข้ึนตามคาระดบั คณุ ภาพอากาศ และเนือ่ งจากคา PM2.5 ใน
แตละจุดในแตละเวลามีความแตกตางกัน ผลกระทบตอสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึนกับประชาชนจึงข้ึนอยูกับหลายองคประกอบ
ไดแก 1. ตําแหนงทีอ่ ยูอาศัยหรือตําแหนงที่ทํากิจกรรม 2. ชวงเวลาและระยะเวลาท่ีสัมผัส 3. ชนิดของกิจกรรมท่ีทําในพื้นท่ี
ท่ีมีคา PM2.5 สูง 4. ปจจัยเฉพาะบุคคล ซึ่งอาจสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนท่ีอาศัยอยูในพื้นที่เส่ียง โดยเฉพาะ
ประชาชนกลุมเส่ียงท่ีตองดูแลเปนพิเศษ ไดแก กลุมเด็กเล็ก ผูสูงอายุ หญิงต้ังครรภ ผูที่มีโรคประจําตัว เชน โรคหัวใจ
โรคหลอดเลือดสมอง โรคหืด ภูมิแพ หากไดรับมลพิษจากฝุนละอองขนาดเล็กเขาสูรางกาย อาจทําใหเกิดการเจ็บปวยหรือ
มผี ลกระทบตอ สขุ ภาพทร่ี ุนแรงมากกวา ประชาชนท่วั ไป

วัตถปุ ระสงค
เพ่ือสนับสนุนเวชภัณฑปองกันควบคุมโรคและภัยสุขภาพใหแกป ระชาชนและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค

ในพื้นทีเ่ ส่ียง กรณีมลพิษอากาศฝนุ ละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5)

ผลการดําเนนิ งาน
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินดําเนินการจัดซื้อหนากากอนามัย N 95 สําหรับปองกันควบคุมโรค

และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรณีมลพิษอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) จํานวน 24,500 ช้ิน เมื่อ
เดือนกุมภาพันธ 2563 แบงเปนหนากาก N95 แบบมีวาลว 17,500 ช้ิน และหนากาก N95 แบบมีวาลว สําหรับเด็ก 7,000 ชิ้น
เพื่อสนับสนุนและปองกันผลกระทบที่จะเกิดจากมลพิษอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) ใหแก
ประชาชนและเจาหนาท่ีผูปฏิบัติงานกรมควบคุมโรคในพ้ืนท่ีเสี่ยง กรณีมลพิษอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน
(PM2.5) โดยสาํ รองไวท ีก่ องควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน และสนบั สนนุ ใหแ กหนวยงานในสงั กัดกรมควบคมุ โรคตามท่ีรองขอ

29

ปจ จัยความสาํ เร็จ
ผบู รหิ ารใหความสําคญั และใหก ารสนบั สนนุ การดําเนนิ งาน

10. โครงการสํารองยาและเวชภัณฑท่ีมิใชยา เพ่ือสนับสนุนใหแกประชาชนท่ีไดรับผลกระทบจากโรคและภัยสุขภาพ
ทส่ี ําคญั สามารถดูแลตัวเองเบ้ืองตน ปง บประมาณ 2563

หลักการเหตุผล
ดวยสถานการณโรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญในปจจุบันของประเทศไทย อันไดแก ปญหาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5

ไมครอน (PM2.5) ในชวงตนป ทั้งพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลของทุกป สูงเกินคามาตรฐาน ซ่ึงสงผลกระทบ
ตอสขุ ภาพของประชาชนในทุกกลมุ ทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว และจากสถานการณโรคติดเช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 เม่อื วนั ที่ 31
ธันวาคม 2562 ประเทศจีนรายงานจํานวนผูปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนคร้ังแรก จํานวน 27 ราย ซึ่งขอมูล
ณ วันที่ 17 กุมภาพันธ 2563 มีรายงานผูปวยยืนยันท่ัวโลก จํานวนท้ังสิ้น 71,441 ราย และเสียชีวิต 1,873 ราย สวนใหญ
เกิดข้ึนในประเทศจีน ท้ังน้ียังมีผูปวยยืนยันใน 27 ประเทศ และ 2 เขตบริหารพิเศษ สําหรับสถานการณในประเทศไทย
พบผูปวยยืนยันสะสม 35 ราย หายปวยและแพทยอนุญาตใหออกจากโรงพยาบาล 15 ราย และผูปวยท่ีมีอาการเขาได
ตามนิยามเฝาระวังโรคสะสม 872 ราย โดยมาตรการในประเทศไทย ไดยกระดับศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน เปนระดับ 3
เพื่อติดตามสถานการณโรคทั้งในประเทศและตางประเทศอยางใกลชิด และบริหารจัดการทรัพยากร เสริมสรางความเข็มแข็ง
ของระบบเฝาระวังคนหาผูปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทั้งการคัดกรองไข ณ ชองทางเขาออกประเทศท่ีทาอากาศยาน
นานาชาติ 6 แหง ไดแก ทาอากาศยานนานาชาติสุวรรณภูมิ ดอนเมือง เชียงใหม ภูเก็ต กระบ่ี และเชียงราย เพ่ิมการเฝาระวัง
ท่ีโรงพยาบาลรัฐและเอกชน สนับสนุนการเตรียมความพรอมรับมือโรคติดตออุบัติใหม จากสถานการณโรคและภัยสุขภาพ
ท่สี ําคญั ดงั กลาว ทาํ ใหป ระชาชนสนใจทีจ่ ะปอ งกนั ตนเองมากขนึ้ และประชาชนบางสวนเกิดความตืน่ ตระหนก

วตั ถุประสงค
เพ่ือสํารองและสนับสนุนยาและเวชภัณฑท่ีมิใชยาใหแกประชาชนท่ีไดรับผลกระทบสามารถดูแลสุขภาพตนเอง

เบื้องตนเมื่อมีอาการปวย และสําหรับใชในการรณรงคในโอกาสตาง ๆ เพ่ือใหประชาชนเกิดความตระหนักในการปองกัน
ตนเอง และไมต ่ืนตระหนกตอ สถานการณโ รคและภัยสุขภาพทเี่ กดิ ขน้ึ

ผลการดําเนนิ งาน
กองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินดําเนินการจัดซ้ือชดุ ยาและเวชภัณฑทีม่ ิใชยา จาํ นวนท้ังสิ้น 5,000 ชุด

ในเดือนเมษายน 2563 เพ่ือสนับสนุนและปอ งกนั ผลกระทบท่ีจะเกิดจากมลพษิ อากาศฝุน ละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน
(PM2.5) และโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ใหแกประชาชนและเจาหนาที่ผูปฏิบัติงานกรมควบคุมโรค
กรณีมลพิษอากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) และโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) สํารองไวที่
กองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ สนับสนุนใหแกประชาชนและหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรคตามท่ีรอ งขอ
และกระจายใหแกหนวยงานตามแผนท่ีวางไว ไดแก สํานักงานปองกันควบคุมโรคที่ 1 - 12 และสถาบันปองกันควบคุมโรค
เขตเมือง เพื่อสํารองและกระจายชุดยาดังกลาวแกหนวยงานในพ้ืนท่ีและประชาชนสามารถดูแลสุขภาของตนเองและ
ครอบครัวไดในเบื้องตน พรอมท้ังลดความเสี่ยงการเกิดผลกระทบตอรางกายสําหรับผูที่ไดรับผลกระทบจากโรคจากมลพิษ
อากาศฝุนละอองขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน (PM2.5) และโรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (โควดิ -19)

30

ปจจัยแหง ความสําเรจ็
มกี ารประสานงานและวางแผนรว มกับหนวยงานทเ่ี กย่ี วของ

11. โครงการสาํ รองชุดเวชภณั ฑปองกันโรคในสถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
หลักการเหตผุ ล

จากสถานการณโ รคตดิ เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เม่ือวนั ที่ 31 ธันวาคม 2562 ประเทศจีนรายงานจาํ นวน
ผูปวยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนคร้ังแรก จํานวน 27 ราย จนถึงขณะนี้ มีรายงานผูปวยยืนยันท่ัวโลก รวม 210
ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam ขอมูล
ณ วันท่ี 2 กรกฎาคม 2563 มีจํานวนผูปวยรวม 10,809,998 ราย มีอาการรุนแรง 57,909 ราย เสียชีวิต 519,050 ราย
โดยประเทศที่มีจํานวนผูปวยยืนยัน 10 อันดับแรก ไดแก สหรัฐอเมริกา 2,779,953 ราย บราซิล 1,453,369 ราย รัสเซีย
654,405 ราย อินเดีย 605,220 ราย สหราชอาณาจักร 313,483 ราย สเปน 296,739 ราย เปรู 288,477 ราย ชิลี 282,043 ราย
อิตาลี 240,760 ราย และเม็กซิโก 231,770 ราย สวนจีน เปน อันดับท่ี 22 มีจํานวนผูปวย 84,817 ราย (รวม ฮองกง 1,234 ราย
มาเกา 46 ราย) สาํ หรับสถานการณในประเทศไทย พบผูปว ยยืนยันสะสม 3,179 ราย เสียชีวิต 58 ราย หายปวยและแพทย
อนุญาตใหออกจากโรงพยาบาล 3,066 ราย และผูปวยท่ีมีอาการเขาไดตามนิยามเฝาระวังโรคสะสม 315,445 ราย และ
ดวยสถานการณโรคและภัยสุขภาพที่สําคัญอื่น ๆ ในปจจุบันของประเทศไทยในขณะนี้ อันไดแก การระบาดของ
โรคไขเลือดออก โรคชิคุนกุนยา ปญหาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) ในชวงตนป ทั้งพ้ืนท่ีในเขต
กรุงเทพมหานครและปริมณฑลของทุกป สงู เกินคามาตรฐาน ซ่ึงสงผลกระทบตอสุขภาพของประชาชนในทุกกลมุ ทัง้ ระยะส้ัน
และระยะยาว เปนตน

จากการบังคับใชมาตรการในการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพ่ือลด
ผลกระทบตอประชาชน ในดานเศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคง สงผลกระทบในระยะยาวใหประชาชนตองดําเนินชีวิตบน
ฐานวิถีชีวิตใหมของคนในสังคม กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินจึงเห็นควรจัดทําโครงการสํารองชุดเวชภัณฑ
ปอ งกันโรคในสถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) เพื่อสํารองและสนับสนุนชุดเวชภัณฑปองกันโรคใหแก
ประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโรคและภัยสุขภาพท่ีสําคัญในสถานการณโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
สามารถดูแลสุขภาพตนเองเบื้องตนเม่ือมีอาการปวย และสําหรับใชในการรณรงคประชาสัมพันธในโอกาสตางๆ เพื่อให
ประชาชนเกิดความตระหนักในการปองกันตนเอง และไมตื่นตระหนกตอสถานการณโรคและภัยสุขภาพที่เกิดข้ึนบนฐาน
วิถีชีวิตใหมของคนในสงั คม

วัตถปุ ระสงค
เพื่อสํารองและสนับสนุนชุดเวชภัณฑปองกันโรคใหแกประชาชนที่ไดรับผลกระทบจากโรคและภัยสุขภาพที่สําคัญใน

สถานการณโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID-19) สามารถดแู ลสุขภาพตนเองเบ้ืองตนเม่อื มีอาการปวย และสําหรับใชใน
การรณรงคประชาสัมพันธในโอกาสตาง ๆ เพ่ือใหประชาชนเกิดความตระหนักในการปองกันตนเอง และไมต่ืนตระหนกตอ
สถานการณโรคและภัยสุขภาพท่ีเกิดขึน้ บนฐานวิถชี ีวติ ใหมของคนในสังคม

31

ผลการดาํ เนนิ งาน

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินดําเนินการจัดซื้อชุดเวชภัณฑปองกันโรคในสถานการณโรคติดเช้ือ

ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) จํานวนทัง้ สิ้น 20,000 ชุด ในเดือนสิงหาคม 2563 ชุดเวชภัณฑปองกันโรคในสถานการณ

โรคตดิ เชือ้ ไวรสั โคโรนา 2019 (COVID - 19) ประกอบดว ยยาและเวชภัณฑ จํานวน 9 รายการ ดงั น้ี

ลําดบั รายการ จํานวน หนว ยนบั

1. เจลทําความสะอาด แอลกอฮอล (alcohol) ความเขมขนไมนอยกวา 1 หลอด

รอยละ 70 ขนาด 50 - 60 กรมั

2. หนากากผามสั ลินสีขาว 3 ชั้น 3 ชิ้น

3. โลชน่ั ทากนั ยุง ขนาด 8 มลิ ลิลติ ร 3 ซอง

4. ยาน้ําแกไอ ขนาด 60 มลิ ลิลิตร 1 ขวด

5. ยานาํ้ บรรเทาปวด ลดไข พาราเซตามอล ขนาด 60 มลิ ลิลติ ร 1 ขวด

6. ยาเม็ดบรรเทาปวด ลดไข พาราเซตามอล ขนาด 500 มลิ ลิกรัม 30 เม็ด

7. ยาเม็ดแกแพ คลอรเฟนริ ามนี ขนาด 2 มลิ ลกิ รมั 30 เม็ด

8. ยาทารักษาโรคผวิ หนังจากผนื่ แพ ขนาด 5 กรัม 1 หลอด

9. ครมี บรรเทาปวด ขนาด 25 กรมั 1 หลอด

รูปแบบ : จดั เปน ชดุ บรรจใุ นรปู แบบกลอ งพลาสติก พมิ พตราสัญลักษณ กรมควบคุมโรค

กระจายใหแกหนวยงานในสังกัดกรมควบคุมโรค ไดแก สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 1-12 และสถาบันปองกัน

ควบคุมโรคเขตเมือง จํานวน 13 แหง แหงละ 1,000 ชุด และสํารองไวท่ีกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

จาํ นวน 7,000 ชดุ ดาํ เนนิ การจัดสงใหแกห นว ยงานตา ง ๆ แลว เสร็จ

ปญหาอุปสรรค
ระยะเวลาการรอตอบรับใบเสนอราคาจากหนวยงาน เน่ืองจากเปนรายการใหมที่ยังไมเคยมีการจัดซ้ือทําใหตองมี

ระยะเวลาการคิดคํานวณตนทุน จึงทาํ ใหไดรับใบเสนอราคาลา ชา สงผลตอการขออนุมตั ิจัดซื้อ

แนวทางแกไ ขปญหา
ประสานและติดตามอยา งใกลชดิ พรอ มท้ังรายงานใหผบู ริหารรบั ทราบ

12. โครงการเสรมิ สรางศกั ยภาพเครอื ขาย ในการจดั การภาวะฉุกเฉินดา นโรคและภยั สขุ ภาพในพนื้ ทีจ่ ังหวดั เขตเศรษฐกิจพเิ ศษ ป 2563

หลักการเหตผุ ล
ภายใตนโยบายของรัฐบาลไดกําหนดเขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษ มีวัตถุประสงคเพ่ือสรางฐานการผลิตเช่ือมโยงกับ

อาเซียน และพัฒนาเมืองชายแดน ประเทศไทยไดประกาศเขตเศรษฐกิจพิเศษระยะแรก 5 จังหวัดไดแก จ.ตาก จ.มุกดาหาร
จ.สระแกว จ.ตราด จ.สงขลา และระยะที่สอง 5 จังหวดั ไดแก จ.กาญจนบุรี จ.เชยี งรายจ.หนองคาย จ.นครพนม จ.นราธวิ าส
รวมท้ังส้ิน 10 จังหวัด ซึ่งการเกิดเขตเศรษฐกิจพิเศษจะนํามาซึ่งความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การคา การลงทุน และ
คาดวาจะมีประชากรที่เคลื่อนยายเขา-ออกในจังหวัดดังกลาวเพ่ิมข้ึน โดยเฉพาะนักทองเที่ยว การหลั่งไหลของแรงงานตางดาว
ซ่งึ จะสงผลตอผูรับบริการดานสาธารณสุขท่ีจะเพิ่มขึ้นในอนาคต นอกจากนก้ี ารขยายตัวของโรงงานอุตสาหกรรมซึ่งมีกิจการ
อุตสาหกรรมท่ีสงเสริมท้ังหมด 13 ประเภทในพื้นที่ หากระยะตอไปมีความกาวหนาของการลงทุนดานอุตสาหกรรมมากขึ้น

32

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จึงไดมีการจัดทํา "โครงการเสริมสรางศักยภาพเครือขาย ในการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินตานโรคและภัยสุขภาพในพื้นท่ีจังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ป 2563" เพ่ือพัฒนาศักยภาพของใหเครือขายในพ้ืนท่ี
จังหวัดเขตเศรษฐกิจ โดยในระยะเร่ิมตนไดกําหนดพ้ืนที่เปาหมายจํานวน 2 จังหวัดจาก 10 จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ อาทิ
จังหวัดเชียงรายและจังหวัดนราธิวาส ในการนํารองเสริมสรางศักยภาพและเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉิน
ตามสถานการณแ ละบริบทของพนื้ ท่ี ไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ

วัตถปุ ระสงค
เพื่อพัฒนาศักยภาพเครือขา ยพ้ืนท่ีจังหวดั เขตเศรษฐกิจพิเศษในการฝกซอมแผนรับมอื โรคและภัยสุขภาพเพื่อรองรับ

การปฏบิ ตั ิงานศูนยป ฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการเหตกุ ารณ กรมควบคุมโรค

ผลการดําเนนิ งาน
พัฒนาศักยภาพบคุ ลากรเครือขายดานการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใหเ ปนผูเช่ียวชาญเฉพาะดา นโรคและ

ภยั สุขภาพ ไดแก การฝกซอมแผนโรคและภัยสุขภาพในพืน้ ที่จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ กรณีโรคไขหวัด และโรคพิษสุนัขบา
แบบบูรณาการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของทุกภาคสวน ในการบริหารจัดการเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉิน ในพื้นท่ี
จังหวัดเขตเศรษฐกิจพิเศษ ดานพรมแดนเชียงของสะพานมิตรภาพไทย-ลาว (เชียงราย-บอแกว) เพ่ือเตรียมความพรอมของ
ระบบและกลไกในการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางดานการแพทยและสาธารณสุขของพ้ืนท่ี และการตอบโตภาวะฉุกเฉิน
ดานสาธารณสุขระหวางประเทศอยางบูรณาการระหวางหนวยงานท่ีเกี่ยวของ พบวา หนวยงานสวนใหญใหความรวมมือใน
การฝกซอมแผนโรคและภัยสุขภาพกรณีโรคไขหวัด และโรคพิษสุนัขบามีการดําเนินงานตามระบบบัญชาการณเหตุการณ
โดยกําหนดผูบัญชาการเหตุการณที่ชัดเจน กําหนดกลองภารกิจตามความเหมาะสมของสถานการณ ไดแก ดานการแพทย/
หนวยบริการ ดานตรวจคนเขาเมือง/ดานควบคุมโรค/คณะกรรมการชองทาง ดานสื่อสารความเส่ียง (Risk Communication)
หนวยควบคุมโรคในคน หนวยควบคุมโรคในสัตว หนวยควบคุมโรคสาธารณรัฐประชาธปิ ไตยประชาชนลาว (สปป.ลาว) และ
อํานวยการหนวยงานมีการแลกเปล่ียนขอมูล และรวมตัดสินใจในการกําหนดแนวทางในการปฏิบัติ รวมทั้งแสดงบทบาท และ
ทําหนาที่ที่ตนเองรับผิดชอบในการตอบโตภาวะฉุกเฉิน และประสานงานกับหนวยงานที่เก่ียวของเพื่อใหการตอบโตภาวะฉุกเฉิน
เปนไปตามแผนท่ีกําหนดไวเปนสวนใหญ ทั้งน้ีหนวยงานในอําเภอยังไมมีแผนการดําเนินงานท่ีชัดเจน ในที่ประชุมไดมี
ขอ เสนอแนะวา เห็นควรกําหนด Flow chart การดําเนินงานการประสานงานและผูรับผิดชอบของแตล ะหนว ยงานที่ชัดเจน เชน
ดานควบคุมโรค ดานศุลกากร สสอ. เทศบาล เปนตน และมีการผลักดันการทําแผนใหเปนไปแนวทางเดียวกัน ในสวนการ
ตอบสนองตอสถานการณสมมุติ สามารถปฏิบัติตามข้ันตอนแตยังคงตองมีการปรับแกไขในเชิงเทคนิคกระบวนการตาม
ขอเสนอแนะในแตละดานตอ ไป ในสวนการปฏิบัติการในพื้นท่ี มกี ารประสานแจงเตอื น และประสานประธานชองทางเปน ไป
ตามขนั้ ตอน แตล ะหนวยงานใหค วามรว มมอื เปน อยา งดี สามารถตอบสนองไดอยางรวดเร็วตามแนวทางการปฏิบัตขิ องพืน้ ที่

ปจจยั แหงความสาํ เร็จ
ผบู รหิ ารระดับสงู ใหความสาํ คญั และเปนนโยบายการพฒั นาระบบการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ปญหาอปุ สรรค
1. ในการดําเนินการซอมแผน การดําเนินงานดานตาง ๆ หนวยงานยังขาดการจัดทําเปนเอกสาร

โดยมีสวนประกอบ 3 อยาง ไดแก ข้ันตอนการสื่อสาร (SOP) แผนผังการส่ือสาร (Flow chart) และ บัญชี/ทําเนียบรายช่ือ
การติดตอ เชน รายช่ือหนวยงานท่ีเกี่ยวของ พรอมเบอรโทรติดตอท่ีมีการปรับปรุงใหเปนปจจุบันเปนประจํา พรอมท้ังระบุ

33

ผปู ระสานงานหลัก และผปู ระสานงานรองของท้งั หนวยงานในประเทศ และหนว ยงานประสานงานระหวางประเทศ ในกรณีที่
ตองดําเนินงานจริงใหชดั เจน รวมถึงการจดั ทําแผนการดําเนินงานในข้นั ตอนตาง ๆ

2. มีการปฏิบัติงานซํ้าซอนของการปฏิบัติงานท่ีเกิดขึ้น เชน ระบบการจัดหาบุคคล จัดหาทรัพยากรในการสนับสนุน
การทํางาน เปนตน

3. การปฏิบัติงานในการซอมแผนภาคสนามจริง ในบางสวนอาจจะยงั ไมสอดคลอ งกับเอกสารท่ีไดจดั ทาํ ไว
4. ขาดการประชาสัมพันธใหผูท่ีเกี่ยวของทราบรายละเอียดท้ังผูท่ีเกี่ยวของภายในหนวยงาน และนอกหนวยงาน
เพอื่ ความเขาใจที่ตรงกัน
5. ในการดาํ เนนิ งาน ยังขาดการจัดเตรียมความพรอมของเครื่องมือ และระบบการส่ือสารใหม คี วามพรอมทั้งชอ งทาง
หลักและชองทางสาํ รอง สามารถติดตอ สือ่ สารไดอ ยางมปี ระสิทธภิ าพ
6. การปฏิบัติงาน เนื่องจากตองประสานงานกับประเทศเพ่ือนบานดวย ยังขาดการใหขอมูลตางๆ ทั้ง 2 ภาษา
เพ่ือใหมีการปฏบิ ตั งิ านไดม ีประสิทธิภาพยง่ิ ขึน้
7. ขาดการทบทวนการปลอยรถพยาบาลฉุกเฉิน รถกูชีพ รถดับเพลิง ควรมีการประสานงานและกําหนดพ้ืนท่ีตาม
flow /เตรียมความพรอ มหมายเลขโทรศัพทข องผูมีสวนเก่ยี วของ เพ่อื ทําใหการส่อื สารสง่ั การไดทันทที ีต่ องการ

แนวทางแกไขปญหา
1. ในการดําเนนิ การซอมแผน การดาํ เนินงานดานตางๆหนวยงานควรจัดทําเปนเอกสาร โดยมีสวนประกอบ 3 อยา ง

ไดแก ขั้นตอนการส่ือสาร (SOP) แผนผังการส่ือสาร (Flow chart) และ บัญชี/ทําเนียบรายช่ือการติดตอ เชน รายช่ือ
หนวยงานท่ีเกี่ยวของ พรอมเบอรโทรติดตอท่ีมกี ารปรับปรุงใหเปนปจจุบันเปนประจํา พรอมทั้งระบผุ ูประสานงานหลัก และ
ผูประสานงานรองของทั้งหนวยงานในประเทศ และหนวยงานประสานงานระหวางประเทศ ในกรณีท่ีตองดําเนินงานจริงให
ชัดเจน รวมถงึ การจดั ทําแผนการดําเนินงานในขั้นตอนตา งๆ

2. มีการนําระบบการบัญชาการเหตุการณ (Incidence Command System) ซ่ึงเปนระบบมาตรฐานสากลมาปรับใช
ในการบัญชาการเหตุการณ ชว ยลดความซํ้าซอนของการทาํ งานท่ีเกิดขึ้น เชน ระบบการจดั หาบุคคล จัดหาทรัพยากรในการ
สนับสนนุ การทํางาน เปน ตน

3. การปฏบิ ัติงานในการซอมแผนภาคสนามจริง ในบางสวนอาจจะยังไมส อดคลอ งกับเอกสารทีไ่ ดจ ัดทําไวค วรปรบั เอกสารให
ตรงกับแนวทางโดยใชการปฏิบัตงิ านจริงเปนหลัก

4. ควรมีการประชาสัมพันธใหผูท่ีเกี่ยวของทราบรายละเอียดท้ังผูท่ีเก่ียวของภายในหนวยงาน และนอกหนวยงาน
เพอ่ื ความเขาใจทตี่ รงกนั

5. ในการดาํ เนนิ งาน ควรมีการจัดเตรียมความพรอ มของเคร่อื งมือ และระบบการส่ือสารใหมีความพรอมทั้งชองทาง
หลกั และชองทางสํารอง สามารถติดตอส่อื สารไดอยางมีประสทิ ธิภาพ

6. ควรจดั ทําเอกสาร หรือปายแจงเตือน 2 ภาษา เพ่ือใหม กี ารปฏบิ ัตงิ านไดมีประสทิ ธิภาพยิง่ ขึ้น
7. ทบทวนการปลอยรถพยาบาลฉุกเฉิน รถกูชีพ รถดับเพลิง ควรมีการประสานงานและกําหนดพื้นท่ีตาม flow /
เตรียมความพรอ มหมายเลขโทรศพั ทของผมู สี ว นเกีย่ วของ เพอ่ื ทําใหการสอื่ สารสั่งการไดทันทที ่ตี อ งการ

สิง่ ทีไ่ ดเรียนรจู ากโครงการ / ขอคนพบ
1. ควรเพม่ิ เตมิ การฝกซอมในเรื่องของการปองกันตนเองของเจา หนา ทผี่ ูป ฏบิ ตั ิงาน
2. หนว ยงานทีเ่ กย่ี วขอ งควรนําผลการฝกซอมแผนไปประยุกตใชในการปฏิบัติจริง

34

3. ในกระบวนการประสานงานจะตองมีผรู ับผิดชอบหลัก และมีการเช่ือมตอใหชดั เจนในทุกข้ันตอน
4. หนวยงานท่ีเกี่ยวของควรจัดทําแนวทางข้ันตอน (Flow Chart) ของหนวยงานในการเตรียมความพรอมตอบโต

สถานการณต างๆ ทอ่ี าจเกดิ ขน้ึ
5. ควรมีการฝกซอม ซักซอม ตรวจสอบ ทบทวน อยา งตอ เนื่อง เพ่ือการเตรียมความพรอ มการตอบโตภาวะฉกุ เฉนิ

35

สว นที่ 4 ผลงานสาํ คญั ที่ผานมา
ระยะการเตรยี มความพรอม

4.1 สรปุ สถานการณ กรณีโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
สถานการณท ่วั โลก
สถานการณโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ปจจุบันมีการแพรระบาดไปท่ัวโลกมีการรายงานผูปวยยืนยันท่ัวโลก

รวม 213 ประเทศ 1 เขตบริหารพิเศษ 1 นครรัฐ เรือ Diamond Princess เรือ Grands Princess และเรือ MS Zaandam
สถานการณ ณ วันท่ี 30 ก.ย. 63 พบผูติดเช้ือ จํานวน 33,875,113 ราย มีอาการรุนแรง 65,996 ราย เสียชีวิต 1,013,195 ราย
โดยประเทศท่ีมีจํานวนผูปวยยืนยัน 10 อันดับแรก ไดแก สหรัฐอเมริกา 7,406,729 ราย อินเดีย 6,229,474 ราย บราซิล
4,780,317 ราย รัสเซีย 1,176,286 ราย โคลัมเบีย 824,042 ราย เปรู 811,768 ราย สเปน 758,172 ราย เม็กซิโก 738,163 ราย
อารเจนตินา 736,609 รายและแอฟริกาใต 672,572 ราย สวนจีนเปนอันดบั ท่ี 44 มีจํานวนผูปวย 90,529 ราย (รวมฮองกง
5,080 ราย มาเกา 46 ราย ) จากสถานการณดังกลาวสงผลใหมีการจํากัดการทองเที่ยว การกักกัน การหามออกจาก
เคหสถานเวลาคํา่ คนื การยกเลิกการจัดงาน และการปด สถานศึกษา เปนตน
(ขอ มูล ณ วนั ที่ 30 กันยายน 2563 ) ทมี่ า : worldometers

สถานการณในประเทศ
สถานการณการระบาดของไวรัสโคโรนา 2019 ตั้งแตวันท่ี 3 มกราคม 2563 - วันท่ี 30 กันยายน 2563 ประเทศไทย
มผี ูปวยท่ีมีอาการตามนิยามเฝาระวังโรค 452,419 ราย แบงออกเปนคัดกรองผูเดินทางเขา-ออกระหวางประเทศ 3,126 ราย
เขารับการรักษาที่โรงพยาบาลดวยตนเอง 449,205 ราย อ่ืน ๆ 88 ราย มีผูติดเชื้อยืนยันสะสมทั้งสิ้น 3,569 ราย (ติดเชื้อ
ภายในประเทศ 2,445 ราย ติดเช้ือจากตางประเทศ 1,124 ราย กักกันในพื้นที่ท่ีรัฐกําหนด 631 ราย) หายปวยและแพทย
อนุญาตใหอ อกจากโรงพยาบาล 3,379 ราย อยรู ะหวางการรักษาพยาบาล 131 ราย เสยี ชีวติ 59 ราย
ผูปวยยืนยันโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ที่พบในประเทศไทย มีคามัธยฐานของอายุเทากับ 36 ป
(1 เดือน - 97 ป) เพศชาย 2,016 ราย เพศหญิง 1,553 ราย (ชาย:หญิง = 1.30:1) สัญชาติไทย 3,166 ราย สัญชาติอ่ืน ๆ
394 ราย และไมท ราบ 9 ราย มีประวัตโิ รคประจําตัว 213 ราย และไมมีโรคประจาํ ตัว 3,356 ราย
การสอื่ สารความเสี่ยงกับประชาชน
หลีกเลี่ยงการอยูในสถานท่ีท่ีผูคนพลุกพลาน หรืออยูในสถานท่ีที่การระบายอากาศเปนระบบปด เชน อยูในหอง
ประชุม ศูนยแสดงสินคา ศูนยการคา โรงภาพยนตร เปนตน หากหลีกเลี่ยงไมได ใหสแกนคิวอารโคด“ไทยชนะ” ทุกครั้งท่ี
เขา-ออกสถานที่ ใชหนากากอนามัยหรือหนากากผาตลอดเวลา และรักษาระยะหางไมนอยกวา1 - 2 เมตรหรือ 1 - 2 ชวง
แขน และใชเ วลาพบปะผอู น่ื ใหสั้นท่ีสุด รวมกบั ปฏิบัตติ นเพอื่ สุขลักษณะสว นตวั ไดแก
- หมัน่ ลางมือใหส ะอาดดวยนา้ํ และสบู หรอื แอลกอฮอลเ จล ไมนํามือมาสัมผัสตา จมูก ปาก โดยไมจ าํ เปน
- ไมใชของสวนตัวรวมกับผูอ่ืน (เชน ผาเช็ดหนา แกวนํ้า ผาเช็ดตัว) เนื่องจากเชื้อกอโรคทางระบบทางเดินหายใจ
สามารถเขาสูรางกายไดทางการสมั ผสั สารคัดหลงั่ ของผตู ดิ เชอ้ื
- รับประทานอาหารปรงุ สุกรอน
- สําหรับสถานที่ประกอบการอื่น ๆ นอกจากการทําความสะอาดพนื้ ผิวและการใสห นากากอนามัย หรือหนากากผา
ผูประกอบการตอ งจาํ กัดจํานวนการเขาใชบริการตามาตรการปอ งกันโรคตามทรี่ าชการกาํ หนดเพอ่ื ปองกนั การแพรร ะบาดของ
โรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019 และตรวจวดั อณุ หภมู ิของผูเขาใชบ ริการและประชาสัมพนั ธเ พื่อการสแกนคิวอารโ คด “ไทยชนะ”

36

- ประชาชน รวมกันเฝาระวังอาการไข และอาการระบบทางเดนิ หายในของคนในพ้ืนที่ รวมถึงคนตางดาวที่เพ่ิงเขา มาอยู
ในชมุ ชน ไดแ ก แรงงานตางดาว นกั ทองเที่ยว เปนตน เพ่ือเขารับการตรวจหาเช้อื ไวรัสโคโรนา 2019 และปองกันการแพรก ระจาย
ของเชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 ในชมุ ชน

- งดเวนการจางแรงงานผิดกฎหมาย หรือแรงงานตางดาวที่เดินทางเขามาในราชอาณาจักรไทยโดยไมไดรับอนุญาต
รว มกบั นายจา งสอดสอ งดูแลลูกจา งท่มี อี าการปว ยโรคทางเดินหายใจ

4.2 แผนงานการตอบโตภ าวะฉุกเฉิน
การรับมือกับการแพรร ะบาดของเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 ของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน มีการดําเนินการ

ภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค และใชระบบบัญชาการเหตุการณ (ICS) ในการดําเนินงานแบบกลองภารกิจ โดย
รบั ผิดชอบกลุมภารกิจจัดการศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (EOC Manager) มีบทบาทหนาที่ในการบริหารจัดการจัดตั้งศูนยบัญชาการ
เหตุการณภายใตระบบบัญชาการเหตุการณ ICS รวมถึงติดตอประสานงานกับกลุมภารกิจตางๆ ภายในศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
กรมควบคุมโรค มีการจัดทําสรุปรายงานขอสัง่ การ และติดตามผลการดําเนินงานของขอสง่ั การและการดาํ เนินงานภารกิจที่สําคัญตางๆ
พรอ มทง้ั สนับสนนุ การจดั ทําแผนเตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉิน ดังนี้

แผนเตรียมความพรอมฯ
1. จัดทําโครงสรา งระบบบญั ชาการณ (ICS) กรมควบคุมโรค
รองรับดา นโรคและภยั สขุ ภาพ

2. จัดทํารายงานการวิเคราะหและประเมินความเสี่ยงการเกิดโรค
และภัยสุขภาพ กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ป
พ.ศ. 2563

3. แผนบริหารความตอเน่ืองภารกิจ (BCP) กรมควบคุมโรค
ปงบประมาณ 2563

37

4. จดั ทาํ และสนบั สนุนหนว ยงานเพ่อื พัฒนามาตรฐานการ
ปฏบิ ัติงาน (Standard Operating Procedure : SOP) ของกลุม
ภารกจิ ตา งๆ กรมควบคมุ โรค จํานวน 10 กลมุ ภารกจิ ดงั น้ี
1. กลุมภารกจิ ตระหนักรสู ถานการณ
2. กลมุ ภารกจิ ยทุ ธศาสตรแ ละวิชาการ
3. กลมุ ภารกจิ ประสานงานและเลขานุการ
4. กลุมภารกิจปฏบิ ตั ิการสอบสวนควบคุมโรค
5. กลมุ ภารกจิ สื่อสารความเสี่ยง
6. กลมุ ภารกิจการดแู ลรักษาผปู วย
7. กลุมภารกจิ สาํ รองวัสดุ เวชภัณฑ และสงกําลงั บํารงุ
8. กลุมภารกิจกฎหมาย
9. กลุมภารกิจการเงนิ และงบประมาณ
10. กลมุ ภารกิจกาํ ลังคน

ระยะการตอบโต
4.3 การบรหิ ารจัดการศนู ยปฏิบัติการ กรณีโรคตดิ เช้อื ไวรสั โคโรนา 2019
ผูบริหารระดับสูงพิจารณายกระดับศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Activate EOC) และดําเนินการพิจารณาแตงต้ังผู

บัญชาการเหตุการณ (Incident Commander: IC) ท่ีมีความเหมาะสม พรอมท้ังแตงตั้งกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการ

เหตุการณ (Incident Command System: ICS) กลุมภารกิจดานการประสานงานและเลขานกุ าร (Liaison) ประสานหวั หนากลมุ

ภารกิจทีเ่ ก่ียวของเขารว มประชุมเพอ่ื วางแผนการดําเนินงานศูนยปฏิบตั ิการภาวะฉกุ เฉิน

โครงสรา งพื้นฐานรองรับการเปดศนู ยปฏิบัติการภาวะฉกุ เฉนิ (PHEOC./EOC) และระบบบญั ชาการเหตุการณ (ICS)
ศนู ยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (PHEOC./EOC) คือ สถานท่ีท่ีใชใ นการปฏิบัติงานรวมกันของกลุมภารกิจตางๆ ภายใต
ระบบบัญชาการเหตุการณ (ICS) เพื่อสนับสนุนการบริหารส่ังการ ประสานงาน แลกเปล่ียนขอมูลและทรัพยากรใหเกิดข้ึน
อยางรวดเร็วในภาวะฉกุ เฉนิ โดยจัดเตรยี มสถานที่และเทคโนโลยีสารสนเทศขน้ั พืน้ ฐาน 16 รายการ ดังนี้

หมวด วสั ดุ-อุปกรณ
สถานทปี่ ฏบิ ัตงิ าน 1. หองสําหรับการประชุมและบัญชาการเหตุการณฉุกเฉินทางสาธารณสุข จํานวน
ไมน อ ยกวา 20 ท่นี ่ัง
2. เครอ่ื งฉาย Projector/LCD และจอ LCD

3. คอมพวิ เตอรต ง้ั โตะ 5 เครื่อง

4. คอมพิวเตอรพกพา 2 เครื่อง

5. เครอื่ งสาํ รองไฟ 1 ตัว

6. ตสู ําหรับจดั เก็บเอกสารและอปุ กรณเฉพาะ 1 ตู

38

หมวด วัสดุ-อุปกรณ
1. แผนที่ พ้ืนที่ความรบั ผิดชอบจงั หวดั
อปุ กรณแ ละเทคโนโลยี 2. ชุดไวทบอรด หรอื ไวทบ อรด อิเลกทรอนคิ ส 1 ตวั
ในการประชมุ 3. ชดุ VDO Conference/Web 1 ชุด
4. อุปกรณกระจายสัญญาณอินเตอรเ น็ต L2 1 ตวั
อปุ กรณและเทคโนโลยี 5. อปุ กรณกระจายสัญญาณแบบไรสาย 1 ตวั
ในการสือ่ สาร ส่ังการ 1. เครอื่ งโทรศัพทภายใน 1 หมายเลข
และประสานขอมลู หมายเลข .............................................. (ระบุ)
2. เครอื่ งโทรศัพทสายตรง 1 หมายเลข (มือถือ)
หมายเลข .............................................. (ระบุ)
3. เคร่ืองรับ – สง FAX
หมายเลข .............................................. (ระบ)ุ
4. เครอ่ื งสแกนเอกสาร
5. ปริ้นเตอร 1 ตัว

บทบาทหนา ทขี่ องกลุมภารกิจตา งๆ ในระบบบัญชาการณ

1. ผูบญั ชาการเหตุการณ และรองผบู ัญชาการเหตกุ ารณ
- ตดิ ตามสถานการณ
- อาํ นวยการ ส่งั การ ควบคุม เรงรัด กํากบั และติดตามแกไขปญ หาในการตอบโตสถานการณ
- ลดระดบั ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินเมอ่ื เหตุการณเขา สภู าวะปกติ


Click to View FlipBook Version