The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานประจำปี64

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

รายงานประจำปี64

รายงานประจำปี64

2564

รายงานประจําป
¡Í§¤Çº¤ÁØ âäáÅÐÀÂÑ Ê¢Ø ÀÒ¾ã¹ÀÒÇЩ¡Ø ੹Ô



¤ํÒ¹Òํ

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน กรมควบคุมโรค ไดจัดทํารายงานประจําป 2564
มีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรผลการดําเนินงานประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 โดยนําเสนอ ขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับ
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน งบประมาณท่ีไดรับการจัดสรรและผลการเบิกจาย ผลการ
ดาํ เนินงานโครงการ ผลงานสาํ คญั ทผี่ า นมา รวมถงึ ภาพกจิ กรรม

จากการดําเนินงานในป 2564 ถึงแมจะมีปจจัยท่ีทาทายตอการดําเนินงานท้ังจากภายในและภายนอก
องคกร แตกองฯ สามารถนํางบประมาณมาดําเนินการในการเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินเพ่ือการ
ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ ซึ่งมีการพฒั นาทั้งดานนโยบาย งานวิชาการ และการบรกิ ารจัดการของศูนยปฏิบัติการ
ตอบโตภ าวะฉกุ เฉนิ กรมควบคมุ โรค ไดบรรลุวัตถุประสงค

ในการจัดทํารายงานประจําปฉบับนี้ ไดรับความรวมมืออยางดียิ่งจากผูบริหาร คณะทํางานจัดทํารายงาน
ประจําป 2564 ตลอดจนบุคลากรของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินในการใหขอมูลประกอบการ
จดั ทํารายงาน สงผลใหการจัดทํารายงานสําเร็จลุลวงดวยดี คณะผูจัดทําหวังเปนอยางย่ิงวา รายงานฉบับน้ีจะเปน
ประโยชนในการเรยี นรูกระบวนการดําเนนิ งานตอ ไป

คณะทํางานจดั ทาํ รายงานประจาํ ป 2564
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

กันยายน 2565

ÃÒ§ҹ»ÃШํÒ»‚ 2564 ¡Í§¤Çº¤ØÁâäáÅÐÀÂÑ Ê¢Ø ÀÒ¾ã¹ÀÒÇЩ¡Ø à©Ô¹

ที่ปรึกษา:

นายแพทยเ ฉวตสรร นามวาท ผูอ าํ นวยการกองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

นายแพทยเ จษฎา ธนกิจเจริญกุล รองผูอํานวยการกองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉิน

นายแพทยร ัฐพงษ บุรีวงษ รองผูอาํ นวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน

กองบรรณาธิการ

นางสธุ ดิ า วรโชติธนนั นกั วเิ คราะหน โยบายและแผนชาํ นาญการพิเศษ

นางสาวรุจริ า หม่นื ทอง นกั วเิ คราะหนโยบายและแผนชาํ นาญการ

นางสาวกษมา นับถอื ดี นกั วชิ าการสาธารณสุขชํานาญการ

นางสาวกิรณา เทวอักษร นักวิชาการสาธารณสขุ ชํานาญการ

นางสาวจริ าภรณ หนอใหม นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ

นางสาวปท มพร ประดษิ ฐเ ขียน นกั วิชาการสาธารณสขุ ปฏบิ ตั ิการ

นางสาวฐานติ า สมศรี นักทรัพยากรบุคคล

นางสาวปภชิ ญา สายสวาสด์ิ นักจัดการงานทั่วไป

จัดทําโดย

คณะทาํ งานจดั ทาํ รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน

โทรศพั ท : 02 590 3156, 02 590 3246 โทรสาร: 02 588 3767

E-mail: [email protected]

สามารถดาวนโหลดเอกสารไดท ี่ Website: https://ddc.moph.go.th/ddce

ÊÒúÞÑ หนา
1
สว นที่ 1 12
ขอมูลทว่ั ไปเกี่ยวกบั กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน
19
สว นที่ 2 46
งบประมาณท่ไี ดรบั การจัดสรร 51
และผลการเบิกจาย

สวนที่ 3
ผลการดําเนนิ งานโครงการ

สวนที่ 4
สถิตคิ าเปา หมายและผลการดําเนินงานตามตวั ชี้วัด

สว นท่ี 5
ภาคผนวก

ÊÇ‹ ¹·่Õ 1

¢ŒÍÁÅÙ ·ÇÑ่ ä»à¡Â่Õ Ç¡ºÑ
¡Í§¤Çº¤ÁØ âäáÅÐÀÂÑ ÊØ¢ÀÒ¾ã¹ÀÒÇЩء੹Ô

ʋǹ·่Õ 1 ¢ÍŒ ÁÙÅ·Ç่Ñ ä»à¡่ÕÂǡѺ¡Í§¤Çº¤ÁØ âäáÅÐÀÑÂ梯 ÀÒ¾

1. ประวตั ิความเปนมาของกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ

เนื่องจากปญหาโรคและภัยสุขภาพเปนปญหาที่สําคัญและมีแนวโนมที่จะทวีความรุนแรงมากข้ึน
อันเนื่องมาจากสภาพเศรษฐกิจและสังคมท่ีมีการแขงขันกันสูงรวมถึงสภาพแวดลอมท่ีเปล่ียนแปลงไป เชน
ภาวะโลกรอนเช้ือโรคกอตัวและเปลี่ยนแปลงสายพันธุตลอดเวลา ประกอบกับปญหาฉุกเฉินทางดานสาธารณสุข
เชน โรคที่เกิดจากภยั ธรรมชาติ สารเคมรี ะเบิดหรอื ร่ัวไหล การปนเปอ นรงั สีและนิวเคลยี ร ก็ทวีความรนุ แรงมากขึ้น
เชนกัน ดังน้ัน กรมควบคุมโรคในฐานะหนวยงานที่มีภารกิจในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
จึงจําเปนตองมีหนวยงานเฉพาะในการพัฒนานโยบาย ยุทธศาสตร มาตรการ และเทคโนโลยี เพื่อใหการเฝาระวัง
ปองกัน เตรียมความพรอ ม และควบคมุ ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ เปนไปอยางมีระบบและทันตอสถานการณข อง
โรคและภัยสุขภาพที่เปลี่ยนแปลงไป ฉะน้ัน อาศัยอํานาจตามความในมาตรา 32 แหงพระราชบัญญัติระเบียบ
บริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2534 และที่แกไขเพิ่มเติม กรมควบคุมโรคจึงมีคําสั่งกรมควบคุมโรคที่ 155/2561
ลงวันที่ 1 กุมภาพันธ 2561 ใหจัดตั้งกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินข้ึนเปนหนวยงานภายใน
เพื่อรองรับการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและมีฐานะเทียบเทากองในสังกัดกรมควบคุมโรค และตอมา
ดประกาศไวในราชกิจจานุเบกษา เลม 136 ตอนที่ 78 ก ลงวันที่ 20 มิถุนายน 2562 ภายใตกฎกระทรวง
แบงสวนราชการกรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุข กําหนดใหมีกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน
อยางเปนทางการ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 2

2. วสิ ัยทัศน พันธกจิ และบทบาทหนา ที่ของกองควบคมุ โรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน

วิสัยทศั น

“เปนผูนําในการขับเคลื่อนและพัฒนา
ระบบการจดั การภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสขุ ระดบั ประเทศ”

พนั ธกจิ 1. ชี้นํา กําหนดนโยบาย หรือมาตรการ ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสขุ ใหบรรลุวตั ถปุ ระสงคหรือตามเปา หมายท่กี าํ หนดไว

2. พัฒนาและขับเคลื่อนศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน และระบบ
บัญชาการเหตุการณ ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขให
เปนไปตามมาตรฐานสากล

3. ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนา และถายทอดองคความรูเ ทคโนโลยี และ
นวตั กรรมเกี่ยวกับการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ

4. สนับสนุน และประสานความรวมมือระหวางหนวยงานท่ีเกี่ยวของ
และภาคเี ครือขาย ในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 3

บทบาทหนาทก่ี องควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ

ศึกษา วิเคราะห วจิ ัย และพัฒนาองคความรแู ละเทคโนโลยี ตลอดจนจดั ทําระบบฐานขอมูล
เกยี่ วกบั การจัดการภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุขในขอบขา ยความรบั ผิดชอบของกรม

เปนศูนยกลางในการสงเสริม สนับสนุน และประสานงานทางดานวิชาการ เวชภัณฑและวัสดุ
อุปกรณในการเฝาระวัง ปองกัน เตรียมความพรอม และควบคุมภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขใน
ขอบขายความรบั ผดิ ชอบของกรม

เสนอแนะและพฒั นานโยบาย ยทุ ธศาสตร กฎหมาย มาตรการ และคุณภาพมาตรฐานการจัดการ
ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข

ถา ยทอดองคค วามรู เทคโนโลยี และนวตั กรรมการจดั การภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุขใหแ ก
หนว ยงานภาครฐั ภาคเอกชน องคก รปกครองสว นทองถิน่ และประชาชน

จัด ประสาน และพัฒนาระบบ กลไก และเครือขายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
รวมท้ังสอ่ื สัญญาณเตือนภัยการระบาดของโรคแกหนวยงานทเ่ี ก่ยี วของและสาธารณชน

ดําเนินการรวมกับหนวยงานท่ีเก่ียวของหรือองคกรปกครองสวนทองถ่ินในการจัดการภาวะ
ฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

เตรียมความพรอมรบั มอื ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุขในขอบขา ยความรับผดิ ชอบของกรม

จัดระบบงานตระหนักรูสถานการณและระบบการรายงานขาวกรองเพ่ือเตือนภัยและให
ขอเสนอแนะเชงิ นโยบายแกผ ูบรหิ าร

บรหิ ารจดั การศนู ยปฏบิ ัตกิ ารภาวะฉุกเฉนิ ของกรมท้ังในภาวะปกตแิ ละภาวะฉุกเฉนิ

ปฏิบัติงานรวมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของ หรือที่ไดรับ
มอบหมาย

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 4

3. ยทุ ธศาสตรใ นการดาํ เนนิ งาน กองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะ

ผังเช่อื มโยงแผนปฏบิ ัติการดา นการปอ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพขอ

ะฉกุ เฉนิ

องประเทศ แผนงานลดโรค/ภัยและเชิงระบบ กบั โครงการตามแผนแมบ ทฯ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 5

4. ลกั ษณะสาํ คญั ขององคก ร

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 6



รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 7

5. โครงสรา งของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน
กรมควบ

กองควบคมุ โรคและภยั

ผูอํานวย

กลมุ บริหารทัว่ ไป กลุมตระหนักรูส ถานการณ ก

• ศึกษา วิเคราะห พัฒนาระบบบริหารจัดการ • ติดตาม เฝาระวัง และประเมินสถานการณ • ทบ
ของหนว ยงาน ของโรคและภัยสุขภาพทั้ง ในภาวะปกติ และ ยุทธ
• ติดตามและประเมินการบริหารจัดการท่ัวไป ภาวะฉกุ เฉิน • ศึก
และสนับสนนุ การปฏิบตั ิงานตามภารกิจ • จัดทําสรุปรายงานเหตุการณและผลการ แผน
• รั บ ผิ ด ช อ บ ง า น ร ะ บ บ ค ว บ คุ ม ภ า ย ใ น ประเมินความเส่ียงของโรคและภัยสุขภาพท่ี ผเู กยี่
ระบบงานสารบรรณ งานการเจาหนาท่ี สําคัญท่ีอาจเกิดการแพรระบาดหรือสงผล • กํา
งานการเงินและบัญชี งานพัสดุและยานพาหนะ กระทบในวงกวาง ราช
และงานอาคารสถานที่ • จัดทําขอเสนอเพ่ือสถาปนาและยกระดับ ประ
ศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ใหผูบริหาร • พัฒ
พิจารณาตดั สนิ ใจ (PM
• เปนศูนยขอมูลกลางของการปฏิบัติการใน หนว
ภาวะฉุกเฉิน และประมวลขอมูลสารสนเทศ • ติด
ในศนู ยปฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉนิ รับร
• ประสานขอมูลกับทีมปฏิบัติการที่เกี่ยวของ • จัด
เพื่อใหศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน มีขอมูลท่ี หนว
รวดเร็วและทันเหตุการณ เพื่อใชในการ
ตดั สนิ ใจ

บคมุ โรค

ยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ

ยการกอง รองผูอาํ นวยการกอง

กลมุ ยุทธศาสตรแ ละพฒั นาองคก ร กลุมพฒั นาแผนรบั มือภาวะฉกุ เฉนิ และประเมนิ ผล

บทวนและจัดทําวิสัยทัศนพันธกิจ ประเด็น • จัดทําแผนเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
ธศาสตร และเปาประสงคของหนว ยงาน (contingency plan หรือ operational plan หรือ All-Hazards
กษา วิเคราะห จัดทาํ แผนยทุ ธศาสตร แผนงาน Plan)
นปฏบิ ัติราชการของหนว ยงาน และถา ยทอดให • ศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาองคความรูและเทคโนโลยี
ยวของนาํ ไปสกู ารปฏิบัติ เพ่อื พฒั นาแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ
ากับ ติดตามการดําเนินงานตามแผนปฏิบัติ • จั ด ทํ า แ ผ น เ ผ ชิ ญ เ ห ตุ ( Incident Action Plan: IAP)
ชการ บริหารแผนการใชจายงบประมาณ เพื่อการปฏิบัติงานในภาวะฉุกเฉิน รวมกับหนวยงานท่ี
ะจําป เก่ยี วขอ ง
ฒ น า คุ ณ ภ า พ ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ภ า ค รั ฐ • ประสานทีมงานผูเช่ียวชาญเพ่ือใหคําแนะนําดานวิชาการ
MQA) และพัฒนากลไกการดําเนินงานของ และยุทธศาสตร กับผูบัญชาการเหตุการณ และผูปฏิบัติงาน
วยงานใหเปนรปู ธรรม ในระบบบัญชาการเหตุการณ
ดตาม กํากับการดําเนินงาน ตัวชี้วัดตามคํา • พฒั นาหลักสูตรดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
รองการปฏบิ ตั ิราชการของหนว ยงาน สาํ หรับกรมควบคมุ โรค
ดทําแผนและพัฒนาศักยภาพบุคลากรของ
วยงาน

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 8

5. โครงสรางของกองควบคมุ โรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ (ตอ )
กรม

กองควบคมุ โรคแล

ผอู าํ

กลมุ ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข กลุมพัฒนาเครอื ข

• บริหารจัดการศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน (Emergency ภาวะฉกุ เฉินท
Operations Center: EOC) ระดบั กรมควบคมุ โรค ทั้งในภาวะปกติ
และภาวะฉุกเฉิน • พัฒนาระบบ และกลไกการป
• ปฏิบัติหนาท่ีเลขานุการ (Liaison) ของศูนยปฏิบัติการภาวะ ฉุกเฉินทางสาธารณสุข รวมกับ
ฉกุ เฉนิ ภายใตร ะบบบญั ชาการเหตกุ ารณ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสขุ
• สนับสนุนและอํานวยความสะดวกใหกับกลุมภารกิจตางๆภายใต • จัดทําแผนพัฒนาเครือขายให
ระบบบญั ชาการเหตุการณ ฉกุ เฉนิ ไดต ามระบบบญั ชาการเห
• ส่ือสารขอส่ังการทั้งในภาวะปกติ และภาวะฉุกเฉนิ ไปยังหนว ยงาน • พฒั นาศักยภาพ และถายทอด
ที่เก่ียวของ และตดิ ตามผลการปฏิบัติงานตามขอ ส่งั การ การจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธ
• กํากับติดตาม และประเมินสมรรถนะของศูนยปฏิบัติการภาวะ ภายในและภายนอกกรมควบคุม
ฉุกเฉินและเครือขาย ตามกรอบแนวทางของ EOC Assessment • ฝก ซอ มแผนรับมอื โรคและภัยส
tool • รวบรวม วิเคราะหและจัดเตรีย
ความรวมมือกบั องคก ร/เครอื ขา ย
• ประสานงานในการศึกษาดูงาน
จดั การภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณ

มควบคุมโรค

ละภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน

านวยการกอง รองผูอํานวยการกอง

ขา ยดา นการจดั การ กลุมจัดการคลังเวชภัณฑ ทรพั ยากรและ
ทางสาธารณสขุ
สง กาํ ลังบาํ รุง
ระสานงาน เพ่ือการจัดการภาวะ
บเครือขายภายในและภายนอก • พัฒนาระบบบริหารจัดการคลังเวชภัณฑ ทรัพยากรและสงกําลัง
บํารงุ ในภาวะฉกุ เฉิน
หสามารถดําเนินงานรับมือภาวะ • จัดทําแผนสํารองเวชภัณฑอุปกรณทางการแพทย ทรัพยากรที่
หตุการณ สาํ คญั และจาํ เปนสาํ หรบั สถานการณฉุกเฉนิ
ดองคความรูใ นการเตรียมพรอ มตอ • จัดเตรียม จัดหา และจัดเก็บ เวชภัณฑอุปกรณทางการแพทย
ธารณสุข ใหหนวยงานเครือขา ยทั้ง ทรัพยากรท่ีสําคัญและจําเปนเพ่ือสนับสนุนปฏิบัติการทาง
มโรค การแพทยและสาธารณสุขในภาวะฉุกเฉนิ
สขุ ภาพรวมกบั หนว ยงานเครือขาย • ประสานงานกับหนว ยงานท่ีเกี่ยวของเพ่ือใหม ีการสํารองเวชภัณฑ
ยมขอมูลสําหรับการประสานงาน อปุ กรณทางการแพทย และทรัพยากรตางๆ ตามแผนท่ีกาํ หนดไว
ยตา งประเทศ • เปนศูนยกลางในการกระจายและจัดสงเวชภัณฑและอุปกรณ
นของหนวยงานเครือขายดานการ ทางการแพทยไปยงั พ้ืนทีเ่ ปาหมายในภาวะฉกุ เฉนิ
ณสุข • ติดตามประเมินผลการใชเวชภัณฑอุปกรณทางการแพทยและ
ทรพั ยากรในภาวะฉกุ เฉิน เพ่ือการบริหารจัดการ ที่มปี ระสทิ ธิภาพ

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 9

รายนามผูอาํ นวยการกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ จากอดตี ถงึ ปจจบุ ัน

นายแพทยก ติ ติพ์ งศ สัญชาตวริ ฬุ ห

ดาํ รงตาํ แหนง 1 กุมภาพันธ 2561 – 1 มิถนุ ายน 2561

นายสตั วแพทยพรพิทกั ษ พนั ธหลา

ดํารงตําแหนง 1 มิถุนายน 2561 – 14 ธันวาคม 2563

นายแพทยเ ฉวตสรร นามวาท

ดาํ รงตําแหนง 14 ธันวาคม 2563 – ถงึ ปจจบุ ัน

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 10

¤³Ð¼ºŒÙ ÃËÔ ÒÃ
¡Í§¤Çº¤ØÁâäáÅÐÀÑÂÊØ¢ÀÒ¾ã¹ÀÒÇЩ¡Ø ੹Ô

นายแพทยเ ฉวตสรร นามวาท
ผูอาํ นวยการกองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉิน

นายแพทยเ จษฎา ธนกิจเจริญกลุ นายแพทยรัฐพงษ บุรีวงษ
รองผูอ ํานวยการ รองผูอํานวยการ

นางสาวรชั นวี รรณ ศรทั ธาคลงั นางสุธดิ า วรโชตธิ นนั นางอัญชลี สทิ ธชิ ัยรตั น
หวั หนา กลุมบรหิ ารทว่ั ไป หัวหนากลุมยุทธศาสตรและพัฒนาองคกร หวั หนา กลมุ พัฒนาแผนรับมือภาวะฉุกเฉิน

นางสาวศิณีนาถ กลุ าวงศ นางสาวประภาพร สมพงษ นางคัดคนางค ศรีพฒั นะพพิ ฒั น
หัวหนากลมุ ตระหนกั รสู ถานการณ หัวหนา กลมุ ศูนยป ฏบิ ตั ิการภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ หัวหนากลมุ จดั การคลงั เวชภัณฑ ทรพั ยากรและสงกําลงั บาํ รงุ

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 11

ÊÇ‹ ¹·Õ่ 2

§º»ÃÐÁÒ³·Õä่ ´ÃŒ ºÑ ¡Òè´Ñ ÊÃÃ
áÅмšÒÃàºÔ¡¨‹ÒÂ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 12

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 13

ÊÇ‹ ¹·Õ่ 2 §º»ÃÐÁÒ³·Õ่ä´ŒÃºÑ ¡Òè´Ñ ÊÃà áÅмšÒÃàº¡Ô ¨

1. งบประมาณที่ไดรบั การจัดสรรและผลการเบกิ จา ย ยอนหลงั ปง บประ

รายการ ปง บประม
10,330,
ภาพรวม 3,276,2
งบบคุ ลากร 125,50
งบลงทนุ 6,686,8
งบดําเนินงานโครงการ 121,50
งบข้นั ต่ํา ภารกจิ ประจํา 120,0
งบสาธารณูปโภค

¨Ò‹ Â

ะมาณ 2562 – 2564

มาณ 2562 งบประมาณทไ่ี ดร บั จัดสรร (บาท) ปง บประมาณ 2564
,000.00 20,238,000.00
200.00 ปง บประมาณ 2563 6,923,900.00
00.00 51,001,200.00 7,227,900.00
800.00 6,482,100.00 5,007,200.00
00.00 37,688,100.00 999,000.00
000.00 6,259,000.00 80,000.00
492,000.00
80,000.00

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 14

2. งบประมาณทไี่ ดรบั การจัดสรรและผลการเบกิ จาย ประจําปง บ

งบประมาณ งบประมาณทไ่ี ดร บั จดั สรร งบประมาณห
(บาท) เปลยี่ นแปลง
ภาพรวม 20,238,000.00
6,923,900.00 14,0
งบบคุ ลากร 7,227,900.00 4,6
904,300.00
งบลงทุน 5
• กจิ กรรมหลักท่ี 2.1 พัฒนาระบบบริหาร 6,323,600.00
7,9
จดั การเพ่อื สนับสนนุ การดําเนินงานเฝา ระวัง 5,007,200.00 1,
ปองกัน ควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพ 750,600.00

• กิจกรรมหลักท่ี 8.1 พัฒนาระบบการ 1,217,000.00
จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอยาง
ครบวงจรและบรู ณาการ

งบดําเนนิ งานโครงการ
• กจิ กรรมหลกั ที่ 1.1 พฒั นาและสนบั สนุน
กระบวนการจัดทําผลิตภัณฑและจัดการ
ค ว า ม รู ข อ ง ห น ว ย ง า น เ พ่ื อ ก า ร เ ฝ า ร ะ วั ง
ปอ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพ
• กิจกรรมหลักท่ี 2.2 เสริมสรางศักยภาพ
พัฒนาความรวมมือและสรางการมีสวนรวม
ของเครือขายในการเฝา ระวัง ปองกัน ควบคุม
โรคและภัยสขุ ภาพ

บประมาณ 2564

หลงั โอน งบประมาณที่เบิกจา ย (บาท) คงเหลือ รอยละการเบกิ จา ย
ง (บาท) (บาท)
99.19
067,842.32 13,953,336.37 114,505.95 100.00
100.00
623,551.32 4,623,551.32 -
-
518,000.00 518,000.00 -
- - -

518,000.00 518,000.00 - 100.00

927,376.00 7,815,881.94 111,494.06 98.59
,063,600.00 1,049,999.91 13,600.09 98.72

547,661.00 540,140.04 7,520.96 98.63

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 15

2. งบประมาณทีไ่ ดรบั การจดั สรรและผลการเบกิ จา ย ประจาํ ปง บ

งบประมาณ งบประมาณท่ไี ดรับจัดสรร งบประมาณห
(บาท) เปล่ียนแปลง
• กิจกรรมหลักที่ 8.1 พัฒนาระบบการ 2,399,600.00
จัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขอยางครบ 6,
วงจรและบรู ณาการ 640,000.00
88
• กิจกรรมหลักที่ 10.1 พัฒนาสมรรถนะชอง 999,000.00 88
ทางเขาออกระหวางประเทศและจังหวัด 999,000.00 11
ชายแดน เพื่อรองรับเขตพัฒนาเศรษฐกิจ
พิเศษ 80,000.00

งบขัน้ ต่าํ ภารกจิ ประจํา

• กิจกรรมหลักที่ 17.1 คาใชจายบุคลากร
ในการเฝาระวัง ปองกัน ควบคุมโรคและภัย
สุขภาพ

งบสาธารณปู โภค

บประมาณ 2564 (ตอ )

หลงั โอน งบประมาณทีเ่ บิกจาย (บาท) คงเหลอื รอ ยละการเบกิ จา ย
ง (บาท) (บาท)

,206,010.00 6,115,636.99 90,373.01 98.54

110,105.00 110,105.00 - 100.00

85,915.00 885,915.00 - 100.00
85,915.00 885,915.00 - 100.00

13,000.00 109,988.11 3,011.89 99.82

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 16

สดั สวนงบประมา

0
5%
25%
36%

งบบุคลากร งบลงทุน งบดําเนินงานโครงก

าณทีไ่ ดรบั จัดสรร

0.15 %
34%

การ งบข้นั ตํา่ ภารกิจประจํา งบสาธารณปู โภค

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 17

3. งบดําเนนิ งานโครงการ กองควบคมุ โรคและภยั สขุ ภาพในภาว

รายการ

กิจกรรมหลกั ที่ 1.1
1. โครงการพัฒนาองคกรสคู วามเปนเลิศ ประจาํ ปง บประมาณ 2564
2. โครงการบริหารจัดการทรพั ยากร ปงบประมาณ 2564
กิจกรรมหลักท่ี 2.2
1. โครงการพฒั นาระบบการจดั การภาวะฉกุ เฉิน ดานแผนรับมือภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข
2. โครงการพฒั นาสมรรถนะเครือขายในการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ ของหนวยงานระดบั
กจิ กรรมหลักที่ 8.1
1. โครงการเสริมสรางความเข็มแข็งของศูนยป ฏิบตั ิการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนวยงานร
2564
2. โครงการพัฒนาระบบตระหนักรสู ถานการณในภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข ปง บประมาณ 2564
3. โครงการพัฒนาการเตรยี มความพรอมดานการบริหารจดั การคลังเวชภัณฑท รัพยากร และสงกาํ ล
ฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข
4. โครงการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค กรณีโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 201
2564
(นอกแผนปฏบิ ัตริ าชการ)
กิจกรรมหลกั ท่ี 10.1
1. โครงการเสริมสรา งศักยภาพเครือขา ย ในการจดั การภาวะฉุกเฉินดา นโรคและภยั สุขภาพในพื้นที่จ
พเิ ศษ ป 2564

วะฉกุ เฉิน ปง บประมาณ 2564 เบิกจา ยงบประมาณ คงเหลือ คดิ เปน
(บาท) รอ ยละ
งบประมาณ (บาท)
(บาท)

50,000.00 47,373.60 2,626.40 94.75
1,013,600.00 1,002,626.31 10,973.69 98.92

354,597.00 347,076.04 7,520.96 97.88

บพื้นท่ี 193,064.00 193,064.00 0.00 100.00

ระดับชาติ ปงบประมาณ 309,161.00 292,574.60 16,586.40 94.64

ลังบํารงุ เพ่ือรองรบั ภาวะ 1,130,850.00 1,127,603.57 3,246.43 99.71
150,492.00 150,357.00 135.00 99.91

19 ประจําปงบประมาณ 4,615,507.00 4,545,101.82 70,405.18 98.47

จงั หวดั เขตเศรษฐกิจ 110,105.00 110,105.00 0.00 100.00

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 18

ÊÇ‹ ¹·่Õ 3

¼Å¡ÒôÒํ à¹¹Ô §Ò¹â¤Ã§¡ÒÃ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 19

ʋǹ·่Õ 3 ¼Å¡ÒôํÒà¹¹Ô ¡ÒÃâ¤Ã§¡ÒÃ

1. โครงการพฒั นาองคกรสคู วามเปนเลิศ ประจําปงบประมาณ 2564

หลกั การและเหตุผล
การบริหารราชการแผน ดนิ ในยคุ ปจ จบุ นั ประเทศไทย 4.0 ภาคราชการ ไดนําหลกั การบรหิ ารราชการตาม

แนวทางการบริหารจดั การภาครัฐแนวใหม (New Public Management) ที่ใหความสําคัญกับการพัฒนาองคการ
ภาครัฐทุกระดับ ใหเปนองคการท่ีมีการบริหารจัดการในเชิงยุทธศาสตร (Strategic Management) ตามความใน
มาตรา 3/1 แหงพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผนดิน พ.ศ. 2545 และรายละเอียดของแนวทางการ
ดําเนินงานในพระราชกฤษฎีกาวาดวยหลักเกณฑและวิธีการบริหารกิจการบานเมืองท่ีดี พ.ศ. 2546 ที่กําหนดให
องคการภาครัฐทุกแหงตองจัดใหมีการกําหนดยุทธศาสตรการดําเนินงานและตัวช้ีวัดความสําเร็จท่ีสอดคลองกับ
แผนการบริหารราชการแผนดินและนโยบายของรัฐบาล พรอมทั้งจัดใหมีการจัดทําคํารับรองการปฏิบัติราชการ
ประจําป มีการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ พรอมการกํากับติดตอประเมินผล กรมไดดําเนินงาน
พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐมาอยางตอเน่ือง โดยประยุกตแนวคิดมาจาก TQA (Thailand Quality
Award) นํามาปรับใหส อดคลอ งกับระบบราชการเรยี กวา PMQA (Public Management Quality Award) จะนํา
กรอบการปฏิบัติงานตามแนวคิดพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 (PMQA 4.0) โดยมีวัตถุประสงค
เพ่ือใหสอดคลองและเปนแนวทางใหหนวยงานภาครัฐพัฒนาไปสูระบบราชการ 4.0 เนนการดําเนินงานเชิงรุก
(Proactive) การบูรณาการกับทุกภาคสวน การสรางนวัตกรรม องคความรู ตลอดจนรองรับการเขาสูยุคดิจิทัล
เพ่ือเชื่อมโยงยุทธศาสตรของสวนราชการกับเปาหมายและทิศทางการพัฒนาของประเทศ กรอบการประเมิน
PMQA 4.0 มีทง้ั หมด 7 หมวด โดยหมวด 1 – 6 ซง่ึ เปน หมวดกระบวนการ สําหรบั หมวด 7 ผลลพั ธก ารดาํ เนนิ การ
เพื่อใหสวนราชการมีการพัฒนาในมิติ ดานประสิทธิผล มิติดานคุณภาพการใหบริการ มิติดานประสิทธิภาพ และ
มิติดานการพฒั นาองคการอยางเปน รูปธรรม

กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาองคกรสูความเปนเลิศ
ปง บประมาณ 2564” ข้ึน เพ่ือวางแผนพัฒนาองคการใหสอดรับกับนโยบายทั้งในระดบั กรม ระดับกระทรวง และ
ระดับประเทศ ใหมีแนวทางในการปรับปรุงองคกร คนหาชองวางในการพัฒนาตอยอด พรอมท้ังยกระดับองคการ
ดานการบริหารจัดการภาครัฐในทุกหมวด ใหเกิดผลลัพธการดําเนินงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล นําไปสู
การเปนองคกรทมี่ ีความเปน เลิศดานคุณภาพการบรหิ ารจัดการตอ ไป

วัตถุประสงค : เพื่อยกระดับคุณภาพการบริหารจัดการของหนวยงานตามแนวทางพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการภาครัฐ (PMQA 4.0)

ระยะเวลาดําเนนิ โครงการปง บประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 20

ประโยชนทคี่ าดวา จะไดร บั :

1.กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ ไดรบั การยกระดบั ตามแนวทางการเกณฑคุณภาพการบรหิ าร
จดั การภาครัฐ (PMQA) ผานเกณฑที่กําหนดนําไปสูการเปนองคกรแหงความเปนเลศิ

2. บคุ ลากรของกองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ ไดร บั การพฒั นาทกั ษะและประสบการณทั้งใน
ดา นวิชาการและบรหิ ารจัดการใหมีคุณภาพในการทาํ งานดียิ่งขึน้ และมีความสุขในการทาํ งาน

กิจกรรมท่ีดําเนินการ : กิจกรรมที่ 1 พัฒนาแผนงานพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
อยางครบวงจรและบรู ณาการ

กิจกรรมที่ 2 พัฒนากิจกรรมเพื่อบรรจุในแผนงานยุทธศาสตรและแผนงานบูรณา
การกรมควบคมุ โรค

กจิ กรรมท่ี 3 จัดทําแผนขบั เคลื่อนกิจกรรมปฏิรปู ที่จะสงผลใหเ กิดการเปลี่ยนแปลง
ตอ ประชาชนอยางมนี ัยสําคญั (Big Rock)

กจิ กรรมที่ 4 จัดทําแผนปฏิบตั ิราชการประจําปของหนว ยงาน
กิจกรรมท่ี 5 พัฒนาตัวช้ีวัดตามกรอบคํารับรองการปฏิบัติราชการกรมควบคุมโรค
และกรอบอืน่ ๆทเ่ี กีย่ วขอ ง
กิจกรรมท่ี 6 ดูแลกํากับการดําเนินงานตามตามตัวชว้ี ดั ของหนวยงาน
กิจกรรมที่ 7 พัฒนาองคก รตามแนวทางPMQA
กจิ กรรมที่ 8 จดั กิจกรรมสงเสริมความผาสุกในองคก ร
กจิ กรรมที่ 9 จดั ทําแผนพัฒนาบคุ ลากรและสงบุคลากรเขารับการอบรมตามแผน
กจิ กรรมท่ี 10 ติดตามกํากับการดําเนนิ งานตามแผนปฏิบัติราชการ รวมถึงแผนการ
เบิกจา ยงบประมาณใหเ ปนไปตามเปาทกี่ าํ หนด

ผลการดําเนินงาน : มีการจัดประชุมราชการเพื่อพิจารณารวมท้ังการปรึกษาหารือ ติดตามผลการดําเนินงาน
ภาพรวมของหนวยงาน จากการประชุมหนวยงานมีการดําเนินงานในการจัดทําแผนปฏิบัติราชการ ตัวช้ีวัดคํา
รับรองการปฏิบัติราชการ การปฏิบัติงานตามแนวคดิ พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ 4.0 (PMQA 4.0)
ทั้ง 7 หมวด แผนงานโรค จุดเนนการดําเนินงานตามนโยบายของกรมควบคุมโรคและมีการจัดทําแผนขับเคล่ือน
กิจกรรมปฏิรูปที่จะสงผลใหเกิดการเปลี่ยนแปลงตอประชาชนอยางมีนัยสําคัญ (Big Rock) ซ่ึงจากการประชุม
ดังกลาว หนวยงานมีการดําเนินงานตามแผนงานที่วางไว สงบุคลากรของหนวยงานเขารวมกิจกรรมพัฒนา
โปรแกรมพเี่ ล้ียง Mentoring Program (Mentor – Mentee) จาํ นวน 2 คู ดังน้ี

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 21

1. หัวขอ “พัฒนางานการเงินและบัญชี กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน” ผลการ
พฒั นาสามารถเขา ใจกระบวนการทาํ งานการเงินและบญั ชี และนําไปปฏิบตั ิงานไดอยางมีประสทิ ธภิ าพ

2. หัวขอ “พัฒนาแผนงานและงบประมาณ กองครฉ.” ผลการพัฒนาสามารถดําเนินการบริหารแผน
งบประมาณของกองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ ไดอยางถกู ตอ ง

กิจกรรมสงเสริมการพัฒนาและขับเคลื่อนองคกรแหงความสุข ของหนวยงาน โดยกองควบคุมโรคและภัย
สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ มกี ารขบั เคลอ่ื น ดังน้ี ดานบุคลากรเปนคนดี มีคณุ ธรรม จริยธรรม, ดา นบุคลากรมีความสุข
เกิดความผูกพันตอองคกร และดานองคกรสรางสุข ผลสําเร็จของการจัดกิจกรรม พบวามีการดําเนินงานกิจกรรม
ครอบคลุมทัง้ 3 ดา น บคุ ลากรของหนว ยงานใหค วามรว มมือในการดําเนินงาน

2. โครงการบรหิ ารจัดการทรัพยากร ปง บประมาณ 2564

หลักการและเหตุผล :
กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน เปนหนวยงานภายใตสังกัดกรมควบคุมโรคที่มีภารกิจในการ

ติดตามเฝาระวัง วิเคราะหประเมินสถานการณโ รคและภัยสขุ ภาพ การบริหารจัดการคลังเวชภณั ฑ ทรัพยากรและ
สงกําลังบํารุง สรุปรายงานเหตุการณและผลการวิเคราะหความเส่ียงท่ีสําคัญ เพื่อรายงานเหตุการณเรงดวนให
ผูบริหารทราบ พรอมทั้งเปนศูนยประสานขอมูลทั้งในระดับสวนกลาง ระดับสวนภูมิภาค ระดับเขต/จังหวัด ภาคี
เครือขาย และทีมปฏิบัติงานภาคสนามรวมถึงเปนศูนยขอมูลกลางการปฏิบัติการในภาวะฉุกเฉินที่ตองสามารถ
จัดการขอมูลไดอยางถูกตองและรวดเร็วมากที่สุด รวมไปถึงการศึกษา วิเคราะห วิจัย พัฒนาองคความรู
และเทคโนโลยี ตลอดจนจดั ระบบฐานขอมูลเก่ียวกับการจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข เปนศูนยกลางในการ
สงเสริม สนับสนุน และประสานงานทางดานวิชาการ เวชภัณฑ และวัสดุอุปกรณในการเฝาระวัง ปองกัน เตรียม
ความพรอ ม และควบคมุ ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสขุ บริหารการจดั การศูนยปฏบิ ตั ิการภาวะฉุกเฉิน (Emergency
Operations Center: EOC) และระบบบัญชาการเหตุการณของกรม ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน
จึงจําเปนตองมีการเตรียมความพรอมในการพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข และมีศูนย
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน รวมท้ังการสนับสนุน งบประมาณเพื่อการดําเนินงานของบุคลากร เพื่อใหบรรลุ
วัตถุประสงคในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขไดอยางรวดเร็ว รวมท้ัง การพัฒนาคุณภาพการบริหาร
จัดการองคกร เปนไปตามนโยบายของรัฐบาลท่ีใหสวนราชการ พัฒนาขีดสมรรถนะ เพื่อเปนกลไกสําคัญในการ
พัฒนาประเทศ มาตรฐานการพัฒนาระบบราชการไทย ท่ีมุงเนนการบริหารแบบมุงผลสัมฤทธ์ิ และขับเคลื่อนให
การดําเนินงานตามแผนยุทธศาสตรทั้งระดับหนวยงานและกรมควบคุมโรค ใหบรรลุเปาหมาย กองควบคุมโรค
และภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินเล็งถึงความสําคัญจึงไดจัดทํา “โครงการบริหารจัดการทรัพยากร ปงบประมาณ
2564” ข้ึนเพื่อสนับสนุนการดําเนินงานของกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน ใหบรรลุวัตถุประสงค
ในดานตา ง ๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 22

วตั ถุประสงค : 1. เพ่ือบริหารจัดการทรพั ยากรของหนวยงานใหม ปี ระสทิ ธภิ าพ
2. เพือ่ พฒั นาและปรบั ปรงุ การบริหารจัดการทรัพยากรของหนว ยงานใหมปี ระสทิ ธิภาพ

ระยะเวลาดาํ เนนิ โครงการปงบประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64
ประโยชนทค่ี าดวาจะไดร ับ :

1. การดําเนนิ งานของกองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉินใหม ีความคลองตวั และรวดเรว็
2. ลดคา ใชจ า ยในการจดั ซื้อ
3. การบรหิ ารจัดการเปนระบบมากขนึ้
กิจกรรมที่ดําเนนิ การ :
กจิ กรรมท่ี 1 ดาํ เนินงานตามระบบราชการดา นงานสารบัญ งานพัสดแุ ละยานพาหนะ งานการเงนิ และบัญชี
งานการเจาหนาท่ี
กิจกรรมท่ี 2 จัดหาวัสดุ ครุภัณฑสํานักงานรวมถึงซอมแซม จัดการงบประมาณของหนวยงาน เชน
คาตอบแทนปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ คาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติราชการ คาขนสง คานํ้ามัน
คา ธรรมเนยี มผานทางพเิ ศษ คาตอบแทนกรรมการ
กิจกรรมที่ 3 จัดหาแบบจางเหมาและดูแลกํากับการเชาเคร่ืองถายเอกสาร การดูแลเคร่ืองปรับอากาศ
การปฏิบตั ิงานของพนกั งานขับรถยนต
กิจกรรมท่ี 4 ดูแลและกํากับการจัดประชุมประจําเดือนของหนวยงาน การประชุมคณะกรรมการบริหาร
หนวยงาน การประชุมของคณะกรรมการชดุ ตา ง ๆ
ผลการดําเนินงาน : มีการดําเนินงานสนับสนุนการดําเนินงานของหนวยงาน ไดแก การจัดซื้อวัสดุสํานักงาน
และวัสดุคอมพิวเตอรเพื่อใชในการปฏิบัติราชการของหนวยงาน การจางเปล่ียนไสกรองเคร่ืองกรองนา้ํ ด่ืมและลาง
ทาํ ความสะอาดตูนํา้ เยน็ ซอมแซมเคร่ืองปรับอากาศ ซอมแซมรถยนตร าชการ ซงึ่ เสื่อมสภาพจากการใชงาน จัดซื้อ
นํ้ามันเช้ือเพลิง การเบิกจายคาใชจายในการเดินทางไปปฏิบัติราชการ และคาธรรมเนียมผานทางพิเศษของ
บุคลากร คาเชาเครื่องถายเอกสารประจําเดือน การบํารุงดูแลรักษา ลางทําความสะอาดเครื่องปรับอากาศ
ของหนวยงาน จํานวน 30 เคร่ือง การประชุมการติดตาม กํากับ การดําเนินงาน กรรมการบริหารและภาพรวม
ของหนวยงาน การจางเหมาพนักงานขับรถยนตเพ่ือสนับสนุนภารกิจของหนวยงาน การจายคาตอบแทน
ปฏิบตั ิงานนอกเวลาราชการสําหรับเจาหนาท่ี รวมถงึ คาตอบแทนกรรมการ ผคู วบคุมงานสําหรบั งบลงทุนประจําป
งบประมาณ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 23

3. โครงการพฒั นาระบบการจัดการภาวะฉกุ เฉนิ ดานแผนรบั มอื ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

หลกั การและเหตุผล :
การเกิดโรคและภัยสุขภาพในปจจุบันสงผลกระทบตอความม่ันคงในชีวิตประชาชนและเศรษฐกิจ

ของประเทศ โดยที่โรคหรือภยั สุขภาพที่เกิดขึน้ สามารถแพรร ะบาดขยายเปนวงกวางสพู ้ืนที่อ่ืน ทําใหต อ งจํากดั การ
เคล่ือนที่ของผูคนและสินคา เกิดเปนภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่เปนอันตรายตอชีวิตประชาชน นอกจาก
ภัยธรรมชาติและอุบัติภัย ยังมีอันตรายจากโรคติดเช้ือ โรคติดตอระหวางสัตวสูคน อาหารที่ไมปลอดภัย อันตราย
จากสารเคมี และอันตรายจากสารกัมมันตภาพรังสีและนิวเคลียร ภัยตางๆ เหลานี้เปนปญหาที่สงผลตอสภาวะ
สุขภาพตอประชากรทั่วโลก เกิดเปนภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public Health Emergency) ซ่ึงหมายถึง
โรคหรือเหตุการณใดๆ ที่เปนภัยคุกคามตอสุขภาพ ที่มีลักษณะเขาไดกับเกณฑตอไปนี้อยางนอย 2 ใน 4 ประการ
คือ 1) ทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพท่ีมีความรุนแรง เชน มีผูปวยและ/หรือผูเสียชีวิตจํานวนมาก 2) เปน
เหตุการณท่ีผิดปกติหรือไมเคยพบมากอนหรือไมคาดวาจะพบ เชน เปนโรคที่กําจัดกวาดลางไปแลว 3) มีโอกาส
แพรระบาดไปสูพน้ื ท่ีอื่น และ 4) จําเปนตองจํากัดการเคล่ือนที่ของผูคนหรือสินคา ดังนั้น หนวยงานท่ีเกี่ยวของจึง
ตองมีการตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Public health Emergency Response) ซึ่งก็คือการดําเนินการ
ดานตางๆ เพ่ือหยุดภาวะฉุกเฉิน หรือกูสถานการณท่ีรุนแรงใหกลับสูภาวะปกติ ภายในระยะเวลาที่สั้นท่ีสุดดวย
มาตรการท่ีไดมีการเตรียมพรอมไวรับมืออยางมีประสิทธิผลสูงสุด โดยเฉพาะอยางย่ิงการปองกัน ควบคุม
และยับยั้งไมใหโรคและภัยสุขภาพแพรกระจายออกไปในวงกวาง และไมเ กิดความเสียหายตอชีวิต เศรษฐกิจ และ
สงั คม สามารถควบคุมและลดปจจัยเสี่ยงตอโรค ภัยพิบัติ และภัยสุขภาพ โดยตองมีการพัฒนาระบบงานใหมคี วาม
พรอมมีกําลังคนที่สามารถระดมมาปฏิบัติงานจัดการภาวะฉุกเฉินไดอยางรวดเร็ว กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพ
ในภาวะฉกุ เฉิน ไดเล็งเห็นความสาํ คญั ดังกลา วจึงไดจัดทํา "โครงการพัฒนาระบบการจดั การภาวะฉุกเฉิน ดานแผน
รบั มอื ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ " ประกอบดวยการประสาน สนับสนนุ องคความรู เสริมสรางความเขา ใจรว มกัน
ระหวางเจาหนาที่บุคลากรทางการแพทยและสาธารณสุข และเครือขายที่เกี่ยวของ การพัฒนาระบบการจัดการ
ภาวะฉุกเฉินใหแกห นวยงานสวนภูมิภาคทอ งถิ่นและหนวยงานอ่ืนๆ ท่ีรอ งขอ ตลอดจนพฒั นาหลักสตู รการจัดการ
ภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข เพ่ือใหผูปฏิบัตงิ านในภาวะฉุกเฉิน มคี วามรูความเขาใจ และทําใหเกิดการปฏิบตั ิงาน
เปน มาตรฐานเดียวกนั

วตั ถุประสงค :
1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข รวมทั้งจัดทํา/ทบทวนแผน

เตรียมความพรอมและตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสําหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ (All-Hazards Plan &
Hazard Specific Plan) รวมถึงแผนเผชญิ เหตุ (Incident Action Plan: IAP) ในแตละระดบั

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 24

2. เพ่อื ทบทวนและปรับปรุงแผนความตอเนื่ององคกร (Business Continuity Plan: BCP) ในการ
ปฏบิ ัติงานในภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสขุ

3. เพื่อพัฒนากระบวนงาน (Protocol) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP)
ของกลมุ ภารกจิ ภายใตระบบบัญชาการเหตกุ ารณ ใหส อดคลอ งกับโรคและภยั สุขภาพท่ีอาจเกดิ ขน้ึ

4. เพ่ือจัดทาํ หลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ ใหกับกลมุ เปา หมายนําไปใชในการดําเนินงาน
ตอบโตภาวะฉุกเฉนิ ในพน้ื ทอี่ ยางเหมาะสม

ระยะเวลาดําเนนิ โครงการปง บประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64

ประโยชนทคี่ าดวา จะไดรับ : กลมุ เปาหมายไดร บั การพฒั นาศกั ยภาพในเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขตลอดจนสามารถนําไปพัฒนา/จัดทําแผนปฏิบัติการรองรับสถานการณฉุกเฉินตางๆ แผนประคอง
กิจการ (BCP) แผนเผชิญเหตุ (IAP) แผนปฏิบัติการสาหรับทุกภัยอันตราย (AHP) กระบวนงาน (Protocol) และ
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) ของกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการ
เหตุการณ ท้ังในระดับเขต และจังหวัด รวมทั้งสามารถนําหลักสตู รการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขไปปรับ
ใชในพ้ืนที่ของตนเองไดอยางเหมาะสม สงผลใหเกิดระบบการเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขท่ี
ดาํ เนินการไดอ ยางรวดเร็ว เปนระบบ มีความเปนเอกภาพ มีประสิทธิภาพ และปลอดภัยเพิ่มยิ่งข้ึนลดความสูญเสีย
ตอสขุ ภาพชีวติ ทรพั ยส นิ และเศรษฐกจิ ในภาพรวมของประเทศ

กิจกรรมทีด่ าํ เนินการ :
กิจกรรมท่ี 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและปรับปรุงแผนบริหารความตอเน่ืององคกร (Business

Continuity Plan: BCP) ระดบั กรมและหนว ยงาน
กิจกรรมท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการวิเคราะหและประเมินความเส่ียง ดานโรคและภัยสุขภาพ (Risk

Assessment) จัดทําแผนเตรียมความพรอ มและตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขสําหรับทุกโรคและภยั สุขภาพ
กิจกรรมที่ 3 พัฒนากระบวนงาน (Protocol) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating

Procedure: SOP) ของกลุมภารกิจภายใตระบบบญั ชาการเหตกุ ารณ
กิจกรรมที่ 4 การประชมุ เชงิ ปฏบิ ัติการพฒั นาหลักสูตรการจดั การภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข
กิจกรรมที่ 5 สนับสนุนและประสานการเตรียมความพรอมดานการแผนรับมือภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข

ดานโรคและภัยสขุ ภาพ

ผลการดําเนนิ งาน :
การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการทบทวนและปรบั ปรุงแผนบริหารความตอเนื่ององคกร (Business Continuity

Plan: BCP) ระดับกรมและหนวยงาน ระหวางวันท่ี 1 - 2 ธันวาคม 2563 เวลา 09.30 – 16.30 น. ณ โรงแรมพาเลส
โดยมีวัตถุประสงคเพอ่ื ทบทวนปรับปรุงแผนบริหารความตอเนอ่ื งองคกร โดยการประเมินความเสีย่ งตอ การจัดการ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 25

กระบวนการที่จะสงผลกระทบตอการบริการประชาชน หรือภารกิจที่สําคัญจะตองหยุดชะงักจากภาวะ
ฉุกเฉินท่ีอาจเกิดข้ึน วิเคราะหผลกระทบและประเมินความเสียหายจากการหยุดชะงักของการดําเนินงานท่ีสําคัญ
ไดอยางมีประสิทธิภาพ กลุมเปาหมาย จํานวน 50 คน ไดแก หนวยงานสวนกลางกรมควบคุมโรค บุคลากรจาก
สาํ นกั งานปองกนั ควบคมุ โรคท่ี 4, 5, 6 สถาบันปอ งกันควบคมุ โรคเขตเมือง กองควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะ
ฉุกเฉิน และหนวยงานอื่นท่ีเกี่ยวของ จากการประชุมมีการจัดทําแผนเตรียมความพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินทาง
สาธารณสุขสําหรับทุกโรคและภัยสุขภาพ ไปใชไดอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อปรับปรุงแผนบริหารความตอเนื่อง
องคก ร (Business Continuity Plan: BCP) ของหนวยงาน

การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนากระบวนงาน (Protocol) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard
Operating Procedure: SOP) ของกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการเหตุการณ ระหวางวันท่ี 5 - 7 พฤษภาคม
2564 ณ โรงแรมอวานี พลัส หวั หนิ จงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเพอ่ื พัฒนากระบวนงาน (Protocol)
และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) ของกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการ
เหตุการณ ใหสอดคลองกับโรคและภัยสุขภาพที่อาจเกิดขึ้น กลุมเปาหมาย จํานวน 70 คน ไดแก สํานักวิชาการ
สวนกลาง กรมควบคุมโรค, สํานักงานปองกันควบคุมโรคท่ี 1 – 12, สถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง และ
บุคลากรกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการเหตุการณ กรมควบคุมโรค จากการประชุมผูเขารวมประชุมรวมกัน
พัฒนากระบวนงาน (Protocol) และมาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) ของ
กลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการเหตุการณ ใหสอดคลองกับโรคและภัยสุขภาพท่ีอาจเกิดข้ึน และดําเนินการสง
มาตรฐานการปฏิบัติงาน (Standard Operating Procedure: SOP) ของกลุมภารกิจภายใตระบบบัญชาการ
ใหกับแตล ะกลมุ ภารกจิ เพ่ือดําเนินการเซ็นอนมุ ตั โิ ดยหวั หนากลมุ ภารกิจ และนําเสนอผูบญั ชาการเหตกุ ารณเซ็นอนุ
มตพิ รอมประกาศใช แจงเวียนใหกลุมภารกิจทราบ รวมท้งั เผยแพรอ ยูบนเว็บไซตกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพใน
ภาวะฉกุ เฉิน

ประชุมราชการวางแผน และติดตามผลการดําเนินงานในการจัดทําแผนเตรียมความพรอมตอบโตภาวะ
ฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 26

4. โครงการพัฒนาสมรรถนะเครือขายในการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ ของหนวยงานระดบั พื้นที่

หลกั การและเหตผุ ล :
จากการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 - 2579) กรมควบคุมโรคไดเล็งเห็นถึง

ความสําคัญของการปฏิรูประบบราชการและการจัดทําแผนยุทธศาสตรการพัฒนาระยะยาว เพ่ือใชเปนกรอบ
แนวทางในการดําเนินงานปองกันควบคุมโรคของประเทศ โดยมุงเนนท่ีจะพัฒนาระบบปองกันควบคุมโรคท่ีมี
ประชาชนเปนศูนยกลาง อาศัยความรู เทคโนโลยี และนวัตกรรมเปนแรงขับเคลื่อน เพื่อพัฒนาระบบปองกัน
ควบคุมโรค แตท่ีผานมายังไมสามารถขับเคล่ือนงานดานการปองกันควบคุมโรคของประเทศได จึงจําเปนตองให
การสนับสนุนในเชิงนโยบายที่ชัดเจนและเปนระบบ เพื่อใหกรมควบคุมโรคสามารถช้ีนําการดําเนินงานไดอยาง
แทจริง รวมทั้งการพฒั นาบุคลากรใหสามารถดําเนินการและพัฒนาตนเองได จากนโยบายขางตน จะพบวา มีความ
จาํ เปนท่จี ะตองมกี ารเรงดําเนินการเสริมสรา งความเขมแข็งของระบบจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เนนการ
พัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉิน โดยเฉพาะในดานท่ีเกี่ยวของกับบทบาทหนาที่ของกลุมพัฒนาเครือขายดาน
การจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขและกิจกรรมสําคัญของกรมควบคุมโรคที่จะตองเรงดําเนินการรวมกับ
หนวยงานภาคีเครือขาย ไดแกการพัฒนาระบบและกลไกบริหารจัดการและการประสานเพื่อการจัดการภาวะ
ฉุกเฉินสาธารณสุขท้ังภายในและภายนอกกรมควบคุมโรค เชน การฝกซอมแผนรับมือโรคและภัยสุขภาพ การ
พัฒนาศักยภาพเครือขายในการบริหารจัดการสถานท่ีกักกันโรคแหงรัฐ (State Quarantine) การจัดทําทําเนียบ
เครือขาย การอบรมใหกับบุคลากรเพื่อรองรับการปฏิบัติงานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินและระบบบัญชาการ
เหตุการณ การจัดทําแผนพัฒนาหนวยงานเครือขายใหสามารถดําเนินงานรับมือภาวะฉุกเฉิน ไดตามระบบบัญชา
การณ โดยการจัดทําและปรับปรุงมาตรฐานการปฏิบัติงานสําหรับกิจกรรมการจัดการภาวะฉุกเฉินท่ีสําคัญหรือ
Standard Operating Procedure จากความสําคัญดังกลาว กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จึงได
จัดทํา “โครงการพัฒนาสมรรถนะเครือขายในการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับพื้นท่ี”
นีข้ ้นึ เพือ่ พัฒนาศกั ยภาพและการประสานงานรวมกนั ระหวา งเครอื ขายดานการจัดการภาวะฉุกเฉินเพอื่ รองรับการ
ปฏบิ ตั ิงานศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารภาวะฉุกเฉนิ และระบบบัญชาการเหตกุ ารณ กรมควบคุมโรค

วตั ถปุ ระสงค :
1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพของเครือขายดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ในการรองรับการ

ปฏบิ ัติงานศูนยป ฏบิ ัตกิ ารภาวะฉกุ เฉินและระบบบญั ชาการเหตุการณ
2. เพื่อพัฒนารูปแบบ กลไกการประสานงานรวมกันระหวางเครือขายดานการจัดการภาวะฉุกเฉินทาง

สาธารณสขุ

ระยะเวลาดําเนนิ โครงการปงบประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 27

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ : บุคลากรที่เก่ียวของที่ปฏิบัติงานเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินในการเฝา
ระวังปองกัน ควบคุมโรคและภัยสุขภาพมีความรูความเขาใจในระบบบริหารจัดการและการเตรียมพรอมตอบโต
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข นําความรูไปประยุกตใชในการดําเนินงานเตรียมพรอมตอบโตภาวะฉุกเฉินดาน
การแพทยแ ละสาธารณสุขตามสถานการณและบริบทของพ้นื ทไ่ี ดอยางมีประสทิ ธิภาพ

กิจกรรมที่ดาํ เนนิ การ :
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาความรวมมือเครือขายในการจัดทําฐานขอมูลดานเคมี ชีวภาพ รังสีและนิวเคลียร

(CBRN)
กจิ กรรมท่ี 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพเครอื ขายในการบริหารจัดการสถานท่กี ักกนั โรคแหง

รัฐ (State Quarantine)
กิจกรรมท่ี 3 บรู ณาการการฝกซอ มแผนเตรยี มความพรอมและตอบโตภ าวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ
กิจกรรมที่ 4 พฒั นาความรว มมือกบั หนว ยงานทเี่ กย่ี วของในการเผชิญเหตุภัยจากรังสีและสารเคมี
กิจกรรมที่ 5 ประสานการเตรยี มความพรอ มปอ งกนั ควบคมุ โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ

ผลการดาํ เนินงาน : ประชมุ พฒั นาความรวมมือเครือขา ยในการทําฐานขอ มูลดานเคมี ชีวภาพ รงั สี และนิวเคลียร
(CBRN) คร้งั ท่ี 1 ณ หอ งประชมุ ธรี ะ รามสูต อาคาร 8 ช้ัน 3 กรมควบคุมโรค จากการประชุมหนว ยงานท่ีเกย่ี วขอ ง
ทราบบทบาทหนาที่ของหนวยงานท่ีเก่ียวขอ งในการจัดทาํ ฐานขอมูลดานเคมี ชีวภาพ รังสี และนิวเคลียร (CBRN)
และไดแนวทางในการจดั ทาํ ฐานขอมลู ดา นเคมี ชวี ภาพ รังสีและนวิ เคลียร (CBRN)

จัดประชุมเชงิ ปฏิบัตกิ ารพัฒนานโยบายระดับชาติเกีย่ วกับการจัดระบบการกักกันโรคภายใตพระราชบัญญัติ
โรคติดตอ พ.ศ. 2558 ระหวางวันที่ 25 - 26 พฤศจิกายน 2563 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อจัดทํานโยบายระดับชาติ
เก่ียวกับการจัดระบบการกักกันโรคภายใตพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 กลุมเปาหมาย จํานวน 20 คน
ไดแก ผูบรหิ ารระดับสูง กระทรวงสาธารณสุข และสาํ นักวิชาการสวนกลางกรมควบคุมโรค จากการประชมุ พัฒนา
นโยบายระดับชาติเกี่ยวกับการจัดระบบการกักกันโรคภายใตพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 รวมกับ
ผูเชี่ยวชาญ เพื่อใหไดขอเสนอแนะในการจัดทํานโยบายระดับชาติการจัดระบบการกักกันโรคภายใต
พระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 จากผูบริหารระดับสูง กระทรวงสาธารณสุข และ สํานักวิชาการสวนกลาง
กรมควบคุมโรค โดยไดขอเสนอแนะ ดังนี้ แนวทางมาตรฐานการดําเนินงานการกักกันโรคภายใตพระราชบัญญัติ
โรคติดตอ พ.ศ. 2558 และใหประกาศใชท่ัวท้ังประเทศไทยใหเปนมาตรฐานเดียวกัน ควรจดั ใหมหี ลักสตู ร สาํ หรับ
ผูปฏิบัตงิ านในสถานท่ีกกั กันซึง่ ราชการกาํ หนดทุกรูปแบบ และออกใบรับรองคณุ ภาพ (Certificate) โดยใชส ถาบัน
(Academy) ภายใตก รมควบคุมโรค รวมไปถึงสถานทที่ ่ีจะเปนสถานท่ีกักกันซ่ึงราชการกาํ หนด การออกใบรับรอง
มาตรฐานตางๆ ท่ีเก่ียวของกับงานการกักกันโรค ควรรวบรวมไวใหเปนแหลงเดียวใหเปนภาพรวมของกระทรวง
สาธารณสุข เปนตน ประชุมราชการวางแผน และติดตามผลการดําเนนิ งานในการพัฒนาความรวมมือเครือขายใน
การเตรยี มความพรอ มตอบโตภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 28

5. โครงการเสรมิ สรา งความเข็มแขง็ ของศนู ยป ฏบิ ัตกิ ารภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับชาติ
ปง บประมาณ 2564

หลักการและเหตผุ ล :
กรมควบคุมโรคกระทรวงสาธารณสุขมีนโยบายพัฒนาระบบควบคุมโรคและภัยสุขภาพของประเทศ ใหได

มาตรฐานสากลสามารถตรวจจับเหตุการณผิดปกติไดอยางรวดเร็วและตอบโตไดทันทีภายใตศูนยปฏิบัติการภาวะ
ฉุกเฉินกรมควบคุมโรค (DDC's EOC) อยางครบวงจรและบูรณาการรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของ ซึ่งการจัดการ
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ประกอบดวยกิจกรรมตั้งแตการปองกัน การเตรียมความพรอม การตอบโต และการ
ฟน ฟูสภาพ ดวยเหตนุ ี้การมสี มรรถนะสูงในทุกระดับตัง้ แตระดับชมุ ชนจนถึงระดบั ประเทศ ลดโอกาสเกดิ โรคติดตอ
อันตรายท่ีแพรระบาดในประเทศ โดยเฉพาะโรคอุบัติใหมแ ละอุบตั ิซ้ํา และลดผลกระทบในวงกวาง ศูนยปฏิบตั ิการ
ภาวะฉุกเฉนิ จึงเปนระบบสําคัญท่ีนานาชาติยอมรบั จึงมคี วามจําเปนอยางสงู ทีจ่ ะตอ งเรง รัดการพัฒนาใหกาวหนา
มีความทันสมัยและมีสมรรถนะในระดับท่ีสูงตอไป การเตรียมความพรอมและสรางความรูความเขาใจใหกับ
บุคลากรเครือขายการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขรองรับการปฏิบัติงานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน
เช่ือมโยงเขตพื้นที่สุขภาพระดับเขตสุขภาพ และหนวยงานสวนกลาง ของกรมควบคุมโรค และกระทรวง
สาธารณสุข กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินเล็งเห็นถึงความสําคัญดังกลาว จึงไดจัดทํา “โครงการ
เสริมสรางความเข็มแข็งของศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขของหนวยงานระดับชาติ ปงบประมาณ
2564” ขึ้น เพื่อพัฒนาและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับองคประกอบที่สําคัญ คือ บุคลากร อุปกรณเครื่องมือ
และระบบงาน เพื่อเตรียมความพรอมรับมือและบริหารจัดการเหตุการณทั้งในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉินท่ีอาจ
เกดิ ขนึ้ ในอนาคต

วัตถุประสงค :
1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรท่ีเก่ียวของ ดานการบริหารจัดการศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน สําหรับ

รองรับการปฏบิ ตั งิ านศนู ยป ฏิบัตกิ ารภาวะฉกุ เฉนิ
2. เพื่อพัฒนาสมรรถนะของศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน ใหมีความพรอมในการปฏิบัติงานดานการควบคุม

โรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสขุ ในระดับสว นกลางและสว นภมู ิภาค
3. เพื่อเตรียมความพรอมรับมือและบริหารจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขภายใตระบบบัญชาการ

เหตุการณ (ICS) ท้ังในภาวะปกตแิ ละภาวะฉุกเฉินทอี่ าจเกิดขนึ้ ในอนาคต
4. เพ่ือแลกเปลี่ยนประสบการณในการดําเนินงานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระยะเวลา

ดาํ เนนิ โครงการปง บประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64

ระยะเวลาดําเนินโครงการปงบประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 29

ประโยชนทีค่ าดวา จะไดรับ :
1. ศนู ยป ฏบิ ตั กิ ารภาวะฉกุ เฉินมคี วามพรอ มในการปฏิบัติงานดานการจดั การภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข
2. กลุมเปาหมายมีศักยภาพในการบริการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขภายใตระบบบัญชาการ

เหตุการณ (ICS) ไดอยา งมีประสิทธิภาพ
3. หนว ยงานเครอื ขายมีความพรอ มในการปฏบิ ัติงานดานการจัดการภาวะฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข

กิจกรรมท่ดี าํ เนนิ การ :
กิจกรรมท่ี 1 ประชุมทีมตระหนักรูสถานการณ (SAT) และผูเชี่ยวชาญดานการเฝาระวังปองกันควบคุมโรค

และภยั สขุ ภาพ กรมควบคุมโรค (SMEs)
กิจกรรมท่ี 2 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกรมควบคุมโรค เพ่ือการเตรียมพรอมตอบโต

ภาวะฉกุ เฉินทางสาธารณสุข
กิจกรรมท่ี 3 ประชุมพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานบริหารจัดการศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน

(EOC manager)
กิจกรรมที่ 4 คาจางเหมาจัดทําสื่อการสอนหลักสูตรการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ระบบ

บญั ชาการเหตกุ ารณ และศนู ยปฏบิ ัตกิ ารภาวะฉุกเฉนิ
กิจกรรมที่ 5 ประชุมถอดบทเรียนศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินในการดําเนินงานตอบโตภาวะฉุกเฉินทาง

สาธารณสขุ
กิจกรรมท่ี 6 ประเมินสมรรถนะการพัฒนาศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขระดับสวนกลาง

ระดบั เขต และระดับจงั หวดั โดยใชเ ครอ่ื งมอื EOC Assessment Tool
กิจกรรมที่ 7 ประสานการเตรียมความพรอ มปอ งกนั ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ

ผลการดําเนินงาน : กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินมีการเตรียมความพรอมในการเฝาระวัง
และตอบโตสถานการณในการปองกนั ควบคุมโรคและภัยสุขภาพใหมปี ระสิทธภิ าพ โดยมกี ารดําเนินการประชุมทีม
ตระหนักรูสถานการณ (SAT) และผูเช่ียวชาญดานการเฝาระวังปองกันควบคุมโรคและภยั สุขภาพ กรมควบคุมโรค
(SMEs) ประจําสัปดาหท ุกวันจันทร ต้ังแตเดอื นตุลาคม 2563 – กันยายน 2564 มีผูเขารวมประชุมจากหนวยงาน
ในสวนกลางของกรมควบคุมโรคทุกหนวยงาน ซึ่งจากการประชุมดังกลาว สรุปประเด็นที่มีการมอบหมายให
หนวยงานรับผิดชอบดําเนินการ พรอมท้ังมีการติดตามขอส่ังการจากหนวยงานที่ไดรับมอบหมายใหมีการรายงาน
ผลการดาํ เนินการตามขอสัง่ การในทปี่ ระชมุ รับทราบ

ประชุมถอดบทเรียนศูนยปฏบิ ัติการภาวะฉุกเฉินในการดําเนินงานตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข เพ่ือ
ชแี้ จงแบบสอบถามประกอบการถอดบทเรียนการตอบโตภาวะฉุกเฉิน กรณีการระบาดของโรค COVID – 19 กรม
ควบคุมโรค ณ หอ งประชุมชม เทพยสุวรรณ ชั้น 5 อาคาร 3 กรมควบคุมโรค และผานระบบการประชุมทางไกล
ผานจอภาพ (Video Conference) จากการประชุมหนวยงานมีความเขาใจในการจัดทําแบบสอบถาม และ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 30

ขอ เสนอแนะตา งๆ ในการปรับแบบสอบถามใหม ีความชัดเจนมากขึ้นในการดําเนินการอยรู ะหวางการวางแผน
ดาํ เนนิ งาน

รวมลงพ้ืนท่ีประเมินการขอจัดตั้ง OQ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยอุบลราชธานี รวมกับคณะกรรมการ
โรคติดตอจังหวัดอุบลราชธานี เพื่อรองรับนักศึกษาชาวลาวท่ีจะเขามาศึกษาตอในไทย วันท่ี 2 ตุลาค 2563
ณ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยอุบลราชธานีและลงพ้ืนที่ประเมินการจัดต้ังระบบสถานที่กักกันเพื่อรองรับ
นักทองเทีย่ วชาวตางชาติ (STV) วนั ที่ 7 ตลุ าคม 2563 รวมกบั สาํ นักงานปอ งกนั ควบคมุ โรคท่ี 11 นครศรีธรรมราช
และคณะกรรมการโรคตดิ ตอ จงั หวัดภเู กต็ ณ ทา อากาศยานจงั หวดั ภูเก็ต

ประชุมราชการทบทวนการดําเนินงานดานปอ งกนั ควบคมุ โรคในสถานท่ีกกั กนั โรคซึง่ ทางราชการกาํ หนด ใน
วันท่ี 14 ตุลาคม 2563 ณ โรงแรม สยาม แอท สยาม ดีไซน กรุงเทพมหานคร เพอื่ ชี้แจง ทบทวน หลักเกณฑ แนว
ทางการปฏบิ ตั ิ ใหก ับเจาหนาทบี่ ุคลากรดานการแพทยแ ละสาธารณสุข ในสถานที่กกั กันโรคซึง่ ทางราชการกําหนด
ใหมีความเขาใจในบทบาทหนาท่ีขั้นตอนและกระบวนการดําเนนิ งานดานปอ งกันควบคมุ โรค กรณีโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 และปรับปรุงมาตรการผอนปรน ในสถานที่กักกันโรคซ่ึงทางราชการกําหนด และกระบวนการ
ดาํ เนนิ งานฯ ทมี่ คี วามเสีย่ ง ใหสอดคลอ งกบั มาตรการของกรมควบคมุ โรค ผเู ขา รวมประชุม จํานวน 100 คน ไดแก
ผูบริหารโรงพยาบาลคูปฏิบัติการ บุคลากรดานการแพทยและสาธารณสุข ในสถานที่กักกันโรคซ่ึงทางราชการ
กาํ หนด , สมาคมผปู ระกอบการโรงแรม (ASQ Club), สาํ นักวิชาการสวนกลาง กรมควบคุมโรค, สํานักงานปองกัน
ควบคุมโรคที่ 1 – 12 และสถาบันปองกันควบคุมโรคเขตเมือง, กลุมงานตอบโตภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข
(Public Health Emergency Response: PHER) ระดับจังหวัดจันทบุรี ระยอง ตาก กาญจนบุรี เชียงราย
เชียงใหม สุราษฎรธานี ภูเก็ต อุดรธานี และจังหวัดอุบลราชธานี, ผูแทนหนวยงานโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย
จากการประชุมมกี ารสรุปขอ เสนอแนะ ดงั นี้

(1) การนับระยะเวลาการกักกัน 14 วัน เริม่ นับตั้งแตเม่ือไหรถึงเม่ือไหร ควรมแี นวทางเดียวกันและประกาศ
ใหช ัดเจน

(2) การลงพ้ืนท่ีตรวจประเมินการดําเนินงานสถานที่กักกันโรคซ่ึงราชการกําหนด อยากใหหนวยงานที่
เก่ียวของใชวิธีใหคําแนะนํา ใหความรู และใหกําลังใจแกผูปฏิบัติงาน เพ่ือสนับสนุนการดําเนินงานของสถาน
ประกอบการใหม กี ารพฒั นาปรับปรงุ ใหดีย่ิงข้นึ

(3) การผอนปรนใหผูกักกัน สถานประกอบการควรดําเนินการเพ่ิมมาตรการเพื่อรองรับมาตรการผอนปรน
นน้ั ๆ ใหร ดั กุม หากสถานประกอบการไมสามารถดําเนนิ การเพ่ิมเติมตามมาตรการรองรับการผอนปรนนน้ั ได สถาน
ประกอบการไมควรดําเนนิ การมาตรการผอ นปรนน้ัน

(4) ควรกําหนดแนวทางมาตรฐานของระบบบําบัดนํ้าเสีย ในสถานประกอบการที่เปนสถานกักกันโรคซ่ึง
ราชการกําหนด (เชน งดนํานํ้ากลับมาใชซํ้า, คาคลอรีนอิสระในน้ําท้ิงหลังการบําบัดกอนปลอยออกสูสิ่งแวดลอม
ควรมคี า 0.5-1.0 ppm.) เปน ตน

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉนิ | 31

การประชุมช้ีแจงแนวทางการดําเนินงานปองกันควบคุมโรคแบบกิจการวิถีใหม (New Normal)
สาํ หรับคณะผูติดตามทางการแพทยและสาธารณสุข ในวันที่ 25 พฤษภาคม 2564 ณ โรงแรมเบสทเวสเทิรนพลัส
แวนดา แกรนด จังหวัดนนทบุรี โดยมีวัตถุประสงคเพื่อเพิ่มศักยภาพบุคลากรหนวยงานของภาครัฐและเอกชนใน
การปฏิบัติตามมาตรการคุมไวสังเกตสําหรับผูเดินทางเขาราชอาณาจักร ตามขอตกลงพิเศษ (Special
Arrangement) เพ่ือเปนไปตามมาตรการปองกันการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 กลุมเปาหมาย
จาํ นวน 44 คน ไดแก นายแพทยท รงคุณวุฒิ กรมควบคุมโรค, กระทรวงกลาโหม, กองบัญชาการกองทัพไทย, การ
บนิ ไทย, กระทรวงการตา งประเทศ, กระทรวงการทองเทยี่ วและกฬี า, การกีฬาแหงประเทศไทย, กรมแพทยอากาศ
, กองทัพบก, กองทัพเรือ, การทองเที่ยวแหงประเทศไทย, กรมพลศึกษา และวิทยากรจากการกีฬาแหงประเทศ
ไทย จากการประชุมหนวยงานมีความรูเรื่องโรคและการปองกันควบคุมโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -
19) เขา ใจอํานาจหนาท่ขี องเจาพนักงานควบคุมโรคติดตอ ตามพระราชบัญญัติโรคติดตอ พ.ศ. 2558 และสามารถ
นําแนวทางการดาํ เนนิ งานสถานท่ีกักกัน ในรูปแบบเฉพาะองคกร (Organizational Quarantine) ไดอ ยางถูกตอง
รวมท้ังติดตาม ควบคุม กํากับ และประเมินผลดานการแพทยและสาธารณสุข ในการปฏิบัติตามมาตรการคุม
ไวสังเกตสําหรบั ผูเดินทางเขา ราชอาณาจกั ร ตามขอตกลงพิเศษ (Special Arrangement)

ประชุมหารือการประเมินขอมูลพ้ืนฐาน เพ่ือเตรียมความพรอมในการลงพื้นที่ประเมินการพัฒนาศูนย
ปฏิบัติการภาวะฉุกเฉิน สําหรับหนวยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC Assessment Tool)
ประจําป 2564 (ระดับสวนกลาง) ระหวางวันที่ 30 - 31 สิงหาคม 2564 จากการประชุมมีการเสนอควรปรบั ปรุง
แกไข แนวทาง และการพัฒนาในการประเมินขอมูลพนื้ ฐาน ในการลงพื้นทปี่ ระเมินการพัฒนาศูนยปฏบิ ัติการภาวะ
ฉุกเฉิน สําหรับหนวยงานสาธารณสุขระดับจังหวัดและระดับเขต (EOC Assessment Tool) ในปงบประมาณ
2565 ตอไป

6. โครงการพัฒนาระบบตระหนักรสู ถานการณในภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ปงบประมาณ 2564

หลักการและเหตุผล :
สืบเนือ่ งจากนโยบายดานการปอ งกนั ควบคุมโรคของประเทศที่ตั้งเปาประสงคใหมีระบบควบคุมโรคและภัย

สุขภาพท่ไี ดมาตรฐาน สามารถตรวจจบั เหตุการณผดิ ปกติไดเ ร็ว และตอบโตไ ดทัน โดยมที ีมตระหนักรสู ถานการณ
(Situation Awareness Team - SAT) และทีมปฏิบัติการสอบสวนโรค (Joint Investigation Team - JIT)
ที่พรอมปฏิบัติงาน 24 ช่ัวโมง สามารถปฏิบัติงานสอดประสานและเช่ือมตอขอมูลจากพื้นท่ีเกิดเหตจุ นถงึ สวนกลาง
ไดแบบ Real Time ท้ังในภาวะปกติและภาวะฉุกเฉิน โดยในปงบประมาณ พ.ศ. 2564 กรมควบคุมโรค
ไดมอบหมายใหกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉินเปนผูรับผิดชอบหลักในการพัฒนางานตระหนักรู
สถานการณ (SA) ใหเขมแขง็ เปน ตนแบบสําหรับหนวยงานตางๆ ท้ังในและนอกกรมควบคุมโรค จึงมคี วามจําเปน
เรงดวนท่ีจะตองพัฒนากลไกการบริหารจัดการทีม ระบบเฝาระวังเหตุการณ และพัฒนาบุคลากรใหสามารถเฝา
ระวัง ตรวจจับเหตุการณผิดปกติ ตรวจสอบขาวการระบาด ติดตามสถานการณโรคและภัยสุขภาพ และประเมิน

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 32

ความเส่ียงท่ีการระบาดจะขยายไปในวงกวางหรืออาจเกิดภาวะฉุกเฉินดานสาธารณสุข รวมทั้งพัฒนากลไก
การประสานการปองกันควบคุมการระบาดของโรค/ภัยสุขภาพรวมกับภาคีเครือขายท้ังในและตางประเทศ มีการ
วิเคราะหและสังเคราะหองคความรูจากฐานขอมูลตางๆ ที่เกี่ยวของ จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายหรือมาตรการ
ปองกันควบคุมโรค/ภัยสุขภาพที่สอดคลองกับสภาพปญหาที่แทจริง อันจะสงผลใหเกิดความพรอมในการ
ตอบสนองสถานการณโรคและภัยสุขภาพในภาพรวมของประเทศ และสอดประสานภารกิจกับหนวยงานอื่น ๆ ท่ี
เกี่ยวของ ทั้งในและนอกกระทรวงสาธารณสุข อยางเปนเอกภาพ และไดมาตรฐานสากล กองควบคุมโรคและภัย
สุขภาพในภาวะฉกุ เฉินเล็งเหน็ ถึงความสําคัญดังกลา ว จึงไดจัดทํา “โครงการพัฒนาระบบตระหนกั รูสถานการณใ น
ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข ปงบประมาณ 2564” ขึ้น เพื่อเสริมสรางความเขมแข็งของทีมตระหนักรูสถานการณ
(SAT) ภายใตระบบการจดั การภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข กรมควบคุมโรค

วตั ถุประสงค :
1. เพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรทีมตระหนักรูสถานการณในการรวบรวมขอมูล ติดตามตรวจจับเหตุการณ

ผิดปกติ ประเมินสถานการณโรคและภัยสุขภาพ และจัดทํารายงานเสนอผูบริหาร หนวยงานตางๆท่ีเกี่ยวของ
ไดต ามมาตรฐานที่กําหนด

2. เพื่อยกระดับระบบการแจงเตือนภัย การวิเคราะหขอมูลสถานการณโรคและภัยสุขภาพ และเช่ือมโยง
ขอ มูลระบบสารสนเทศอยางเปนระบบในการเฝาระวังและประเมินแนวโนม สถานการณปญหาโรคและภัยสุขภาพ
ในภาวะฉกุ เฉนิ ของประเทศไทย ในป 2564

3. เพ่ือพัฒนาทักษะดานการติดตาม วิเคราะหและประเมินแนวโนมสถานการณโรคและภัยสุขภาพ
แกบ ุคลากรที่เก่ยี วของ ในสวนกลาง และระดับเขต

4. เพ่ือพฒั นาการติดตาม วเิ คราะหค วามเสี่ยง และประเมินแนวโนมสถานการณโ รคและภัยสขุ ภาพ ในพ้นื ท่ี
อยางตอเนอื่ งการดาํ เนินงาน

ระยะเวลาดาํ เนนิ โครงการปง บประมาณ : 1 ต.ค.63 – 30 ก.ย.64
ประโยชนทค่ี าดวาจะไดรบั :

1. กรมควบคุมโรคมีความพรอมรองรับการระบาดของโรคและภัยสุขภาพ ทั้งในภาวะปกติและภาวะฉกุ เฉิน
เปนทีย่ อมรบั ของภาคเี ครอื ขาย ท้งั ในและตา งประเทศ

2. กระทรวงสาธารณสุขมีฐานขอมูลดานระบาดวิทยาของโรคและภัยสุขภาพท่ีเปนปจจุบันและพรอมใช
สาํ หรับอางองิ ทางวิชาการ การวางแผน ควบคมุ กาํ กับ และประเมนิ ผลการปฏบิ ตั ิงานตามแผนงาน โครงการตางๆ
ที่วางไว รวมท้ังใชประกอบการกําหนดนโยบายและมาตรการปองกันควบคมุ โรค/ภัยสขุ ภาพของประเทศ

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 33

กิจกรรมทด่ี ําเนินการ :
กิจกรรมที่ 1 ประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะบุคลากรของทีมตระหนักรูสถานการณ กรมควบคุมโรค หลักสูตร
Supervisor /Supervisor Assistant

กจิ กรรมที่ 2 ประชุมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาทกั ษะบคุ ลากร กอง.หลักสูตร SAT Manager ป 2564
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาทักษะบุคลากรในการเฝาระวัง ติดตาม และประเมินสถานการณความเสี่ยงของโรค
และภยั สุขภาพ
กจิ กรรมที่ 4 ประสานการเตรยี มความพรอม ปองกัน ควบคุมโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะฉกุ เฉิน
กิจกรรมที่ 5 ทบทวนปรับปรุงแนวทางการปฏิบัติงาน (SOPs) ดานการเฝาระวัง ติดตาม และประเมิน
สถานการณความเส่ยี งของโรคและภยั สขุ ภาพ
กิจกรรมที่ 6 คา ดูแล รักษาระบบคอมพวิ เตอรเพอ่ื การพัฒนาฐานขอมลู ท่ีเกี่ยวของกบั เหตกุ ารณฉุกเฉนิ

ผลการดําเนินงาน :
ปฏิบัติงานคณะทํางานกลุมภารกิจดานตระหนักรูสถานการณสาธารณสุข ตามคําส่ังกรมควบคุมโรค

คณะทํางานศูนยปฏิบัติการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข (Emergency Operation Center) กรณีโรคตดิ เชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 และเฝาระวงั ติดตาม และประเมินสถานการณค วามเสยี่ งของโรคและภัยสขุ ภาพในภาวะปกติ

จัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาทักษะบุคลากรของทีมตระหนักรูสถานการณ กรมควบคุมโรค (หลักสูตร
Supervisor และ Supervisor Assistant) ระหวา งวันที่ 23 - 27 พฤศจกิ ายน 2563 ณ โรงแรม โรแมนตคิ รีสอรท
แอนดสปา อําเภอปากชอง จังหวัดนครราชสีมา โดยมีวัตถปุ ระสงคเพ่ือพัฒนาศักยภาพบุคลากรของทีมตระหนักรู
สถานการณ กรมควบคุมโรค ในตําแหนง Supervisor Assistant ใหมีความรู ความสามารถในการปฏิบัติงานทีม
ตระหนักรูสถานการณไดอยางตอเนื่อง และทบทวนแนวทางการพัฒนาทักษะ ความรูในการปฏิบัติงานเปนไป
ทิศทางเดียวกัน และสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ เปนไปตามมาตรฐานที่กําหนด กลุมเปาหมาย
จํานวน 40 คน ไดแก บุคลากรกรมควบคุมโรคผูปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณ ตําแหนง Supervisor
Assistant จากการประชุมบุคลากรท่ีปฏิบัติงานในตําแหนง Supervisor Assistant ไดรับการทบทวนแนวทาง
พัฒนาทักษะ ความรูในการปฏิบัติงานทีมตระหนักรูสถานการณอยางตอเน่ือง เพื่อใหเกิดความรู ความเขาใจ ใน
ทศิ ทางเดียวกนั และสามารถปฏบิ ตั ิงานไดอ ยางมปี ระสทิ ธิภาพ เปน ไปตามมาตรฐานทีก่ ําหนด

ประชุมทบทวนเงื่อนไขการตรวจสอบขาว กรมควบคุมโรค เพ่ือเปนแนวทางในการดําเนินงาน และเพื่อให
การติดตาม เฝาระวัง ประเมินสถานการณ และประเมินความเส่ียงของเหตุการณสําคัญตาง ๆ ดานสาธารณสุขที่
เกดิ ข้ึนเปนไปอยางมปี ระสิทธิภาพและทันเวลา

รายงานประจาํ ป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สขุ ภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 34

7. โครงการพัฒนาการเตรียมความพรอมดานการบริหารจัดการคลังเวชภัณฑทรัพยากร และสงกําลัง
บํารงุ เพอ่ื รองรบั ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสุข

หลกั การและเหตุผล :
ปจ จุบันประเทศไทยประสบกับภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขที่มคี วามรุนแรงเพ่ิมข้ึน กอใหเกดิ ความเสยี หาย

ท้ังเศรษฐกิจ และงบประมาณของประเทศชาติในการจัดการควบคุมปองกันโรคจํานวนมหาศาล ดังเห็นไดชัดจาก
สถานการณโรคติดเช้ือไวรัสโคโรนา 2019 เม่ือวันท่ี 31 ธันวาคม 2562 ประเทศจีนรายงานจํานวนผูปวยโรคติด
เชือ้ ไวรัสโคโรนา 2019 เปนคร้ังแรก จาํ นวน 27 ราย ซง่ึ ขอ มลู ณวนั ที่ 2 กรกฎาคม 2563 มรี ายงานผูป วยยืนยนั ทั่ว
โลก จํานวนท้ังส้ิน 10,585,152 ราย และเสียชีวิต 513,913 ราย ประเทศที่มีผูปวยสะสมมากท่ีสุด ไดแก
สหรฐั อเมริกา บราซลิ และรัสเซีย ท้งั นี้ยงั มีผูปวยยืนยนั ใน 211 ประเทศ 2 เขตบริหารพิเศษ 2 เรือสําราญ สําหรับ
สถานการณในประเทศไทย

พบผูปวยยนื ยันสะสม 3,173 ราย เสียชีวติ 58 ราย โดยมาตรการในประเทศไทยไดยกระดับศูนยป ฏบิ ตั ิการ
ภาวะฉุกเฉิน เปนระดับ 3 เพ่ือติดตามสถานการณโรคทั้งในประเทศและตางประเทศอยางใกลชิด และบริหาร
จัดการทรัพยากร นอกจากน้ันในป 2561 ถึงปจจุบันไดเกิดสถานการณกรณีฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน
ในกรุงเทพและปริมณฑลซ่ึงสงผลตอสุขภาพของประชาชนในพ้ืนท่ี ทําใหประชาชนเกิดความตระหนกและความ
ตระหนักในการปองกันตนเองมากข้ึน กระทรวงสาธารณสุขไดกําหนดแผนงานการพัฒนา EOC ไวในยุทธศาสตร
ความเปนเลิศ 4 ดาน (Excellence) โดยดานสงเสริมสุขภาพและปองกันโรคเปนเลิศมีแผนงาน/โครงการพัฒนา
ระบบตอบโตภาวะฉกุ เฉินและเพ่ือเปนการขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติระยะ 20 ปและยทุ ธศาสตรระยะ 20 ป ดาน
สาธารณสุข กรมควบคุมโรคไดจ ัดทาํ ยุทธศาสตรร ะยะ 20 ป ดา นการปอ งกนั ควบคมุ โรคและภัยสุขภาพข้ึน ซ่ึงหนึ่ง
ในยุทธศาสตรที่สําคัญคือการเสริมสรางความเขมแข็งของระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุขโดยเนนท่ี
การพัฒนาระบบการจัดการภาวะฉุกเฉินและศูนยปฏิบัติภาวะฉุกเฉิน (Emergency Operations Center: EOC)
ซึง่ ไดมีมาตรการสําคัญในการเตรียมความพรอ มเพ่อื รับมอื ภาวะฉุกเฉินทางสาธารณสุข โดยกองควบคุมโรคและภัย
สุขภาพในภาวะฉุกเฉินเปนศูนยกลางในการสงเสริมสนับสนุนและประสานงานทางดานวิชาการจัดเตรียมสํารอง
เวชภัณฑและวัสดุอุปกรณในขอบขายความรับผิดชอบของกรม เพ่ือใหการรับมือภาวะฉุกเฉินซ่ึงเปนภารกิจที่มี
ความสําคัญและเปนมีความซับซอนจึงควรมีการวางแผนและพัฒนาระบบการจัดการคงคลังเวชภัณฑและ
ทรัพยากรเปนไปอยางมีประสิทธิภาพกองควบคุมโรคและภัยสุขภาพในภาวะฉุกเฉิน จึงไดจัดทํา “โครงการ
พัฒนาการเตรียมความพรอมดานการบริหารจัดการคลังเวชภัณฑทรัพยากรและสงกําลังบํารุง เพื่อรองรับภาวะ
ฉุกเฉนิ ทางสาธารณสุข” ขน้ึ

วตั ถุประสงค :
1. เพ่ือพัฒนาฐานขอมูลเวชภัณฑทรัพยากรและสงกําลังบํารุงกรมควบคุมโรคสําหรับสนับสนุนการตอบโต

ภาวะฉกุ เฉนิ ทางสาธารณสขุ

รายงานประจําป 2564 กองควบคุมโรคและภยั สุขภาพในภาวะฉุกเฉนิ | 35


Click to View FlipBook Version