คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า electromagnetic wave
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (Electromanetic Wave) คือ คลื่นที่เคลื่อนที่โดยไม่อาศัยตัวกลางโดยอาศัย การเหนี่ยวนำ กันระหว่างสนามแม่เหล็กและสนาม ไฟฟ้าซึ่งเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทิศทางของสนาม ทั้งสองตั้งฉากกันและตั้งฉากกับทิศทางเคลื่อนที่ เป็นคลื่นที่เกิดจากการเคลื่อนที่ของสนามแม่เหล็ก และสนามไฟฟ้าออกไปในลักษณะที่เป็นคลื่น คลื่น ลื่ เเม่เ ม่ หล็ก ล็ไฟฟ้า ฟ้ คือ คื อะไร
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าต่างๆมีลักษณะเฉพาะตัวจึง มีชื่อเรียกต่างกันเรียงจากความถี่ต่ำ ไปสูงจะได้ ดังนี้คลื่นวิทยุ ไมโครเวฟรังสีอินฟาเรดแสงที่ ตามองเห็รังสีอัลตราไวโอเลตรังสีเอกซ์และรังสี แกมมา คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าทุกช่วงที่มีความถี่ ต่อเนื่องกันรวมเรียกว่า "สเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (eletromagnetic spectrum) "
-สันคลื่น คือ ตำ แหน่งสูงสุดของคลื่นเหนือ ตำ แหน่งปกติ -ท้องคลื่น คือ ตำ แหน่งที่ต่ำ ของคลื่นเหน่งปกติ -แอมพลิจูด(A) คือ ระยะการกระจัดสูงสุดจาก แนวสมดุลของสันคลื่น -ความยาวของคลื่น 1 ลูก (A) คลื่นมีค่า เท่ากับระยะห่างจากสันคลื่นหยึ่งที่อยู่ติดกัน คลื่น ลื่ แม่เ ม่ หล็ก ล็ไฟฟ้า ฟ้ อัตราเร็วแม่เหล็กไฟฟ้าทุกชนิด ในสุญญากาศ เท่ากับ V = 3x10⁸ m/s ซึ่งเท่ากับอัตราเร็วของ แสง
สูต สู รขอคลื่น ลื่ แม่เ ม่ หล็ก ล็ไฟฟ้า ฟ้ -ถ่ายเทพลังงานจากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่ง -ไม่มีประจุไฟฟ้า -เป็นคลื่นตามขวาง -ไม่ต้องใช้ตัวกลางในการเคลื่อนที่ สูตร คาบ T ช่วงเวลาที่คลื่นเคลื่อนที่ 1 ความยาวคลื่น
คลื่นวิทยุมีความถี่ช่วง 10⁴-10⁹ Hz ใช้ใน การสื่อสาร คลื่นวิทยุแบ่งออกได้ 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ 1.คลื่นดิน คลื่นที่เคลื่อนที่ในแนวเส้นตรง ขนานผิวโลก 2.คลื่นฟ้า คลืานที่เดินทางจากพื้นโลกพุ่ง ไปยังบรรยากาศจนถึงชั้นเพดานฟ้าและ สะท้อนกลับลงมายังโลก คุณสมบัติ การสะท้อนกลับ, การหักเห, การ เบี่ยงเบน คลื่น ลื่ วิท วิ ยุ
2.ระบบ FM ช่วงความถี่ 88-108MHz สื่อสาร โดยคลื่นเสียงผสมเข้ากับคลื่นพาหะโดย ความถี่ของคลื่นพาหะ จะเปลี่ยนแปลงตาม สัญญาคลื่นเสียง ชัดเจนกว่า AM คลื่น ลื่ วิท วิ ยุมี ยุ ก มี ารส่ง ส่ สัญ สั ญาณ 2ระบบ 1.ระบบAM ช่วงความถี่ 530-1600 kHz สื่อสารโดยใช้คลื่นเสี่ยงผสมคลื่นวิทยุ เรียกว่า "คลื่นพาหะ" ส่งได้ทั้งคลื่นดินและคลื่นฟ้า,สื่อสาร ได้ไกล เเต่ถูกรบกวนง่าย
ช่วงคลื่นสั้น ภาพถ่าย ช่วงคลื่นกลาง จรวดนำ วิถี ช่วงคลื่นยาว บำ บัดผู้ป่วย รังสีอินฟาเรด Infrared rays มีช่วงความถี่ 10¹¹ - 10¹⁴ หรือความยาวคลื่นตั้งแต่ 10-3 - 10-6 เมตร รังสีอินฟาเรดสามรถใช้กับฟิล์ม ถ่ายรูปบางชนิดได้ และใช้เป็นการควบคุม ระยะไกลหรือรีโมทคอนโทรลกับเครื่องรับ โทรทัศน์ได้ รัง รั สีอิ สี น อิฟาเรด แบ่งออกเป็น 3 ช่วง
Ultraviolet rays มีช่วงความถี่ 10¹⁵ - 10¹⁸ Hz หรือ 770 THz -30 PHz มี ความยาวคลื่น 10nm - 400nm เป็นรังสีจาก การแผ่รังสีของดวงอาทิตย์ ทำ ให้เกิดประจุอิสระและไออ่อนใน บรรยากาศชื้นไฮโอโนสเฟียร์ รังสีนี้ทำ ให้ เชื้อโรคบางชนิดตายได้ แต่มีอันตรายต่อ ผิวหนังและตาคน รัง รั สีอั สี ล อั ตราไวโอเลต
รังสีเอกซ์ X-ray เป็นการแผ่รังสีแบบแตกตัว เป็นไอออน และมีอันตรายต่อมนุษย์ แต่ในเบื้อง ต้นมีการใช้รังสีเอกซ์สำ หรับถ่ายภาพเพื่อวินิจฉัย โรคและงานผลึกศาสตร์ รัรัง รั ง รัสีสีเ สี เ สี อกซ์ซ์ ซ์ซ์ คุณสมบัติ ทำ ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางชีววิทยาต่อเซลล์ สิ่งมีชีวิต มีคุณสมบัติเหมือนแสง เดินทางเป็น เส้นตรงในสุญญากาศ ไม่หักเหในสนามไฟฟ้า/ สนามแม่เหล็กเป็นต้น
อัน อั ตรายจากรัง รั สี สามารถรักษามะเร็งได้เเต่มีผลข้างเคียง ดังนี้ ทางร่าง ผมร่วง อ่อนเพลีย ฯลฯ ทางอวัยวะ ผิวหนังแดง/แห้ง/ลอก ฯลฯ และ เกิดแผลเป็นบริเวณที่ฉายแสง 1. 2.
รัรัง รั ง รั สีสีแ สี แ สี กมมา รังสีแกมมา (Gramma say) มีช่วง ความยาวคลื่นสั้นกว่ารังสีเอกซ์ รังสีแกมมามี ความถี่สูงมากๆ ดังนั้นจึงประกอบด้วย โฟ ตอนพลังงานสูงหลายตัว เป็นการแผ่รังสี แบบ ionlzation มีอันตรายต่อชีวภาพ แต่ ก็ยังสามารถนำ มาใช้ประโยชน์ได้ -ทางการเกษตร กำ จัดแมลง ถนอมด หาร -ทางอุตสาหกรรม พอลิเมอรี ปรับปรุง คุณภาอัญมณี -ทางการแพทย์ รักษาโรคมะเร็ง ทำ ความสะอาดเครื่อ รื่ งมือ
คลื่นแสง คือ คลื่นชนิดหนึ่งและมี พลังงานแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้าในช่วง ความยาวคลื่นที่สายตามนุษย์มองเห็น หรือ รื บางครั้งอาจรวมถึงการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า ในช่วงความยาวคลื่น ตั้งแต่รังสีอินฟารดถึง รังสีอัลตราไวโอเลตด้วย
ปรากฏการณ์โฟโตอิเอิล็กตริกริ อิเล็กตรอนในสสารดูดซัพพลังงาน คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า จนอิเล็กตรอนมีพลังงาน มากกว่า ว่ พลังานยึดเหนี่ยวของอะตอมของ สสาร อิเล็กตรอนจะหลุดออกมาจากอะตอม อิเล็กตรอนที่หลุดของมาเรีย รี กว่า ว่ "โฟโต อิเล็กตรอน" เมื่อเเสงตกกระทบอิเล็กตรอนที่ หลุดออกมาจะมีพลังงานจลน์
สมาชิกในกลุ่ม นางสาวนวลอนงค์ แก้วเรือ รื ง 3ชทส1 เลขที่ 8 นางสาวอรดา เรือ รื งฤทธิ์ 3ชทส1 เลขที่ 19