The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

ความงดงามบนความแตกต่าง จากฐานการเรียนรู้

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rungnapa.wat, 2021-05-03 03:29:05

ความงดงามบนความแตกต่าง จากฐานการเรียนรู้

ความงดงามบนความแตกต่าง จากฐานการเรียนรู้

ความงดงามบนความแตกตา ง จากฐานการเรยี นรู
โดย นางสาวรงุ นภา วจั นะพนั ธ
รหัส 6377701019

วชิ า 1063105 ทฤษฎีและแนวโนม ทางการบรหิ ารการศกึ ษา
สวาขาวิชาการบริหารการศกึ ษา
ภาคเรียนท่ี 1/2563

ความงดงามบนความแตกตา ง จากฐานการเรียนรู

รงุ นภา วัจนะพนั ธ1
บทคัดยอ

คําวาการเรียนรูจากประสบการณกวางขวางมาก ฐานการเรียนรู มาจากขอบขายความหมายของท้ัง
ในทางปฏิบัติและทฤษฎี ตางมีมุมมองที่สอดคลองกับสถานการณท่ีแตละคนเผชิญอยูในชีวิตประจําวัน ดังน้ัน
อาจกลาวไดวา “การเรียนรูจากประสบการณ (Experiential Learning) คือกระบวนการสรางความรู ทักษะ
และเจตคติดวยการนําเอาประสบการณเดิมของผเู รียนมาบูรณาการเพื่อสรางการ เรียนรูใหม ๆ ข้ึน”เพราะวา
แตละคนไมเหมือนกัน เราไมหมือนใคร และไมมีใครเหมือนเรา ดังน้ันวิธีการเรียนรูก็เปนเรื่องท่ีเฉพาะตัว
เชนกัน ในวงการการศึกษา ตอนนี้ทุกคนตื่นตัวกันมากเกี่ยวกับเร่ือง Learning styles มากกวาเรื่องของ I.Q.
เพราะวาเปนการศึกษาพฤติกรรมการเรียนรูของมนุษยเรา วามีกระบวนการรับขอมูลใหมๆ และมีกลยุทธใน
การเรียนอยางไรบาง เนื่องจากวิธีการหลากหลายทางการเรียนรูของคนเรา สงผลโดยตรงตอสิ่งท่ีเรียน มี
นักวิจัยหลายทานไดทําการศึกษาคนควาเกี่ยวกับเร่ืองนี้ เพื่อนํามาปรับใชในการเรียนการสอนเพื่อใหเกิด
ประสิทธิผลมากข้ึนเขาเช่ือวา หากผูเรียน รูสไตลการเรียนของตนเอง และเขาใจวิธีการรับรูขอมูลใหมๆ และ
นาํ มาปรับใชใ หเขา กับตนเองก็จะทําใหเ ราเรียนหนงั สือไดด ีข้ึน คือ จดจําส่งิ ทีเ่ รยี นไดดีขึ้นนั่นเอง และถา ผูสอน
รูสไตลการเรียนของผูเรียน และนํามาปรับใชในการสอน ก็จะสามารถปอนขอมูลใหกับผูเรียนไดตรงจุด และ
ผูเรียนก็จะเกิดการรับรูไดดี ทฤษฎีการเรียนรูมีหลายทฤษฎี อยูท่ีวาใครเปนผูคิดคน แตสวนใหญแลวก็จะ
คลายๆ กัน ความรูความเขาใจเก่ียวกับความแตกตางระหวางบคุ คลใน รูปแบบการคิด และรูปแบบการเรียนรู
มีประโยชนตอท้ังผูเรียน และผูสอน ในแงการสงเสริมการเรียนรู การพัฒนาผูเรียนใหสามารถเรียนรูไดเต็ม
ศักยภาพ และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงข้ึน และการจัดการศึกษาไดอยางมีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน

คําสําคญั : ความงดงามบนความแตกตาง ,(Experiential Learning) ,ฐานประสบการณการเรียนรู

1 นกั ศึกษาหลักสตู รครุศาสตรดษุ ฎีบณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช

บทนํา
โลกยุคนเ้ี ปน ยคุ ของความรแู ละขอมูลขาวสาร ผูใดมคี วามรูและขอมลู มากกวายอมไดเปรียบกวา ทัง้ นี้
เนือ่ งจากขอมูลท่ีเปนความรเู พ่มิ มากขึ้นทกุ วัน และทุกๆ 5 ปข อ มลู ขาวสารจะทวีข้ึนเปน 2 เทา นอกจากนี้
ยงั ไมม ีใครสามารถสอนความรทู มี่ ีอยใู นโลกนี้ใหแ กเราไดทั้งหมด โรงเรยี นจงึ ควรเตรยี มเดก็ ๆ และเยาวชนให
รจู ักแสวงหาความรอู ยางตอเน่อื งดวยตนเอง เพ่ือมใิ หเด็กและเยาวชนเหลา นนั้ กลายเปนคนลาหลงั และกา ว
ตามโลกไมทนั ภายหลังจากออกจากโรงเรยี นแลว การสอนใหเ ดก็ เรียนรูว ธิ ีเรียนทถ่ี กู ตอง (Learn how to
learn) จึงเปน เรื่องท่จี าํ เปน อยางย่ิง โดยครูตองเขา ใจและตระหนักเปน อนั ดับแรกวา เดก็ แตล ะคนมีรปู แบบ
หรือรูปแบบการเรยี นรูไมเ หมือนกัน ครทู ส่ี ามารถรูวา เด็กแตล ะคนในชัน้ มรี ูปแบบการเรยี นรเู ปน แบบใดจะ
ประสบความสาํ เร็จ ในการสงผา นความรไู ปยงั นักเรยี นทาํ ใหเ ดก็ ไดพัฒนาศักยภาพในการเรยี นรูของตนเองไดอยา ง
เตม็ ความสามารถมากทส่ี ุด
1.ความหมายของการเรียนรู
การเรยี นรู หมายถึง พัฒนาการรอบดา นของชวี ติ มอี งคป ระกอบ ปจ จัย และกระบวนการที่หลากหลาย มีพลงั
ขับเคลอ่ื นเชื่อมโยงสมั พนั ธก ันอยา งผสมกลมกลืนไดสัดสวน สมดุลกัน เกดิ ความสมบรู ณของชีวิตและสงั คมการ
เรยี นรู มคี วามหมายครอบคลุมถึงข้ันตอนตอไปน้ีคือ
1)การรบั รู (Reception) หมายถงึ การท่ีผคู น “รบั ” เอาขอมลู ขาวสารและองคความรตู างๆ จาก
แหลง ความรูท่หี ลากหลาย ซึง่ รวมทัง้ แหลงความรจู ากครผู สู อนดว ย
2) การเขา ใจ (Comprehension) หมายถงึ การท่ีผูเรยี นสามารถมองเห็นถงึ ความหมายและความ
เชื่อมโยงสมั พนั ธกนั ของสง่ิ ตา งๆ ทต่ี นเองรบั รจู ากแหลง ความรูท ห่ี ลากหลายในระดับท่ีสามารถอธบิ ายเชงิ เหตุ
ผลได
3) การปรบั เปลี่ยน (Transformation) เปน ระดับของการเรยี นรทู ่แี ทจ ริง ไดแ ก การเปลย่ี นแปลงดาน
วิธคี ดิ (Conceptualization) การเปล่ียนแปลงระบบคุณคา (Values) และการปรับเปล่ียนพฤติกรรม
(Behavior) ในสง่ิ ทร่ี บั รูและมีความเขาใจแลวเปน อยางดี
จากการศึกษาคน ควา ในประเทศเยอรมนั พบวา มนุษยมีการเรยี นรจู ากระบบตา งๆ ของรางกายมาก
ท่ีสดุ ถงึ นอ ยท่สี ดุ ดงั นี้

รอยละ 83 เรยี นรูจากการดู, เหน็
รอ ยละ 11 เรียนรูจากการดม
รอ ยละ 10 เรียนรจู ากการฟง
รอ ยละ 2 เรียนรูจากการสัมผัส
รอยละ 1 เรยี นรูจากการชมิ
จากผลการศึกษาคน ควาดงั กลาวจะเหน็ ไดวา มนษุ ยม ีการเรยี นรูด ว ยตามากท่ีสดุ เพราะฉะนน้ั คนที่
สามารถสรางภาพท่เี กิดจากความคดิ ของตนเองใหผูอื่นเห็นและเขา ใจภาพน้ันได จะไดเปรียบเพราะคนเหน็
ภาพนัน้ ก็จะจาํ ความคิดน้ันไดนาน แตผ ลการรบั รหู รอื การเรียนรนู ัน้ จะคงทนถาวรหรอื ไมน้นั อยทู ่ีวธิ กี ารไดมา
ซง่ึ ความรูนัน้ ๆในการเรยี นรขู องบคุ คลเรานนั้ จะเกดิ ขึน้ ต้ังแตเริ่มมีชวี ติ และเปน ท่รี ูกนั โดยทั่วไปวาการเรยี นรไู ด
ดีทีส่ ดุ นนั้ จะตองลงมือปฏิบัติดว ยตนเองหรอื เปน การเรียนรูโดยประสบการณตรงดงั สุภาษิตท่กี ลาววา “สิบปาก
วาไมเทา ตาเหน็ สบิ ตาเหน็ ไมเทามอื คลาํ สิบมือคลําไมเ ทาลองทาํ ดู” ซ่งึ สอดคลอ งกบั ผลการวิจยั ประสิทธิผล
ของการเรยี นรูข องบคุ คลดวยวธิ ีการตา งๆ

1 นักศกึ ษาหลกั สูตรครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช

2.รปู แบบการเรียนรขู องมนุษยแบงตามลกั ษณะการรบั ขอมูล
รูปแบบการเรยี นรูของมนุษยแ บง ตามลกั ษณะการรับขอมลู พบวา มนุษยส ามารถรบั ขอมลู โดยผาน

เสนทางการรับรู 3 ทางใหญๆ คอื การรบั รทู างสายตาโดยการมองเหน็ (Visual percepters) การรับรทู าง
โสตประสาทโดยการไดย นิ (Auditory percepters) และ การรบั รทู างรา งกายโดยการเคลอื่ นไหวและการ
รูสึก (Kinesthetic percepters) ซ่งึ สามารถนาํ มาจดั เปนประเภทของการเรยี นรูได 3 ประเภทใหญ ๆ ผู
เรียนรแู ตล ะประเภทจะมีความแตกตา งกันคอื

2.1 ผทู เ่ี รียนรูท างสายตา (Visual learner) เปน พวกทีเ่ รียนรูไดดถี าเรยี นจาก
รูปภาพ แผนภูมิ แผนผงั หรือจากเนื้อหาท่เี ขยี นเปน เร่อื งราว เวลาจะนกึ ถึงเหตกุ ารณใด กจ็ ะนกึ ถงึ ภาพ
เหมอื นกับเวลาที่ดูภาพยนตรคอื มองเห็นเปน ภาพทสี่ ามารถเคลื่อนไหวบนจอฉายหนังได เน่อื งจากระบบเก็บ
ความจําไดจดั เก็บส่ิงท่เี รียนรูไวเ ปนภาพ ลักษณะของคําพูดท่คี นกลุม นช้ี อบใช เชน “ฉันเหน็ ” หรอื “ฉนั
เหน็ เปนภาพ…..”

พวก Visuallearner จะเรียนไดดีถาครูบรรยายเปนเรอ่ื งราว และทําขอสอบไดดีถาครูออกขอสอบใน
ลักษณะที่ผูกเปนเรื่องราว นักเรียนคนใดที่เปนนักอาน เวลาอานเน้ือหาในตําราเรียนที่ผูเขียนบรรยายใน
ลักษณะของความรู ก็จะนําเรื่องท่ีอานมาผูกโยงเปนเร่ืองราวเพื่อทําใหตนสามารถจดจําเนื้อหาไดงาย
ขึ้น เด็ก ๆ ท่ีเปน Visual learner ถาไดเรียนเน้ือหาท่ีครูนํามาเลาเปนเร่ือง ๆ จะนั่งเงียบ สนใจเรียน และ
สามารถเขยี นผูกโยงเปน เร่ืองราวไดดี ผทู ่เี รียนไดดีทางสายตาควรเลือกเรยี นทางดานสถาปต ยกรรม หรือดาน
การออกแบบ และควรประกอบอาชีพมัณฑนากร วิศวกร หรือหมอผาตัด พวก Visual learner จะพบ
ประมาณ 60-65 % ของประชากรทงั้ หมด

2.2 ผูที่เรียนรูทางโสตประสาท (Auditory Learner) เปนพวกท่ีเรียนรูไดดีท่ีสุดถาไดฟงหรือไดพ ดู
จะไมสนใจรปู ภาพ ไมสรา งภาพ และไมผ ูกเรอ่ื งราวในสมองเปน ภาพเหมือนพวกทเ่ี รยี นรูทางสายตา แตชอบ
ฟง เรือ่ งราวซา้ํ ๆ และชอบเลาเรื่องใหคนอ่ืนฟง คณุ ลักษณะพเิ ศษของคนกลุมนี้ ไดแก การมีทักษะในการได
ยิน/ไดฟง ทีเ่ หนือกวา คนอืน่ ดงั น้ันจึงสามารถเลา เรอื่ งตา ง ๆ ไดอ ยา งละเอยี ดลออ และรูจกั เลอื กใชค ําพดู

ผเู รยี นท่ีเปน Auditory learner จะจดจาํ ความรูไ ดดีถาครูพูดใหฟง หากครถู ามใหตอบ ก็จะ
สามารถตอบไดทันที แตถาครูมอบหมายใหไปอานตําราลวงหนาจะจําไมไดจนกวาจะไดยินครูอธิบายใหฟง
เวลาทองหนังสือก็ตองอานออกเสียงดังๆ ครูสามารถชวยเหลือผูเรียนกลุมน้ีไดโดยใชวิธีสอนแบบ
อภิปราย แตผทู เี่ รียนทางโสตประสาทก็อาจถูกรบกวนจากเสียงอื่น ๆ จนทาํ ใหเกดิ ความวอกแวก เสยี สมาธิใน
การฟงไดงายเชนกัน ในดานการคิด มักจะคิดเปนคําพูด และชอบพูดวา “ฉันไดยินมาวา……../ ฉันไดฟงมา
เหมือนกับวา ……”

พวก Auditory learner จะพบประมาณ 30-35 % ของประชากรท้ังหมด และมักพบใน
กลุมท่ีเรียนดานดนตรี กฎหมายหรือการเมือง สวนใหญจะประกอบอาชีพเปนนักดนตรี พิธีกรทางวิทยุและ
โทรทศั น นกั จดั รายการเพลง (disc jockey) นกั จติ วทิ ยา นักการเมือง เปน ตน

2.3 ผูที่เรียนรูทางรางกายและความรูสึก (Kinesthetic learner) เปนพวกที่เรียนโดยผานการ
รับรูทางความรูสึก การเคลื่อนไหว และรางกาย จึงสามารถจดจําส่ิงท่ีเรียนรูไดดีหากไดมีการสัมผัสและเกิด
ความรูสึกที่ดีตอส่ิงท่ีเรียน เวลานั่งในหองเรียนจะน่ังแบบอยูไมสุข น่ังไมติดท่ี ไมสนใจบทเรียน และไม
สามารถทําใจใหจดจออยูกับบทเรียนเปนเวลานาน ๆ ได คือใหนั่งเพงมองกระดานตลอดเวลาแบบ
พวก Visual learner ไมได ครูสามารถสังเกตบุคลิกภาพของเด็กที่เปน Kinesthetic learner ไดจากคําพูด
ทวี่ า “ฉนั รูส กึ วา……”

1 นกั ศกึ ษาหลักสตู รครศุ าสตรดุษฎบี ัณฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช

การแบงประเภทการเรียนรูออกเปน 3 ประเภทดังที่กลาวมาแลวขางตน เปนการแบงโดยพิจารณา
จากชองทางในการรับรูขอมูล ซ่ึงมีอยู 3 ชองทาง ไดแก ทางตา ทางหู และทางรางกาย แตหากนําสภาวะ
ของบุคคลในขณะที่รับรูขอมูลซ่ึงมีอยู 3 สภาวะ มารวมเขาดวยกัน จัดตามความหนักเบาจะสามารถแบง
ประเภทการเรยี นรูออกไดถ ึง 6 แบบ คือ

1) ประเภท V-A-K เปนผูท ่ีเรียนรไู ดด ีทีส่ ดุ หากไดอานและไดเ ลาเรือ่ งตา ง ๆ ใหผ อู น่ื ฟง เปน เดก็ ดที ี่
ขยนั เรยี นหนงั สือ แตไ มช อบเลน กฬี า

2) ประเภท V-K-A เปนผูที่เรียนรูไดดีที่สุดหากไดลงมือปฏิบัติตามแบบอยางท่ีปรากฏอยูตรงหนา
และไดตั้งคาํ ถามถามไปเร่อื ย ๆ โดยปกตจิ ะชอบทาํ งานเปนกลมุ

3) ประเภท A-K-V เปนผูท่ีเรียนรูไดดีที่สุดหากไดสอนคนอื่น ชอบขยายความเวลาเลาเรื่อง แต
มกั จะมปี ญ หาเกย่ี วกับการอา นและการเขยี น

4) ประเภท A-V-K เปนผูที่มีความสามารถในการเจรจาติดตอสื่อสารกับคนอื่น พูดไดชัดถอยชัด
คํา พดู จามีเหตมุ ีผล รกั ความจรงิ ชอบเรยี นวิชาประวัติศาสตร และวชิ าท่ีตองใชค วามคิดทุกประเภท เวลา
เรยี นจะพยายามพดู เพื่อใหต นเองเกิดความเขา ใจ ไมชอบเรยี นกีฬา

5) ประเภท K-V-A เปนผูทเี่ รยี นไดด ีที่สดุ หากไดทาํ งานท่ใี ชความคดิ ในสถานที่เงียบสงบ
สามารถทํางานท่ีตองใชกําลังกายไดเปนอยางดีโดยไมตองใหครูคอยบอก หากฟงครูพูดมาก ๆ อาจเกิดความ
สบั สนได

6) ประเภท K-A-V เปนผูที่เรียนไดดีหากไดเคล่ือนไหวรางกายไปดวย เปนพวกที่ไมชอบอยูน่ิง จึง
ถูกใหฉายาวาเปนเด็กอยูไมสุข มักมีปญหาเก่ียวกับการอานและการเขียน ตัวอยางเชน เด็กที่เปน Auditory
learner จะมปี ญหาคอื พดู มากที่สุดและมปี ญ หาเกยี่ วกับการเขียนมากทส่ี ุด

ตัวอยางเชน ผทู เ่ี ปน Visual learner (V) ในสภาวะของจิตสาํ นกึ เปน Kinesthetic
learner (K) ในสภาวะของจิตใตสาํ นกึ และเปน Auditory learner (A) ในสภาวะของจติ ไรสาํ นึก จะมลี ีลา
การเรยี นรูเปน ประเภท V-K-A เวลเดน (Whelden) นักจติ บาํ บดั และผใู หค าํ ปรึกษาในโรงเรยี นกลา ว
วา สวนใหญแลว พวกเราทุกคนจะมลี ลี าการเรียนรเู ฉพาะตัวเปน แบบใดแบบหน่ึงใน แบบนีเ้ สมอ โดยลลี าการ
เรียนรเู หลา นี้จะถูกกาํ หนดเปนแบบแผนที่ตายตัวเมื่ออายุประมาณ 7ขวบแตอาจเปล่ยี นแปลงไดในเด็กบางคน
ซง่ึ ก็เกิดขนึ้ ไมบอยนกั

ทฤษฎกี ารเรียนรูเ ชิงประสบการณ (Experiential Learning)

งานของโคลบและฟราย (Kolb and Fry. 1971 ; 1975 ; 1984) ก็เปนท่ีนิยมใชอางอิงถึงในการ
อภิปรายถึงประเด็นการเรยี นรจู ากประสบการณ โคลบ และ ฟราย (Kolb and Fry. 1975) ระบใุ นผลการวจิ ยั
วาขณะท่ีผูใหญเกิดการเรียนรูจากประสบการณตามรูปแบบการ เรียนรูท่ีตนถนัด และการเรียนรูก็จะเริ่มจาก
จดุ นน้ั แตผ ูใ หญก ็จะใชรปู แบบการเรียนรูหลาย ๆ รปู แบบแมวาจะไมม ากหรือไดผ ลเทากบั แบบทต่ี นเองถนัด

กระบวนการเรยี นรูจากทฤษฎีการเรยี นรูจากประสบการณ

1 นกั ศกึ ษาหลักสตู รครุศาสตรดุษฎบี ณั ฑติ มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช

ข้ันที่ 1 ประสบการณรูปธรรม เปนขั้นตอนที่ผูเรียนมีประสบการณตางๆ เนนการใชความรูส ึกและยึดถือสิ่งท่ี
เกดิ ขน้ึ จริงตามที่ตนประสบในขณะนั้น
ขั้นท่ี2 การไตรต รอง เปนขน้ั ตอนทีผ่ เู รียนมุงที่จะทําความเขา ใจความหมายของ ประสบการณทีไ่ ดร บั โดยการ
สงั เกตอยางรอบคอบเพ่อื การไตรต รองพิจารณา
ขั้นที่ 3 การสรุปเปนหลักการนามธรรม เปนขน้ั ทีผ่ เู รยี น
ข้ันที่ 4 การทดลองปฏิบตั ิจรงิ เปนขน้ั ตอนทผี่ เู รียนนํา เอาความเขา ใจที่สรุปไดในขัน้ ท่ี 3 ไปทดลองปฏบิ ัติจริง
เพื่อทดสอบวา ถูกตองหรือขั้นตอนน้ีเนนที่การประยุกตใช
ทฤษฎกี ารเรียนรูจากประสบการณ หรือ Experiential Learning Theory (ELT)

Post Views: 2,747
หลาย ๆ คร้ังอาจจะเคยไดย ินคาํ วา “Learning by doing” ซ่ึงมคี วามหมายตรงตัววา “การเรยี นรผู านการลง
มือทํา” โดยจดุ เดน ของการลงมอื ทาํ คือ การไดเ จอกบั ความทาทาย หรือ ประสบการณจริง

1 นกั ศึกษาหลักสูตรครุศาสตรดษุ ฎีบัณฑิต มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช

ยกตวั อยาง การเรียนการตอวงจรไฟฟา ถาเรยี นแตทฤษฎี ก็อาจจะไดเ หน็ มุมมองไมร อบดาน ดงั นั้นการลงมือ
ทาํ กจ็ ะชวยใหเ ราไดเห็นรอบดานมากข้นึ ซ่ึงหนึง่ ในงานท่ีไดรับการยอมรับอยา งมากในปจจบุ นั เปน งานของ
เดวดิ เอ. โคลบ (David A. Kolb) นักทฤษฎกี ารศกึ ษา ไดทาํ การพัฒนาและนําเสนอออกมาเปน ทฤษฎกี าร
เรียนรจู ากประสบการณ หรือ Experiential Learning Theory (ELT) “การเรียนรจู ากประสบการณ
(Experiential Learning) คือกระบวนการสรางความรู ทักษะ และเจตคติดวยการนาํ เอา ประสบการณเดิม
ของผูเรียนมาบูรณาการเพ่ือสรางการเรียนรใู หม ๆ ขึ้น” โดยมีจุดเดนทเี่ พมิ่ ขน้ึ มา คือการทบทวน
ประสบการณ หรือ นาํ ส่งิ ทล่ี งมือทาํ มาตกผลึกความคิด เพ่ือใหไดร บั รูถ งึ ความรใู หมท่ไี ดรับ เปน การนาํ ไปตอ
ยอดความรเู ดิม หรอื สามารถนําไปปรับใชในบริบทอ่นื ๆ สําหรับตัวเอง การท่เี รามปี ระสบการณ แตไมไดตก
ผลึก ก็เหมอื นกบั การท่ีเรารูเหมอื นเดมิ บางทีก็ลืมไดงา ย หรอื ไมรูวาควรนาํ ไปปรบั ใชตอไดอยา งไร เพราะขาด
สูตรสรปุ ประสบการณน ั้น ๆ ใหกบั ตัวเอง เนื่องจาก เดวดิ เอ. โคลบ เชอ่ื วา ในแตล ะคนมีรูปแบบการเรียนรู
(Learning Styles) ท่ีแตกตางกนั ออกไป

โดย เดวิด เอ. โคลบ นาํ เสนอวา การทจ่ี ะนาํ ทฤษฎนี ี้ไปใชใ หเกดิ การเรียนรู จําเปนตองผา นวงจรทงั้ 4 ขนั้
(Experiential Learning Cycle : ELT Cycle) ซง่ึ ประกอบไปดว ย
1. การนําตวั เองเขา ไปอยูใ นประสบการณ หรอื สถานการณใหม หรือ การตคี วามประสบการณทเ่ี กดิ ข้นึ มา
ใหม (Concrete Experience)
2. เมอ่ื เราไดเ ขาไปรบั ประสบการณใ หมน้นั ก็มักทําใหเ กดิ ความไมสอดคลองกันระหวางประสบการณแ ละความ
เขา ใจ ในขน้ั นี้เปนการลองสะทอน ลองทบทวนใหเกิดการตกผลกึ ความคิด ความรสู กึ และอารมณ โดย
อาศยั วิธกี ารตง้ั คาํ ถาม (Reflective Observation of the New Experience)
3. แนน อนวาการสะทอนมกั กอใหเ กิดแนวคิดใหม หรือ การดัดแปลงแนวคดิ เชิงนามธรรมที่มีอยู ซ่งึ
หมายความวา ผเู รยี นไดเรียนรูจ ากประสบการณข องตวั เองแลว (Abstract Conceptualization)
4. การเรียนรจู ะไมจบลงเพยี งแคการไดแ นวคิดใหม ดังนนั้ ในข้ันนผี้ ูเรียนจะไดล องใชค วามคิดกับบริบทรอบตัว
ของตัวเอง เพือ่ ดูวาเกดิ อะไรขึ้น (Active Experimentation)

1 นักศึกษาหลักสตู รครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช

ซงึ่ ถาหากในอนาคต ผเู รียนไดเขา ไปรับประสบการณใ หม ๆ เพมิ่ เขา มาอีก กใ็ หหมนุ วงจรกลบั ไปที่ข้ันแรก และ
ทาํ ตอ ไปจนขั้นที่ 4 อีกคร้ัง เพอ่ื ใหเ กดิ การเรยี นรูผา นประสบการณตรง

ซง่ึ ในการทํางานดานจติ วทิ ยาเชงิ บวก กไ็ ดนาํ ELT Cycle ไปปรบั ใชด ว ยเชน กนั
ยกตัวอยาง “การทาํ ใหเ ดก็ ไดร ูจักกบั อารมณเ ชิงบวก (Positive Emotions) ซง่ึ มีดวยกัน 10 อารมณท่ี
แตกตา งกัน ไดแก สนุกสนาน รสู กึ ขอบคณุ ซาบซ้ึง รูสกึ สงบ มแี รงบนั ดาลใจ มีความหวัง รกั รสู ึกเคารพ
รูสึกเพลดิ เพลนิ มีความตนื่ เตนสนใจ รสู กึ ภาคภูมใิ จ (Fredrickson, (2010,2011))”
บทสรปุ

การสอนแบบ 4 MAT System หมายถงึ กระบวนการเรียนการสอนท่ีคาํ นึงถึงความแตกตางระหวาง
บุคคลในเร่ืองรปู แบบการเรยี นรู โดยจัดแบงชวงเวลาการเรยี นใหเหมาะสมกับรูปแบบการเรยี นรูของผูเรียนใน
แตละเรอ่ื ง ยึดหลักการจัดประสบการณที่หลากหลาย ยืดหยนุ และเช่อื มโยงกนั อยา งตอเนือ่ งเพ่ือตอบสนอง
ผเู รยี นทุกแบบการเรยี นใหม โี อกาสไดเ รียนรู ไดป ฏบิ ัติกจิ กรรมที่ตนชอบและไดป รับตัวเรยี นรใู นแบบการเรียน
อืน่ ๆ ดวย และมกี ารจดั ประสบการณทีช่ วยกระตุน การพัฒนาสมองซีกซายและซกี ขวาเพอื่ ใหส มองท้ังสองซกี มี
พฒั นาการทสี่ มดุล ซ่ึงมีการจัดกิจกรรมการเรียนตามขนั้ ตอนของ McCarthy ดังน้ี

1. การบรู ณาการประสบการณดว ยตนเอง (Why)
ขน้ั ท่ี 1 สรางประสบการณ (สมองซีกขวา) ครสู รา งประสบการณด วยการกระตนุ

หรอื สรางแรงจงู ใจ ใหผ เู รยี นเชอื่ มโยงประสบการณเ ปน ของตนเอง
ขั้นท่ี 2 วิเคราะหประสบการณ (สมองซีกซาย) ครูใหผเู รียนสะทอ นความคิดจาก

ประสบการณและตรวจสอบประสบการณ
2.การพฒั นาความคดิ รวบยอด (What)

1 นักศึกษาหลักสตู รครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑิต มหาวิทยาลยั ราชภฎั นครศรีธรรมราช

ข้นั ที่ 3 บรูณาการการสังเกตไปสคู วามคดิ รวบยอด (สมองซีกขวา) ครูใหขอมูลขอ
เทจ็ จริง และจัดกิจกรรมไปสูค วามคิดรวบยอด ผูเ รยี นบรู ณาการประสบการณและความรไู ปสคู วามคิดรวบ
ยอด

ข้ันที่ 4 พฒั นาความคิดรวบยอด (สมองซีกซา ย) ครูใหผ เู รียนไดรับขอมลู หรอื
ขอเท็จจริงตามทฤษฎีหรอื ความคดิ ราบยอด ใหผ เู รยี นวเิ คราะหแ ละไตรต รองประสบการณ

3.การปฏิบตั ิและปรบั แตงเปนแนวคดิ ของตนเอง (How)
ขน้ั ท่ี 5 ปฏิบัตแิ ละปรับแตงเปนแนวคดิ ของตนเอง (สมองซกี ซา ย) ผูเรยี นลอง

ปฏบิ ัตโิ ดยผา นประสาทสัมผัส เพ่อื พัฒนาแนวคิดและทักษะ
ขนั้ ที่ 6 ปรับแตงเปน แนวคดิ ของตนเอง (สมองซีกขวา) ผูเ รียนปรบั ปรงุ สิ่งท่ีปฎบิ ตั ิ

ดวยวิธีการของตนเอง และบูรณาการเปน องคความรูของตนเอง
4.การบรณู าการและการประยุกตป ระสบการณ
ขนั้ ท่ี 7 วิเคราะตหเ พื่อนําไปประยุกตใ ช( สมองซีกซาย) ผเู รียนวิเคราะหแ ลววางแผน

เพ่ือประยุกตหรือดดั แปลงส่งิ ทีเ่ รยี นรไู ปใชป ระโยชนต อตนเองและผอู น่ื
ข้ันท่ี 8 แลกเปลยี่ นความรูของตนกับผูอ นื่ (สมองซีกขวา) ผูเรียนแลกเปลี่ยนส่งิ ที่

ไดเรยี นรมู ากับผอู ื่น
5 .ส่ือการเรียนการสอน
6. การประเมินผล

เอกสารอางองิ

มัสนา ตมุ ออน.[online]https://sites.google.com/site/muttanatumoon/wad-cakr-haeng-
kar-reiyn-ru-4-mat. วัฎจักรแหงการเรยี นรู ( 4 MAT ) .สบื คน เมื่อ วนั ท2ี่ 1 สงิ หาคม 2558.

อัจฉรา ไทยเจรญิ .[online]https://www.gotoknow.org/posts/219734 . 4 MAT การเรยี นรู
มหศั จรรย .สบื คน เมอื่ วันท่ี 21 สิงหาคม 2558.

สุรเดช ภาพันธ .[online]http://d8899.blogspot.com/2013/05/4-mat_4.html .ลกั ษณะของ
นวตั กรรมการเรยี นการสอนตามวฎั จกั รการเรยี นรู 4 MAT ๑.สบื คน เมื่อ วันท่ี 21 สิงหาคม 2558.

เกศสดุ า รชั ฎาวศิ ิษฐกุล. (2547). การพฒั นาการเรียนการสอนทสี่ นองตอรปู แบบการเรียน
ภาษาอังกฤษของนักศึกษาระดบั ปริญญาตรี มหาวทิ ยาลัย

ธรุ กจิ บณั ฑิต (วิทยานพิ นธศึกษาศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ สาขาหลักสูตรและการสอน,
มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร).

จินตนา เดชะปทุมวัน. (2549). การสอนอานที่ยึดรูปแบบการเรยี นของนกั เรยี นเพ่ือเพิ่มพูนความ
เขาใจในการอา นภาษาอังกฤษและเจตคติตอการอานของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปท ี่ 6 (วิทยานิพนธ
ศกึ ษาศาสตรม หาบัณฑติ สาขาการสอนภาษาอังกฤษ,มหาวิทยาลัยเชยี งใหม).

ประสาท อศิ รปรีดา. (2547). สารัตถะจติ วทิ ยาการศกึ ษา (พิมพค ร้งั ท่ี 5). มหาสารคาม: คณะ
ศกึ ษาศาสตรมหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.

1 นักศกึ ษาหลักสตู รครศุ าสตรดษุ ฎบี ณั ฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช

ราชพร บํารุงศรี. (2535). การวิเคราะหแบบการเรียนของนิสติ นักศึกษาตา งสาขาวิชา ตามทฤษฎี
การ
เรยี นรเู ชิงประสบการณ (วิทยานพิ นธค รศุ าสตรมหาบณั ฑติ , จฬุ าลงกรณมหาวิทยาลัย).
อารี พันธม ณี. (2546). จิตวทิ ยาสรางสรรคการเรยี นการสอน.กรุงเทพฯ: ใยไหม.
http://www.wijai48.com/learning_stye/developthinking/4math.htm
ทศพร แสงสวา ง. “การเรียนรูของมนษุ ย” นวัตกรรมและเทคโนโลยกี ารศกึ ษา มหาวทิ ยาลยั
เทคโนโลยรี าชมงคลธัญบุร.ี กรงุ เทพ.2552(ออนไลน) (ออนไลน)เขา ถงึ ได จาก
: https://2educationinnovation.wikispaces.com/การเรียนรูของมนุษย (วันท่คี น ขอมูล 25 กรกฎาคม
2559).
ทศิ นา แขมมณ.ี ศาสตรการสอน. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 2545
สรุ างค โควตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ จุฬาลงกรณม หาวทิ ยาลยั 2544 เขาถงึ ไดจ าก:
http://www.kroobannok.com/article-35946-ทฤษฎีการเรยี นรู.html. (วนั ที่คน ขอมูล 25 กรกฎาคม
2559).
Christy Visaggi and Jeffrey Young. (2020). Experiential Learning Theory. Senior
Faculty Associates for Signature Experiences. Retrieved
from https://myexperience.gsu.edu/faculty/resources/theory/
Fredrickson, B. (2010(2011)). Positivity: Groundbreaking Research to Release Your
Inner Optimist and Thrive. London: Oneworld Publications.
Saul McLeod. (2017). Kolb’s Learning Styles and Experiential Learning Cycle.
SimplyPsychology. Retrieved from https://www.simplypsychology.org/learning-kolb.html
JULY 22, 2020

1 นักศกึ ษาหลักสูตรครุศาสตรดษุ ฎบี ัณฑติ มหาวทิ ยาลยั ราชภฎั นครศรธี รรมราช


Click to View FlipBook Version