The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

รายงานการจัดโครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของชุมชนและโรงเรียน Stand Alone

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by rungnapa.wat, 2021-06-09 04:22:53

รายงานการจัดโครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของชุมชนและโรงเรียน Stand Alone

รายงานการจัดโครงการขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของชุมชนและโรงเรียน Stand Alone

รายงานการประชมุ เชงิ ปฏบิ ัตกิ าร
การขบั เคลือนโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน
และโรงเรียน Stand ALone

สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

นางสาวรุ่งนภา วัจนะพันธ์
ศึกษานิเทศก์ชํานาญการ

กลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
สํานักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

รายงานการขบั เคล่ือนโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเก็ต ก
คํานาํ
รายงานสรุปการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการขับเคล่ือนโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน และโรงเรียน Stand Alone
ประจําปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ฉบับน้ีจัดทําข้ึนเพื่อรายงานผลการดําเนินงานการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ
ขับเคล่อื นโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน และโรงเรียน Stand Alone ประจาํ ปงบประมาณ พ.ศ. 2564 ซึ่งจดั ข้ึน ใน
วนั ที่ 21 พฤษภาคม 2564 ณ หอ งประชุมโภคารักษ ชั้น 3 โรงเรยี นบา นสะปา “มงคลวทิ ยา” โดยมวี ตั ถุประสงค
เพ่อื ใหก ลุมเปาหมาย ไดแก โรงเรียนทอ่ี ยใู นโครงการโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรยี น Stand Alone โดย
มีผูอํานวยการโรงเรียนและ ครูวิชาการ หรือ ครูท่ีมีสวนเก่ียวของ ไดรับทราบ ทิศทางการดําเนินภารกิจงานการ
ขับเคล่ือนโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรียน Stand Alone ในฐานะผูจัดงาน ขอขอบคุณ ผูอํานวยการ
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต ไดแก ดร.ชุลีกร ทองดวง รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นายกิจธิชัย สารรัตน และ ผูอํานวยการกลุมนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัด
การศึกษา นางมาลัยพร รัตนดิลก ณ ภูเก็ต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต บรรยายใหความรู
รวมถึงผูเขารวมการประชุมและผูมีสวนรวมในการจัดการประชุม คร้ังน้ีทุกทาน ท่ีไดใหความรวมมือในการ
ดําเนนิ งานเปนอยา งดี

รงุ นภา วจั นะพนั ธ

รายงานการขบั เคลอ่ื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน สพป.ภเู ก็ต ข

เร่อื ง สารบัญ หนา
คาํ นํา ก
สารบญั บทนาํ ข
สว นที่ 1 ช่อื โครงการ 1
ความเชอ่ื มโยงความสอดคลอ งกับแผน 3 ระดบั
สว นท่ี 2 2
สวนท่ี 3 - ยุทธศาสตรช าติ 3
ภาคผนวก - แผนแมบท 3
- แผนการปฏิรูป 4
- แผนพฒั นาเศรษฐกจิ 5
- นโยบายและแผนระดบั ชาติ
หลกั การและเหตุผล 6
วตั ถปุ ระสงค
เปา หมาย
ผลทค่ี าดวา จะไดรับ
วิธีการและขั้นตอนการดําเนินงาน
วิธวี ัดผลและประเมินผล
ผลการดําเนินงาน

คาํ สง่ั / โครงการฯ / หนงั สอื แจง โรงเรียน
คาํ ส่ัง สพฐ.
ภาพแบบสอบถามออนไลน
ภาพถา ย

งานการขับเคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน สพป.ภูเก็ต ๑

สวนที่ 1 บทนํา

ชื่อโครงการ โรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน และโรงเรยี นStand Alone
สาํ นกั งานเขตพ้นื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ต ประจาํ ปง บประมาณ พ.ศ. 2564

ความเช่ือมโยง ความสอดคลองกับแผน 3 ระดบั ตามนัยของมติคณะรฐั มนตรี
เมื่อวนั ที่ 4 ธันวาคม 2560

1.1 ยทุ ธศาสตรชาติ (แผนระดบั ท่ี 1)
1) ยทุ ธศาสตรชาติ 3 ดานการพัฒนาและเสรมิ สรา งศักยภาพทรัพยากรมนุษย
(1) เปาหมาย คนไทยเปนคนดี คนเกง มคี ณุ ภาพ พรอมสาํ หรบั วิถีชีวิตในศตวรรษที่ ๒๑
(2) ประเด็นยุทธศาสตร ประเดน็ ที่ 4 ตระหนักถงึ พหุปญ ญาของมนุษยทีห่ ลากหลาย
(3) การบรรลเุ ปา หมายตามยุทธศาสตรชาติ ประเทศไทยมีระบบขอมูลเพ่ือการสงเสรมิ การ

พัฒนาศักยภาพตามพหุปญ ญา เพอื่ ประโยชนใ นการพฒั นาและการสงตอการพัฒนาใหเต็มตามศักยภาพ
เพิม่ ขึ้น

1.2 แผนแมบทภายใตยุทธศาสตรชาติ (แผนระดับที่ 2)
1) แผนแมบ ทภายใตย ุทธศาสตรช าติ ประเดน็ (12) การพฒั นาการเรยี นรู
(1) เปา หมายระดบั ประเด็นของแผนแมบทฯ
● เปา หมายท่ี 120101 คนไทยมีการศึกษาท่ีมคี ุณภาพตามมาตรฐานสากลเพิ่มขน้ึ

มีทักษะทจ่ี ําเปนของโลกศตวรรษท่ี 21 ความสามารถในการแกป ญ หา ปรับตวั ส่อื สาร และทาํ งานรว มกับผอู ่ืนได
อยางมีประสทิ ธิผลเพ่ิมขนึ้ มีนิสยั ใฝเรียนรอู ยางตอเน่ืองตลอดชีวติ การบรรลเุ ปา หมายตามแผนแมบ ทฯ

(2) แผนยอยของแผนแมบทฯ 12.1 การปฏิรปู กระบวนการเรียนรูท ี่ตอบสนองตอการ
เปลี่ยนแปลงในศตวรรษท่ี21

● แนวทางการพัฒนา 12.1
1) ปรบั เปลีย่ นระบบการเรียนรูสาหรับศตวรรษที่ ๒๑
2) เปล่ียนโฉมบทบาท “ครู” ใหเปนครูยคุ ใหม
3) เพ่ิมประสทิ ธภิ าพระบบบริหารจัดการศึกษาในทุกระดับ ทกุ ประเภท
4) พัฒนาระบบการเรียนรูตลอดชีวิต
5) สรา งระบบการศกึ ษาเพ่ือเปน เลิศทางวิชาการระดบั นานาชาติ

● เปา หมายของแผนยอย 120101 คนไทยไดร บั การศึกษาทม่ี ีคุณภาพตาม
มาตรฐาน มีทักษะการเรียนรู และทักษะท่ีจาํ เปนของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขา ถึงการเรยี นรูอยางตอเนอ่ื ง
ตลอดชวี ิตดีขน้ึ

● การบรรลุเปาหมายตามแผนยอยของแผนแมบ ทฯ คนไทยไดร ับการศึกษาท่ีมี
คุณภาพตามมาตรฐาน มีทกั ษะการเรียนรู และทักษะที่จําเปนของโลกศตวรรษที่ 21 สามารถเขาถึงการเรยี นรู
อยางตอเนื่องตลอดชีวติ ดขี ึน้



งานการขบั เคล่อื นโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภเู กต็ ๒

1.3 แผนการปฏิรูปประเทศ (แผนระดับที่ 2)
เร่ืองที่ ๕ : การปฏริ ูปการจัดการเรยี นการสอนเพื่อตอบสนองการเปลย่ี นแปลงในศตวรรษท่ี ๒๑
ประเดน็  การพฒั นาคณุ ภาพระบบการศกึ ษา

1.4 แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 12
1) ประเด็นท่ี 3 การเตรยี มพรอมดานกําลังคนและการเสริมสรา งศักยภาพของประชากรในทกุ

ชวงวยั มุงเนนการยกระดบั คุณภาพทนุ มนุษยของประเทศ
2) ยทุ ธศาสตรท ่ี 1 การเสริมสรา งและพฒั นาศกั ยภาพทุนมนษุ ย

1.5 นโยบายและแผนระดับชาติวาดว ยความม่ันคงแหงชาติ
1) นโยบายความมั่นคงแหง ชาตทิ ่ี 8 : เสริมสรางความเขมแขง็ และภมู ิคุมกนั ความม่ันคง
ภายใน

หลักการและเหตผุ ล
ตามนโยบายของ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งเปนนโยบายที่สอดรับกับ นโยบายของ
นายกรฐั มนตรี พลเอกประยุทธ จนั ทรโ อชา “จะไมทิง้ ใครไวขางหลัง” โดยมงุ เนนการพฒั นาโรงเรียนใหมีคุณภาพ
และไดมาตรฐานตามบริบทของตนเอง สรางโอกาสใหนักเรียนในพ้ืนท่ีไดรับการพัฒนาอยางเต็มท่ี เกิดความเทา
เทียมและครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อลดความเหล่ือมล้ําดานการจัดการศึกษาของประเทศ โดยมีโรงเรียนเปน
ศูนยกลางของชุมชน เปนตนแบบโรงเรียนท่ีมีคุณภาพ โดยโรงเรียนสามารถใหบริการการศึกษาอยางมีคุณภาพ มี
ความพรอ มในการจัดการเรยี นการสอน มีอุปกรณและสิ่งอาํ นวยความสะดวกที่เอื้อตอการเรยี นรู ผูบรหิ ารและครูมี
ความพรอมดานสมรรถนะ ศักยภาพ และความสามารถในการบริหารจัดการใหมีคุณภาพ สรางการมีสวนรวมใน
การสงเสรมิ และสนับสนุนกระบวนการบริหารการจัดการสถานศึกษาของเอกชน บาน วดั รฐั โรงเรยี น เพ่อื พัฒนา
ผูเ รยี น ซึ่งถอื เปนหลักประกนั กับชมุ ชนวา โรงเรยี นคณุ ภาพเหลานจ้ี ะสงเสริมและสนับสนนุ ใหน ักเรียนไดรับความรู
กระบวนการและทักษะที่จําเปนตอการธํารงตน ดํารงชีวิตในการเปนพลเมืองที่ดีของประเทศ ตลอดจนเปนศูนย
รวมหรือเปนแหลงการเรียนรูของชุมชน ใหชุมชนมีสวนรวมและเกิดความรูสึกเปนเจาของ สรางความเชื่อม่ันและ
ศรัทธาในการพัฒนาคุณภาพของโรงเรียนในการสงบุตรหลานเขามาเรียน นําไปสูการลดคาใชจายของผูปกครอง
โรงเรียน และชุมชน รวมกันจัดกิจกรรมทางการศึกษาท่ีเปนประโยชน เชื่อมโยงความสัมพันธกับชุมชนไดอยาง
ตอเนื่องและมีประสิทธิภาพโดยในปงบประมาณ2562เริ่มดําเนินการขับเคลื่อนในโรงเรียนประถมศึกษา ระดับ
ตําบลกอนและปงบประมาณ2563 พัฒนาไปสูโรงเรียนมัธยมศึกษา ระดับอําเภอ โรงเรียนพื้นที่พิเศษ (Stand
Alone) ตามลําดับ ซึ่งถือไดวาเปนการพัฒนาการศึกษาไทยในเชิงระบบอยางแทจริง ประกอบกับเม่ือวันที 2-3
พฤศจิกายน 2563 มีการประชุมคณะรัฐมนตรีสัญจรขึ้น ณ จังหวัดภูเก็ต และคณะรัฐมนตรีท่ีเก่ียวของไดออก
พ้นื ทเี่ พ่ือศึกษาขอ มลู ประเดน็ การขดั การศึกษา โดยใชพ ้ืนทเี่ ปนฐานในจงั หวดั ภูเก็ต ไดข อ สรปุ เบื้องตนวา ควรมีการ
สรางโรงเรียนที่มีคุณภาพสงู เทียบเคียงโรงเรียนนานาชาติ เพ่ือรองรับบริบทของจังหวัดที่เปนเมืองทองเที่ยวระดับ
นานาชาติ

สาํ นักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาภเู กต็ มี โรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน จํานวน 12
Clusterโรงเรียนมธั ยมดสี ีม่ มุ เมอื ง จํานวน 4 โรงเรียน และ โรงเรยี น Stand Alone จํานวน 3 โรงเรียน ทีม่ ี
คณุ ภาพ จาํ ตองสงเสรมิ ใหโรงเรยี นมีความเขมแข็งมีคุณภาพและมแี นวโนม ในการพัฒนาคุณภาพอยางย่ังยืน



งานการขับเคลอ่ื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน สพป.ภเู ก็ต ๓

วตั ถุประสงค
1. เพ่ือใหโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน จาํ นวน 12 Clusterโรงเรียนมัธยมดีสมี่ ุมเมือง

จํานวน 4 โรงเรยี น และ โรงเรยี น Stand Alone จํานวน 3 โรงเรียนมีความเขม แข็งทางวชิ าการ เปน สถานศกึ ษา
คุณธรรม มคี วามโปรงใสในการดาํ เนินงานของสถานศึกษา (ITA) และเปน แหลง เรยี นรดู า นคณุ ธรรม จริยธรรม
งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย เปน โรงเรยี นศูนยร วมการศึกษาท่ีมคี ณุ ภาพ สามารถใหบ รกิ ารการศึกษา แก
นักเรียน และชมุ ชน อยางมน่ั คง มัง่ ค่ัง และยงั่ ยืน

2. เพ่อื ใหผ ูบรหิ าร ครู และบคุ ลากรทางการศึกษา มีความพรอมในทุกดาน ท้ังสมรรถนะ
ศกั ยภาพ และความสามารถในการบรหิ ารจัดการ มีความคิดสรางสรรคน วตั กรรมการบริหาร การจัดการเรยี นการ
สอน สรางคลงั นวตั กรรมการเรยี นการสอน คลงั ความรูอยา งเปน รูปธรรมและมีความยงั่ ยืน

3. เพอ่ื สรา งโอกาสทางการศกึ ษาและลดความเหลื่อมลํา้ ทางการศึกษา ใหกบั เยาวชนที่ขาด
แคลนไดเติบโตเปน พลเมืองดี มที ักษะวชิ าการ ทักษะชวี ิต ทักษะอาชีพ

4. เพ่อื ใหน กั เรียนมีการพัฒนาดานคณุ ธรรม จรยิ ธรรม มคี วามรัก หวงแหนและความภมู ิใจใน
ชาติ

5. เพื่อสรางความรวมมือระหวา ง เอกชน บาน วัด/ศาสนสถานอ่ืนๆ รัฐ และโรงเรียน อยางเปน
รปู ธรรมและมีความม่ันคง ม่ังคง่ั และยงั่ ยนื

เปา หมาย
โรงเรยี นคณุ ภาพของชุมชน จํานวน 12 Cluster และ โรงเรยี น Stand Alone จํานวน 3

โรงเรียน ในสังกัดสาํ นักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต
ผลผลิต ผลลพั ธ

ผลผลติ (Output)
โรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน จํานวน 12 Cluster และ โรงเรยี น Stand Alone จํานวน

3 โรงเรียน ในจังหวดั ภเู ก็ตมีหองเรยี นคุณภาพที่เทยี บเทา โรงเรียนนานาชาติ มีความเขมแข็ง สามารถอยูไดดว ย
ตนเอง

ผลลัพธ (Outcome)
1) นักเรียนโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน จาํ นวน 12 Cluster และ โรงเรียน Stand

Alone จํานวน 3 โรงเรยี นในสังกดั สาํ นักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต นําความรู กระบวนการและ
ทกั ษะท่ีจําเปน ตอการธาํ รงตน ดาํ รงชวี ติ ไปใชในชีวติ ประจําวนั อยา งมีความสุข

2) มีโรงเรียนทม่ี คี วามเขมแข็งทางดา นการบรหิ ารจัดการ ดา นวชิ าการ มีการใช
ทรัพยากรอยางประหยดั คุมคา เกดิ ประโยชนสูงสุดตอ ชุมชน



งานการขับเคลื่อนโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภเู ก็ต ๔
ดชั นชี ว้ี ดั ความสําเรจ็ (KPIs)

รอ ยละ 100 ของโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน และ โรงเรียน Stand Alone มคี ุณภาพและได
มาตรฐานตามบรบิ ทของตนเอง มคี วามพรอ มในการจัดการเรยี นการสอน มีอุปกรณและสิง่ อาํ นวยความสะดวกที่
เอ้อื ตอการเรยี นรู และเปนโรงเรียนคณุ ภาพทีต่ อ งการของชุมชน

ผลท่ีคาดวาจะไดรับ
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน จํานวน 12 Cluster และ โรงเรยี น Stand Alone จาํ นวน 3

โรงเรียน มหี องเรยี นทีม่ ีคุณภาพ มีความเขมแขง็ ทางวชิ าการ เปน สถานศกึ ษาคุณธรรม และเปน แหลง เรียนรดู าน
คุณธรรม จรยิ ธรรม งานอาชีพ และสขุ ภาพอนามยั เปนโรงเรียนศนู ยร วมการศึกษาท่มี ีคุณภาพ สามารถใหบ รกิ าร
การศึกษาแกน กั เรียน และชุมชน อยา งมั่นคง มัง่ คั่ง และยั่งยืน และเปน โรงเรียนทมี่ คี ุณภาพเทยี บเทาโรงเรยี น
ตางๆ บนพ้นื ที่ราบของ สพป.ภูเกต็



งานการขบั เคล่ือนโรงเรียนคุณภาพของชุมชน สพป.ภเู กต็ ๕

สว นที่ 2 วิธกี ารและข้ันตอนดาํ เนินงาน

ระยะเวลาดําเนนิ โครงการ
เริม่ โครงการขบั เคลื่อนโรงเรยี นคณุ ภาพและโรงเรยี น Stand Alone
ประชมุ เชิงปฏบิ ตั กิ ารเพื่อขับเคลอื่ นหองเรียนคณุ ภาพ
พฤษภาคม 2564
ส้ินสุดโครงการโครงการขบั เคล่อื นโรงเรียนคุณภาพและโรงเรียน Stand Alone
มถิ นุ ายน 2564

วธิ กี ารและขน้ั ตอนการดาํ เนนิ งาน
การประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ เพ่ือขับเคลอ่ื นโรงเรียนคุณภาพของชุมชน จํานวน 12 Clusterและ

โรงเรยี น Stand Alone จํานวน 3 โรงเรยี น ในสังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ทีก่ ารศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็
วธิ วี ดั ผลและประเมนิ ผล

เคร่ืองมอื ที่ใชร วบรวมขอ มูล
แบบสอบถามความพึงพอใจของผูเขา รว มประชมุ เรอ่ื ง การขบั เคล่ือนหองเรียนคุณภาพของ
โรงเรียนชมุ ชน และโรงเรยี น Stand Alone รูปแบบการตอบแบบสอบถามแบบออนไลน



งานการขับเคลื่อนโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน สพป.ภเู กต็ ๖

สวนที่ 3 ผลการดําเนินงาน

ผลการประชุมเชิงปฏบิ ตั ิการ ขับเคลือ่ นภารกจิ การเฝา ระวงั ทางวัฒนธรรมในสวนภมู ิภาค ประจําป
งบประมาณ พ.ศ. ๒๕64 วันท่ี 21 พฤษภาคม 2564 ณ หอ งประชุมโภคารกั ษ ชั้น 3 โรงเรียน
บานสะปา “มงคลวิทยา”
โดยมีวัตถุประสงค เพ่ือให ผูบริหารและครวู ชิ าการ ในกลุมโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน 12 Cluster และ
โรงเรยี น Stand Alone 3 โรงเรียน เขา ใจและพัฒนาขบั เคลอ่ื นไปในทศิ ทางเดียวกนั ดงั นี้
๑. พิธเี ปดการประชุม

๑.๑ กลา วรายงาน โดย นางสาวรงุ นภา วจั นะพนั ธ ศกึ ษานิเทศกชาํ นาญการ
สืบเน่ืองจากสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ไดแจงจัดสรรงบประมาณรายจายประจําป
งบประมาณ 2564 เพื่อดําเนินการขับเคล่ือนการบริหารจัดการโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรียน Stand
Alone รายจายปงบประมาณ 2564 แผนงานยุทธศาสตรเพื่อสนับสนุนดานการพัฒนาและเสริมสรางศักยภาพ
ทรัพยากรมนุษย และเพ่ือที่จะไดรวมกันขับเคล่ือนไปในแนวทางเดียวกัน สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาภูเก็ต จึงไดดําเนินการจัดประชุมเชิงปฏิบัติการเพ่ือขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของชุมชน และ
โรงเรียน Stand Alone โดยกลุมเปาหมายประกอบดวย ผูอํานวยการและครูวิชาการ หรือ ครูท่ีมีสวนเก่ียวของ
โรงเรียนคุณภาพของชุมชน จํานวน 12 Cluster และโรงเรียน Stand Alone จํานวน 3 โรงเรียน ศึกษานิเทศก
รวมท้งั ส้นิ 50 คน สําหรับเน้อื หาและองคค วามรทู ี่จะถา ยทอดใหกบั กลุมเปา หมายในการประชมุ เชงิ ปฏิบัติการ ใน
ครง้ั นี้ ประกอบดวย



งานการขบั เคลอ่ื นโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภเู กต็ ๗

1.1.1 เพ่ือใหโรงเรียนคุณภาพของชุมชน จํานวน 12
Cluster และโรงเรียน Stand Alone
จํานวน 3 โรงเรียน มีความเขมแข็งทางวิชาการ เปน
สถานศึกษาคุณธรรม มีความโปรงใสการดําเนินงานของ
สถานศึกษา (ITA) และเปนแหลงเรียนรูดานคุณธรรม
จริยธรรม งานอาชีพ และสุขภาพอนามัย เปนโรงเรียน
ศูนยรวมการศึกษาที่มีคุณภาพ สามารถใหบริการ
การศึกษา แกนักเรียนและชุมชน อยางมั่นคง ม่ังคั่งและ
ยงั่ ยืน
1.1.2 เพื่อใหผบู รหิ าร ครูและบุคลากรทางการศกึ ษา มี
ความพรอมในทุกดาน ทั้งสมรรถนะ ศักยภาพ และ
ความสามารถในการบริหารจัดการ มีความคิดสรางสรรค
นวตั กรรมการบริหาร การจดั การเรียนการสอน สรางคลัง
นวัตกรรมการเรียนการสอน คลังความรูอยางเปน
รูปธรรมและมคี วามยั่งยืน

1.1.3 เพ่ือสรางโอกาสทางการศึกษาและลดความเหลอื่ มล้ําทางการศึกษา ใหกบั เยาวชนที่
ขาดแคลนไดเ ตบิ โตเปน พลเมืองดี มีทกั ษะวชิ าการ ทกั ษะชวี ิต และทักษะอาชีพ

1.1.4 เพ่อื ใหน ักเรยี นมกี ารพฒั นาดานคณุ ธรรม จริยธรรม มคี วามรัก หวงแหนและความ
ภูมิใจในชาติ

1.1.5 สรา งความรว มมอื ระหวางเอกชน บาน วัด/ศาสนสถาน อืน่ ๆ รฐั และโรงเรยี นอยา
เปนรปู ธรรมและมีความมนั่ คง มั่งคงั่ ยง่ั ยืน



งานการขบั เคล่ือนโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน สพป.ภเู ก็ต ๘

1.2 กลา วเปด โดย ดร.ชลุ กี ร ทองดวง
: ผูอ าํ นวยการสํานกั งานเขตพื้นที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ต

- การขับเคลื่อนโรงเรียนคุณภาพของ
ชุมชน และโรงเรียนStand Alone ถือ
เปนการดําเนินงานเชิงรุกท่ีรัฐบาล ให
ความสําคัญ หาจุดเนนของสถานศึกษาที่
ตองการพัฒนา โดยจุดเนนตองมีความ
สอดคลองกับความตองการของชุมชน
ผูปกครองและเหมาะสมกับทองถ่ินนั้นๆ
พัฒนาหลักสูตรที่รองรับอาชีพในอนาคต
ได เชนภาษาถิน่ ภาษาจีน ฯลฯ
- การพิจารณากําหนดเวลาเรียนให
เหมาะสมกับเน้ือหาวิชาการ จัดเวลาทํา
กิจกรรม ภาคเชา และภาคบาย ให
เ ห ม า ะ ส ม กั บ วั ย แ ล ะ ค ว า ม ส น ใ จ ข อ ง
ผูเรียน วิชาใดที่ตองใชเวลามากกวา 1
ชม. ใหดูตามความเหมาะสมและบริบท
ของผูเรียนเปน หลกั
- ก า ร จั ด ก ลุ ม ผู เ รี ย น คํ า นึ ง ถึ ง
ความสามารถและการรูจักนักเรียนเปน
ร า ย บุ ค ค ล เ ส ริ ม ทั ก ษ ะ 3 R8C ใ ห
สอดคลอ งกบั กลุมเปาหมาย

- 3R คือทักษะพื้นฐานทีจ่ ําเปนตอ ผูเ รยี นทุกคน มีดงั นี้
1. (R)Reading คอื สามารถอานออก
2. (W)Riteing คือ สามารถเขยี นได
3. (A)Rithmatic คอื มที ักษะในการคาํ นวณ

และอีกอยางท่สี ําคัญไมแพ 3R คอื 8C ซงึ่ เปนทกั ษะตางๆท่จี าํ เปนเชนกนั ซึ่งทุกทักษะสามารถนําไปปรบั
ใชใ นการเรยี นรูไดทุกวิชา มีดังนี้



งานการขบั เคลอื่ นโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภูเก็ต ๙

1. Critical thinking and problem solving คอื มีทักษะการคิดวเิ คราะห การคิดอยางมี
วิจารณญาณและสามารถแกไขปญหาได

2. Creativity and innovation คอื การคดิ อยา งสรา งสรรคและคิดเชิงนวัตกรรม
3. Cross-cultural understanding คือ ความเขา ใจในความแตกตางของวัฒนธรรมและ
กระบวนการคดิ ขามวัฒนธรรม
4. Collaboration teamwork and leadership คือ ความรว มมือ การทาํ งานเปนทมี และภาวะ
ความเปน ผูนาํ
5. Communication information and media literacy คอื มีทักษะในการส่ือสารและการรูเทา
ทนั สื่อ
6. Computing and IT literacy คือ มีทักษะการใชค อมพิวเตอรและรูเ ทา ทนั เทคโนโลยี
7. Career and learning skills คอื มีทักษะอาชีพและการเรียนรู
8. Compassion คือ มีความเมตตากรุณา มคี ุณธรรม และมรี ะเบยี บวินยั
ทักษะท้ังหมดท่ีไดก ลา วมาเปนส่งิ ท่ี
จําเปน สําหรบั นักเรยี นในยคุ การเรยี นรูแหง
ศตวรรษท่ี 21 เปนอยา งมาก ซง่ึ มคี วามแตกตาง
จากการเรยี นรใู นสมยั กอน ทําใหการเรียนรขู อง
นกั เรยี นในศตวรรษท่ี 21 มคี ุณภาพมากยง่ิ ข้ึน
นอกจากการศึกษาท่ีกาวหนาและมีคุณภาพแลว
การบรหิ ารโรงเรยี นหรือสถานศกึ ษาก็จําเปน ไม
แพกัน โรงเรียนหรือสถานศึกษาควรมรี ะบบ

บรหิ ารโรงเรยี นที่ดี เพ่ือพัฒนาควบคูไปกบั การเรียนการสอนภายในโรงเรยี น ระบบ”จับจาย for
School” เปนระบบบริหารงานโรงเรียนท่คี รอบคลมุ มากที่สดุ ทําใหการพัฒนาระบบบริหารโรงเรียนควบคกู บั
การศึกษาของนักเรียนเปนไปไดอยางงายมากขึ้นกวา สมยั กอน

ทักษะท่ผี ูบรหิ าร ครู ที่ตองพัฒนาอยางสม่าํ เสมอ โดยเฉพาะ Digital Literacy และ English Literracy
กลาววา สํานกั งานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน (สพฐ.) ไดมีการขับเคล่ือนทักษะภาษาอังกฤษสาํ หรับครใู น
ปการศกึ ษา 2564 ตามนโยบายของนายณัฏฐพล ทีปสุวรรณ รัฐมนตรีวาการกระทรวงศึกษาธิการ (รมว.ศธ.) ท่ี
ตองการใหค รมู ีสมรรถนะเพิม่ เตมิ ใน 3 เรอ่ื ง ไดแ ก



นการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็ ๑๐

1. ทกั ษะการใชภาษาไทยเพ่ือการส่ือสาร
และการนําเสนอ
2. ทักษะการสอนภาษาอังกฤษเพื่อการ
สอ่ื สาร และ
3. ทักษะความเขา ใจการใชเทคโนโลยี
ดจิ ิทัล (Digital literacy)
ซง่ึ เปนทักษะที่มีความสาํ คัญและเปน
เครอ่ื งมือสาํ หรับครูทีจ่ ะใชใ นการจดั การ
เรียนการสอนและส่ือสารกับนักเรยี น
อยา งเชน ภาษาไทย ถงึ แมว าจะเปนภาษา
ประจําชาติ แตห ากครูกับนักเรยี นสือ่ สาร
กนั ไมเขา ใจในประเด็นท่ีตอ งการพูดคยุ
สอื่ สารและการนาํ เสนอ ก็อาจสง ผลตอ
การเรยี นการสอนได

ดานภาษาองั กฤษเองก็เปน เครอ่ื งมือทีจ่ าํ เปน ในการแสวงหาองคความรเู พื่อใชในการจดั การเรียน
การสอนหรือใชใ นการสนทนา โดยเฉพาะอยา งย่ิงทักษะภาษาองั กฤษและทกั ษะการใชเทคโนโลยดี ิจทิ ลั
จากความจําเปน ดังกลาว สพฐ. จึงมีนโยบายใหครทู ําการประเมนิ ตนเอง เพื่อนาํ ไปพัฒนาตอยอดผานกลไกของ
ศนู ยพ ัฒนาศักยภาพบุคคลเพื่อความเปนเลิศ (Human Capital Excellence Center : HCEC)ของ สพฐ. ซึ่งเปน
ศูนยท ดสอบและพฒั นาศักยภาพบุคลากรของสพฐ.
ท่มี ีอยูทวั่ ประเทศ โดยในการประเมินทักษะภาษาองั กฤษ
จะมีดว ยกนั 6 ระดับ คอื A1 A2 B1 B2 C1 C2
เมื่อครปู ระเมินแลวไดระดับใด กใ็ หพ ฒั นาตนเองตอไปในระดบั
ทส่ี ูงข้นึ ตามลําดับ

๑๐

นการขบั เคลื่อนโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเก็ต ๑๑
และฝากเนน ย้าํ เร่ืองการเฝา ระวงั
และดูแลความปลอดภยั ในสถานการณ
การระบาดของของตดิ เชื้อไวรัสโคโรนา
โดยเนน ยํ้าใหคํานงึ ถึงความปลอดภัยของ
นักเรยี นเปนหลกั และการจัดการเรียน
การสอน 5 รูปแบบ ใหใ ชเ ปน ทางเลอื กใน
การจดั การเรียนการสอนตามความพรอม
และความสมัครใจของนักเรยี น และหารอื
ถงึ การเตรยี มความพรอมกอนเปด ภาค
เรียนซงึ่ จะมีกจิ กรรมทเ่ี ปนประโยชนผ าน
ส่อื การเรียนรตู างๆ ระบบออนไลน
นกั เรียนสามารถเลือกรับชมผานชองทาง
OBEC Channel / Facebook live /
Youtube live ตามความสมัครใจโดยไม
นําผลการเรียนมาใชในการประเมนิ
นอกจากน้ี สพฐ.
ดาํ เนนิ การแจงหนังสือราชการแนวทางการปองกันการแพรระบาดของโรคตดิ เช้ือไวรัสโคโรนา 2019 (โค
วดิ – 19) ไปยงั สาํ นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาทว่ั ประเทศ เชน
1. คมู ือดแู ลตวั เองสาํ หรับประชาชน
2. ประกาศ สพฐ. เรือ่ งมาตรการปอ งกนั และควบคุมการแพรร ะบาดของโรคติดเชอื้ ไวรสั โคโรนา 2019
(COVID – 19) ของบุคลากรในสังกดั สพฐ
3. ระบบประเมนิ ตนเองกอนเปด ภาคเรียน (TSC) ของสถานศกึ ษา
4. มาตรการเตรียมความพรอมกอนเปดภาคเรียนและแนวปฏบิ ตั ิสาํ หรบั สถานศกึ ษาระหวา งเปด ภาค
เรยี น (กรณสี ถานศึกษาจดั การเรยี นการสอนทโี่ รงเรียน : On-Site)
5. แบบฟอรม รายงานการตดิ เชอื้ ไวรสั COVID-19 สพฐ. ท้งั น้เี พ่อื ใชเปนแนวทางในการปฏิบัติ และเพื่อ
รายงานสถานการณม ายงั สพฐ. ตอ ไป

๑๑

นการขบั เคล่อื นโรงเรียนคณุ ภาพของชุมชน สพป.ภเู กต็ ๑๒
2. การมอบนโยบายการขบั เคลอ่ื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน และโรงเรยี น Stand Alone โดย
นายกิจธชิ ยั สารรัตน รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาภเู กต็

๑๒

นการขับเคลอื่ นโรงเรยี นคุณภาพของชุมชน สพป.ภเู ก็ต ๑๓
3. การแนะนําแนวทางในการจัดซอื้ วัสดุและการเบิกจา ย เพือ่ จดั ทําหอ งเรียนคณุ ภาพของชุมชน และ
โรงเรยี น Stand Alone โดย นางอรสา อุราพรรณอนันต ผูอํานวยการกลุมบริหารการเงินและสนิ ทรพั ย และนาย
บุญเสรฐิ ตณั ฑวณชิ นกั วชิ าการพัสดุชํานาญการพเิ ศษ สาํ นักงานเขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาภูเกต็
ช้ีแจง แนะนาํ การจดั ซื้อวสั ดแุ ละการเบิกจาย ทีถ่ ูกตอ งและไปในทิศทางเดียวกัน เพ่ือจัดทาํ หอ งเรยี น
คณุ ภาพของชมุ ชน และโรงเรยี น Stand Alone

๑๓

นการขบั เคลื่อนโรงเรียนคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็ ๑๔
4. การเนนยาํ้ การใชง บประมาณและการจัดทําหลักสตู ร เพ่ือจดั ทําหองเรียนคุณภาพของชุมชน และ
โรงเรียน Stand Alone โดย นางมาลยั พร รัตนดลิ ก ณ ภูเก็ต ผอู ํานวยการกลุมนเิ ทศ ติดตาม และประเมินผลการ
จัดการศึกษา สํานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาภูเก็ต

เนนยาํ้ การใชง บประมาณท่ไี ดรบั
ใหถูกตองตามวตั ถุประสงค ในการจัดทํา
หอ งเรยี นคุณภาพ ของโครงการโรงเรยี น
คณุ ภาพของชุมชน และโรงเรยี น Stand
Alone

การจดั ทําหลักสูตรใหกําหนด
โครงสรางใหม ีความสอดคลองกบั
หลกั สูตรแกนกลาง พ.ศ. 2551 จดั ใหมี
การบรู ณาการหลักสูตรทองถิ่น ใน
หลกั สูตรสถานศกึ ษา

ฝากเนน ยา้ํ การดูแลการปรบั กลมุ ขอคดิ เห็น ขอเสนอแนะ
สาระวิทยาศาสตรแ ละเทคโนโลยีและกลุม
การงานอาชพี

การเรียนรใู นคร้งั น้ี ท่ีทานไดร ับมีประโยชนอะไรบาง? และนาํ ไปตอ ยอดไดอยางไรบาง?

• ปรบั ยุทธศาสตร ความเขาใจเก่ียวกบั โรงเรียนคุณภาพของชุมชน และโรงเรียน Stand Alone มาก
ข้นึ

• โรงเรยี นคุณภาพของชุมชน และโรงเรียน Stand Alone มเี อกลกั ษณเปนของตนเอง ซ่ึงจะตอง
แตกตา งจากท่ีเปนอยู จะทาํ ใหเ ปนทน่ี าสนใจ ผเู รียนทอ่ี ยากมาเรยี น

• การนํานโยบายไปสูการจัดการในสถานศึกษา
• ความเปน มาของโครงการ เครือขา ยแตล ะ Cluster นโยบายกระทรวง นโนบายสพฐ. นโยบายสพป.

ภเู กต็ เปา หมายของโครงการ ตลอดจนวิธกี ารเบิกจายงบประมาณของโครงการฯ
• แนวทางการพฒั นาโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน และโรงเรียน Stand Alone
• แนวทางการบรหิ ารงานของโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน และโรงเรียน Stand Alone ใหม ีคุณภาพ

มากย่ิงขน้ึ
• การนํานโยบายไปสกู ารปฏบิ ัติ
• ความชัดเจนในการดําเนนิ งานขับเคลือ่ นนโยบาย
• เผยแพรความรูแกครูและสรางแนวทางรว มกันกบั คุณครู
• นาํ ไปประยุกตใชในการบรหิ ารงานในโรงเรยี น

๑๔

นการขับเคล่ือนโรงเรียนคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภเู ก็ต ๑๕
• นาํ ไปถายทอดใหก ับคุณครู นําไปปรับในหลักสูตร ปรับทัศนคตขิ องครผู สู อนตลอดจนกายภาพของ

โรงเรยี น
• มีแนวทางไปสูก ระบวนการพัฒนาสถานศึกษาใหมีคณุ ภาพ
• นาํ ไปใชใ นกระบวนการ การจัดการเรยี นการสอนในชนั้ เรยี นใหเปนไปตามนโยบายและเหน็ ผลในเชงิ

ประจกั ษมากขน้ึ
• กําหนดจดุ เนน กระบวนการพฒั นาคณุ ภาพการจัดการศึกษาใหเ กดิ ผลเปน รูปธรรม

๑๕

































ายงานการขบั เคลอื่ นโรงเรยี นคุณภาพของชมุ ชน สพป.ภูเก็ต

ภาคผนวก



ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


ายงานการขบั เคล่อื นโรงเรยี นคณุ ภาพของชมุ ชน สพป.ภูเกต็


การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

ลงทะเบียน

วั น ศุ ก ร์ ที 2 1 พ . ค . 6 4
ณ ห้ อ ง ป ร ะ ชุ ม โ ภ ค า รั ก ษ์

ร ร . บ้ า น ส ะ ปา

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

จุดธูปเทียน

พิ ธี ก า ร

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

กล่าวรายงาน

พิ ธี ก ร : ศ น . ภั ท ร า นิ ษ ฐ์ ข า ว ดี
ศ น . ล้ อ ม ศ กุ น ต์ เ อี ย ม ท อ ง กุ ล
ก ล่ า ว ร า ย ง า น : ศ น . รุ่ ง น ภ า วั จ น ะ พั น ธ์

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

ประธาน

ด ร . ชุ ลี ก ร ท อ ง ด้ ว ง
ป ร ะ ธ า น เ ป ด ก า ร ป ร ะ ชุ ม เ ชิ ง
ป ฏิ บั ติ ก า ร แ ล ะ บ ร ร ย า ย พิ เ ศ ษ
โครงการ...
ร ร . คุ ณ ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น
และโรงเรยน Stand ALone

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

ผู้เข้าร่วมประชุม

ผู้ บ ร ห า ร แ ล ะ ค รู ว ช า ก า ร
ร ร . คุ ณ ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น
12 Cluster และ
โรงเรยน Stand Alone
3 โรงเรยน
เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั ง นี

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

ผู้เข้าร่วมประชุม

ผู้ บ ร ห า ร แ ล ะ ค รู ว ช า ก า ร
ร ร . คุ ณ ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น
12 Cluster และ
โรงเรยน Stand Alone
3 โรงเรยน
เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั ง นี

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

ผู้เข้าร่วมประชุม

ผู้ บ ร ห า ร แ ล ะ ค รู ว ช า ก า ร
ร ร . คุ ณ ภ า พ ข อ ง ชุ ม ช น
12 Cluster และ
โรงเรยน Stand Alone
3 โรงเรยน
เ ข้ า ร่ ว ม ก า ร ป ร ะ ชุ ม ค รั ง นี

การขบั เคลือนโครงการโรงเรยี นคุณภาพ จ.ภูเก็ต
สาํ นักงานเขตพนื ทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

สาํ นักงานเขตพืนทีการศึกษาประถมศึกษาภูเก็ต

Designed by : V.rungnapa'64


Click to View FlipBook Version