โครงการพััฒนาทักั ษะบุคุ ลากรด้า้ นระบบอัตั โนมัตั ิิ หุ่น่� ยนต์์ และระบบอัจั ฉริยิ ะ
(Automation Robotics & Intelligent System: ARI Skill Development Project)
" เ พื่�่ อ ส ร้้ า ง บุุ ค ล า ก ร เ พื่�่ อ ร อ ง รัั บ ค ว า ม ต้้ อ ง ก า ร ข อ ง อุุ ต ส า ห ก รร ม A R I
ตามนโยบาย EECi ของประเทศ โดยผู้�้เข้้าร่่วมโครงการสามารถนำำ�ความรู้�้ ที่่�ได้้
ไ ป ส ร้้ า ง น วัั ต ก รร ม เ ชิิ ง พ า ณิิ ชย์์ โ ด ย ใ ช้้ เ ท ค โ น โ ล ยีี A R I เ พื่�่ อ ย ก ร ะ ดัั บ
อุุตสาหกรรมเป้้าหมายตามนโยบาย Thailand 4.0 ในอนาคต "
เขตอุตุ สาหกรรมซอฟต์์แวร์์ประเทศไทย
มุ่่�งมั่่น� ส่ง่ เสริิม สนัับสนุนุ พััฒนาบุุคลากรและนวััตกรรม
ให้้มีีความพร้อ้ มเท่่าทันั ต่่อการเปลี่่�ยนแปลงของโลก
และความก้้าวหน้า้ ทางเทคโนโลยีี
โดยเน้้นการบริิหารจััดการ การร่่วมมือื กัับพัันธมิติ ร
เพื่่�อร่่วมสร้า้ งระบบนิเิ วศที่่เ� อื้้อ� ต่่อการพััฒนากำ�ำ ลังั คนเฉพาะทางทักั ษะสูงู
ให้้สอดคล้้องกัับความต้้องการของประเทศ
และเพื่่� อร่่วมพัั ฒนาสร้้างสรรค์์นวััตกรรม
สำำ�หรัับชุมุ ชน สังั คม และประเทศ"
ดร.ภัทั ราวดีี พลอยกิิติกิ ููล
ผู้�อ้ ำำ�นวยการเขตอุตุ สาหกรรมซอฟต์์แวร์ป์ ระเทศไทย
4
"โครงการพััฒนาทักั ษะบุคุ ลากรด้า้ นระบบอัตั โนมัตั ิิ หุ่น�่ ยนต์์ และระบบอัจั ฉริยิ ะ
(ARI Skill Development Project)" เป็น็ การพััฒนาทักั ษะการสร้า้ งนวัตั กรรม
และการฝึกึ อบรมโดยเน้น้ นักั พััฒนาเทคโนโลยีี และผู้�้ ประกอบการเป็น็ เป้า้ หมายหลักั
โดยอาจารย์์ นิิสิิต นัักศึึกษา หรืือบุุคคลทั่่�วไปที่่�สนใจเป็็นเป้้าหมายรอง
ให้ม้ ีคี วามรู้ค�้ วามสามารถ เพื่่�อเพิ่่�มศักั ยภาพการแข่ง่ ขันั ตามนโยบายของประเทศ
ประกอบด้้วยกิิจกรรมย่่อยสองโครงการคืือ: (1) ARI Academy มุ่่�งเน้้น
การฝึกึ อบรมด้า้ นเทคโนโลยีี และวิศิ วกรรม เพื่่�อยกระดับั ทักั ษะ (UpSkill) ให้ก้ ับั
บุคุ ลากรสาขาวิชิ าชีพี คอมพิิวเตอร์์ และการเปลี่่ย� นทักั ษะ (ReSkill) ให้ก้ ับั บุคุ คลากร
ที่่ไ� ม่ไ่ ด้จ้ บการศึกึ ษาในสาขาดังั กล่า่ วโดยตรง แต่ม่ ีคี วามสนใจ และมีศี ักั ยภาพ
เพื่่�อแก้ไ้ ขปัญั หาการขาดแคลนบุคุ ลากรในสาขานี้้� และ (2) AI Innovation JumpStart
ซึ่่�งเป็็นการฝึึกทัักษะให้้กัับนัักพัั ฒนาเทคโนโลยีีและผู้้�ประกอบการให้้มีีความรู้�้
ความสามารถในการสร้า้ งนวัตั กรรม ARI ต้น้ แบบสู่่�เชิงิ พาณิชิ ย์์ และพััฒนาต่อ่ ยอด
ไปเป็น็ ผลิติ ภัณั ฑ์ท์ ี่่ใ� ช้ง้ านได้จ้ ริงิ ในอนาคต อันั เป็น็ การเพิ่่�มศักั ยภาพการแข่ง่ ขันั
ตามนโยบายของประเทศ
Smart Agiculture Smart Manufacturing Smart Living
& Logistics
Our
Activities
1 PR & Recruitment
2 Selection
3 Consulting
4 Training
6
1 PR & Recruitment
7
2Selectionกิิ จ ก ร ร ม คัั ด เ ลืื อ ก @ ข อ น แ ก่่ น :
วันั ที่่� 21 มกราคม 2563
ณ เขตอุตุ สาหกรรมซอฟต์แ์ วประเทศไทย
มีผี ู้ส้� มััคร : จำำ�นวน 12 ทีีม 48 คน
มาสััมภาษณ์์ : จำ�ำ นวน 12 ทีีม 20 คน
ผ่า่ นการคััดเลืือก : จำำ�นวน 10 ทีีม 40 คน
8
กิิจกรรมให้้คำ�ำ ปรึกึ ษา
ครั้้�งที่่� 1
13 มีีนาคม 2563
ครั้้ง� ที่่� 2
10 เมษายน 2563
ครั้้�งที่่� 3
8 พฤษภาคม 2563
ครั้้�งที่่� 4
12 มิิถุุนายน 2563
ครั้้ง� ที่่� 5
13 กรกฎาคม 2563
3Consulting
กิิจกรรม BootCamp: Design Thinking
วันั ที่่� 7-9 กุุมภาพัันธ์์ 2563
ณ โรงแรมวิชิ ชิ่่�ง ทรีี จัังหวััดขอนแก่่น
มีีผู้�้เข้้าร่ว่ มกิิจกรรม 10 ทีมี 40 คน
10
4Training
Fundamental of Machine Learning
วันั ที่่� 3-6 มีนี าคม 2563
ณ ห้อ้ งสัมั มนา2 ชั้้น� 9 อาคารเพีียรวิจิ ิติ ร
คณะวิศิ วกรรมศาสตร์์ มหาวิทิ ยาลัยั ขอนแก่น่
มีผี ู้เ้� ข้า้ ร่ว่ มอบรม 34 คน
Introduction to
Robot Operating System
(ROS) Workshop
วัันที่่� 4-7 สิิงหาคม 2563
ณ เขตอุตุ สาหกรรมซอฟต์แ์ วร์ป์ ระเทศไทย
มีผี ู้�้เข้้าร่่วมอบรม 30 คน
13
ARI
10A R I
Innovations
ARI
15
Facial
ระบบติิดตามตรวจสอบบุคุ คลด้้วยใบหน้้า
สะดวก ปลอดภััย
Facial คือื อะไร ?
ระบบติดิ ตามนักั เรียี นโดยการใช้ร้ ะบบ Face Recognition ในการระบุตุ ัวั บุคุ คล โดย
การใช้ใ้ บหน้า้ ในการตรวจสอบบุคุ คลเมื่่อ� เดินิ ผ่า่ นกล้อ้ งที่่ต� ิดิ ตั้้ง� ระบบของเราไว้โ้ ดย
สามารถนำ�ำ ไปใช้ไ้ ด้ท้ ั้้ง� สำ�ำ นักั งาน โรงงาน โรงเรียี น เพื่่�อความสะดวกของท่า่ นในการ
ตรวจสอบบุคุ คล
Facial ทำ�ำ อะไรได้บ้ ้า้ ง ?
ระบุวุ ันั เวลา เข้า้ -ออก ของบุคุ คลได้้
เก็บ็ ข้อ้ มููลไปยังั cloud ได้้
ส่ง่ ข้อ้ มููลผ่า่ น LINE ได้้
ป้อ้ งกันั การใช้ภ้ าพแทนได้้
: 084-409-9002 : [email protected]
Facial
Face Recognition System
ทำ�ำ ไมต้อ้ งเลือื กเรา
มีคี วามแม่น่ ยำ�ำ ในการตรวจจับั ใบหน้า้
ระบบส่ว่ นใหญ่อ่ ยู่่�บน cloud
มีคี วามแม่น่ ยำ�ำ ในการตรวจจับั ถึงึ 97 %
ราคาถููกกว่่าเจ้้าอื่่�นในตลาด
17
ระบบวิิเคราะห์แ์ ละจััดการจราจรในเขตเมืือง
ระบบวิิเคราะห์์และจััดการจราจร ปัญั หาและอุปุ สรรค
ในเขตเมืือง เป็็นระบบที่่�พัั ฒนาขึ้้�น 1. ใ น เ มื อ ง ใ ห ญ่ ส่ ว น ม า ก
เ พื่่� อ ก า ร จัั ด ก า ร ร ะ บ บ ก า ร จ ร า จ ร
ใ น เ มืื อ ง ใ ห ญ่่ โ ด ย อ า ศัั ย เ ท ค โ น โ ล ยีี มีกี ารจราจรติิดขัดั และไม่ม่ ีขี ้อ้ มููล
ม า ช่่ ว ย ใ น ก า ร วิิ เ ค ร า ะ ห์์ ข้้ อ มูู ล สำำ�หรัับการวางแผน ประเมินิ และ
การจราจร สำำ�หรัับนำ�ำ มาใช้้วางแผน วิิเคราะห์์การจราจรที่่�เป็็นปััจจุุบััน
จััดการจราจรในเขตเมืือง เพื่่� อให้้ 2. อุปกรณ์ส�ำรวจปริมาณจราจร
การจราจรคล่่องตััว มีีประสิิทธิิภาพ ส่ว่ นใหญ่่มีรี าคาสููง ใช้เ้ วลาในการ
ล ด อุุ บัั ติิ เ ห ตุุ แ ล ะ ก า ร เ สีี ย ชีี วิิ ต ติิดตั้้�งและมีีความยุ่่�งยากในการ
บนท้้องถนน ช่่วยขัับเคลื่่�อนให้้เมืือง เคลื่่อ� นย้า้ ย องค์ก์ รปกครองท้อ้ งถิ่่น�
มีี เ ส ถีี ย ร ภ า พ แ ล ะ คุุ ณ ภ า พชีี วิิ ต ส่่ ว น ใ ห ญ่่ ใ ช้้ ก ล้้ อ ง ว ง จ ร ปิิ ด
ของพลเมืือง ทำำ�ให้ก้ ารบริิหารจััดการ เพื่่� อดููภาพย้้อนหลัังหรืือภาพ
ระบบการจราจรได้ม้ าตรฐาน ปัจั จุบุ ััน ในบางครั้้�งเท่่านั้้น� ดังั นั้้�น
การใช้ป้ ระโยชน์จ์ ากภาพของระบบ
ตลอดจนพัั ฒนาสภาพการจราจร กล้อ้ งวงจรปิดิ โดยนำ�ำ มาวิเิ คราะห์์
โดยรวมให้้สามารถดึึงดููดนัักท่่อง สภาพการจราจร เพื่่� อนำำ�ไปใช้้ใน
เที่่ย� วได้ม้ ากขึ้้น� เพื่่�อสร้า้ งรายได้เ้ พิ่่�มใน การบริิหารจััดการการจราจรของ
อนาคต เมือื ง จะทำำ�ให้เ้ มือื งได้ร้ ับั ประโยชน์์
จากกล้้องวงจรปิิดเพิ่่� มมากขึ้้�น
: 084 034 3344 : [email protected]
: www.udoncity.go.th
เทศบาลนครอุดุ รธานีี
ระบบวิิเคราะห์์และจััดการจราจร
ในเขตเมืืองเทศบาลนครอุุดรธานีี
ก า ร วิิ เ ค ร า ะ ห์์ ภ า พ ก ล้้ อ ง ว ง จ ร ปิิ ด รูปู แบบชองผลิติ ภัณั ฑ์์
ด้ว้ ยเทคโนโลยีี AI Starter Package
1. สามารถตรวจจับยานพาหนะตาม
รองรับั แยกจำ�ำ นวนทั้้ง� สิ้้น� 8 แยก
ตำ�ำ แหน่ง่ ที่่ต� ้อ้ งการได้้ จำ�ำ นวนกล้อ้ งวงจรปิดิ ในระบบ16ชุดุ กล้อ้ ง
2. สามารถวเิ คราะหแ์ ละประเมนิ สภาพ
Standard Package
การจราจรเป็น็ ปัจั จุบุ ันั รองรัับแยกจำ�ำ นวนทั้้�งสิ้้�น 16 แยก
3. ร า ย ง า น ป ริ ม า ณ ก า ร จ ร า จ ร จำ�ำ นวนกล้อ้ งวงจรปิดิ ในระบบ 32 ชุดุ
กล้อ้ ง
ใ น แ ต่่ ล ะ ช่่ ว ง เ ว ล า สำ�ำ ห รัั บ
การวางแผน ประเมินิ และวิเิ คราะห์์ Advance Package
การจราจร รองรัับแยกจำ�ำ นวนทั้้�งสิ้้�น 32 แยก
4. สามารถรายงานผลการจราจรผา่ น จำ�ำ นวนกล้อ้ งวงจรปิดิ ในระบบ 64 ชุดุ
ระบบเครือื ข่า่ ยได้ห้ ลาแพลตฟอร์ม์ กล้อ้ ง พร้อ้ มระบบสนับั สนุนุ การใช้ง้ าน
ประโยชน์ท์ ี่่จ� ะได้ร้ ับั
1. สามารถจัดระบบการจราจรใน ต่อ่ ไปนี้้�
เ ข ต เ มืื อ ง ที่่� ส อ ด ค ล้้ อ ง กัั บ
สถานการณ์จ์ ราจรในปัจั จุบุ ันั • ระบบ Software หลักั ที่่ส� ามารถ Custom
2. ประชาชนสามารถตรวจสอบสภาพ หน้า้ ต่า่ งการใช้ง้ านได้้
การจราจรในปัจั จุบุ ันั ก่อ่ นออกเดินิ
ทางจากบ้า้ นได้้ • ระบบตรวจสอบสิทิ ธิ์์ก� ารเข้า้ สู่่�ระบบ และ
3. ใช้ประโยชน์จากกล้องโทรทรรศน์ ป้อ้ งกันั การเข้า้ สู่่�ระบบโดยผู้ไ�้ ม่พ่ ึึงประสงค์์ ตาม
วงจรปิดิ ได้อ้ ย่า่ งคุ้้�มค่า่ ข้อ้ กำ�ำ หนดในพระราชบัญั ญัตั ิขิ ้อ้ มููลส่ว่ นบุคุ คล
พ.ศ. 2562
• บริิการช่่วยเหลืือการใช้้งานระยะไกล
(Remote Helpdesk) ตลอด 24 ชั่่ว� โมง
• บริิการซ่่อมบำ�ำ รุุงอุุปกรณ์์ ณ สถานที่่�
ติดิ ตั้้ง� ภายใน 72 ชั่่ว� โมง
• รัับประกัันการใช้้งานระบบ 1 ปีีแรกและ
รับั ประกันั 1 ปีี ตลอดระยะเวลาที่่ต� ่อ่ สัญั ญารายปีี
19
ระบบตรวจวััดคุุณภาพอากาศอััจฉริิยะ
Intelligent air quality monitoring system
ปัญั หาฝุ่่น� ละอองขนาดเล็ก็ และมลพิิษทางอากาศที่่เ� กิดิ ขึ้้น� ในเขตพื้้�นที่่อ� ุตุ สาหกรรม
เขตเกษตรกรรม ส่ง่ ผลกระทบต่อ่ สุขุ ภาพของประชาชนในพื้้�นที่่� และชุมุ ชน ที่่จ� ะทำ�ำ ให้้
เกิดิ การเจ็บ็ ป่่วยด้ว้ ยโรคจากสิ่่ง� แวดล้อ้ ม ทั้้ง� โรคทางเดินิ หายใจ โรคปอด โรคหัวั ใจ
หลอดเลือื ด โรคมะเร็ง็ รวมถึงึ สุขุ ภาพอนามัยั แม่แ่ ละเด็ก็ เป็น็ ต้น้ ซึ่ง�่ ในแต่ล่ ะปีมี ีผี ู้เ้� สียี ชีวี ิติ
จากปัญั หามลพิิษทางอากาศทั่่ว� โลกเป็น็ จำ�ำ นวนมาก ทำ�ำ ให้ป้ ัญั หามลพิิษทางอากาศ
เป็น็ ปัจั จัยั เสี่่ย� งด้า้ นอนามัยั สิ่่ง� แวดล้อ้ มที่่ส� ำ�ำ คัญั ลำ�ำ ดับั ต้น้ ๆ การเก็บ็ รวบรวมข้อ้ มููล
คุุณภาพอากาศแบบ Real-time ในทุุกๆพื้้� นที่่�เสี่่�ยง ส่่งผลให้้เกิิดฐานข้้อมููล
ขนาดใหญ่่ Big Data ที่่�จะเป็็นประโยชน์์ต่่อการประมวลผลข้้อมููลทางอากาศ
การรายงานข้อ้ มููลสรุปุ การเฝ้า้ ระวังั การพยากรณ์์ การเตือื นภัยั และป้อ้ งกันั ทำ�ำ ให้้
ทางภาครััฐ ภาคธุุรกิิจ และภาคประชาชน ได้้มีีส่่วนร่่วมในการบริิหารจััดการ
คุณุ ภาพอากาศร่ว่ มกันั ทำ�ำ ให้เ้ กิดิ คุณุ ภาพชีวี ิติ ที่่ด� ีขี ึ้้น� ได้ ้
SO2 NO2 O3 PM2.5
CO
: +668 3079 4391 : [email protected]
Facebook : Avatar5.0 : 1333/18 หมู่่� 13 ต.จอหอ
อ.เมือื ง จ.นครราชสีีมา 30310
AVATAR
เพื่่�อคุุณภาพอากาศ เพื่่�อคุุณภาพชีีวิิต
เพื่�่ อคุุณ
Deep Learning
ได้้นำำ�เทคนิิคการเรีียนรู้้�เชิิงลึึกมาใช้้ในการประมวลผลข้้อมููลคุุณภาพอากาศ
สำ�ำ หรัับการพยากรณ์์ และการแจ้้งเตือื นอัจั ฉริิยะ
Real Time
รัับส่่งข้้อมููล Streaming แบบ real-time จากข้้อมููลเซ็็นเซอร์์ในแต่่ละสถานีี
สู่่�ระบบคลาวน์์ และแสดงผลสู่่�ผู้้ใ� ช้ง้ าน
Air Quality Sensors
มาตรฐานคุุณภาพอากาศตามกรมควบคุุมมลพิิษ สามารถตรวจจัับฝุ่่�นละออง
ขนาดไม่เ่ กิิน 2.5 ก๊า๊ ซโอโซน ก๊า๊ ซคาร์บ์ อนมอนอกไซด์ก์ ๊า๊ ซไนโตรเจนไดออกไซด์์
ก๊า๊ ซซัลั เฟอร์ไ์ ดออกไซด์์ และสามารถเพิ่่�มชนิดิ ของเซ็น็ เซอร์ไ์ ด้ต้ ามสถานะการณ์ต์ ่า่ งๆได้้
Cloud Computing
การประมวลผลข้้อมููล Machine learning บนระบบคลาวน์์ google ซึ่่�งมีี
ความสะดวกในการใช้้งาน และเป็็นระบบการเก็็บข้อ้ มููลที่่ม� ีีคุุณภาพ
Big Data
การประมวลลด้ว้ ยข้อ้ มููล real time การรับั ข้อ้ มููล
นำ�ำ เข้้าตลอดเวลา ข้้อมููลมีีปริิมาณมาก และ
เป็น็ ข้อ้ มููลที่่ห� ลากหลายจากเซ็็นเซอร์์
Warning
ระบบการแจ้้งเตืือนข้้อมููลอากาศที่่�ผิิดปกติิ
หรืือข้้อมููลฉุุกเฉิิน ตามที่่�ผู้�้ ดููแลระบบได้้ทำำ�การ
ตั้้�งระบบไว้้ ผ่่านแอปพลิเิ คชั่่�น LINE
AvatarWQ Application 21
แ อ ปพลิิ เ ค ชั่่� น ส า ม า ร ถ ต ร ว จ ส อ บ
ข้้อมููลเซ็น็ เซอร์์ ในแต่ล่ ะสถานีีฐานได้้แบบทันั ทีี
มีี ร ะ บ บ ก า ร แ ส ด ง ผ ล แ บ บ G U I แ ล ะ
การพยากรณ์์คุุณภาพอากาศ
Smart Hand
เครื่่�องบริหิ ารมืือ Electronic ป้อ้ งกัันและฟื้� น้ ฟูู
ผู้�้ป่ว่ ยที่่�มีีปัญั หาข้้อนิ้้ว� มืือติดิ
การบริิหารนิ้้�วมือื สำำ�หรับั ผู้้�ป่ว่ ยที่่�มีสี ภาวะข้อ้ นิ้้�วมืือติิด
มือื เป็น็ อวัยั วะที่่ส� ำ�ำ คัญั ในการทำ�ำ กิจิ วัตั รต่า่ งๆ เช่น่ การเข้า้ ห้อ้ งน้ำ�ำ� รับั ประทานอาหาร
ตลอดจนการทำ�ำ งาน อาจมีีสาเหตุุที่่�ทำ�ำ ให้้การใช้้งานมืือไม่่เหมืือนเดิิม เช่่น
โรคหลอดเลือื ดสมอง ผู้�้ สููงอายุุ ผู้�้ ที่่ไ� ด้ร้ ับั อุุบัตั ิเิ หตุทุ างแขนและมืือ ส่ง่ ผลต่่อการ
ใช้้งานมืือและนิ้้�วที่่�ไม่่เหมืือนเดิิม เกิิดจากการไม่่ได้้เคลื่่�อนไหวข้้อเป็็นเวลานาน
จนไม่่สามารถใช้้มืือหยิิบจัับสิ่่�งของ หรืือกิิจวััตรประจำำ�วัันได้้ ป้้องกััน
โดยช่่วยผู้�้ ป่่วยขยัับข้้อต่่างๆ ในข้้างที่่�ไม่่มีีแรง (passive exercise) ดัังนั้้�น
จึึงต้้องมีีผู้้�เชี่่�ยวชาญอย่่างนัักกายภาพบำำ�บััดช่่วยในการบริิหาร เพื่่� อไม่่ให้้นิ้้�ว
เกิิดติดิ อย่่างรุุนแรงจนไม่ส่ ามารถกลัับมาเป็็นปกติิได้้
ความจำ�ำ เป็็นในการบริิหารมืือ การใช้้
กายอุปุ กรณ์์ และนัักกายภาพ
เรียี กได้ว้ ่า่ จำ�ำ เป็น็ ทั้้ง� สิ้้น� ทั้้ง� วิธิ ีกี ารบริหิ าร
ก า ร ใ ช้้ อุุ ป ก ร ณ์์ แ ล ะ ก า ร มีี นัั ก ก า ย ภ า พ
คอยควบคุมุ และดููแล ดังั นั้้น� หากมีเี ครื่่อ� งมือื
ที่่ส� ามารถทำำ�งานได้้ครอบคลุุม ทั้้ง� วิิธีีการ
บริหิ ารมืือ เหมือื นมีนี ักั กายภาพคอยดููแล
จะดีีไหม เป็็นเครื่่�องมืือที่่�สามารถใช้้ใน
ครัวั เรืือน ในราคาที่่�เข้้าถึึงได้้
: 064-4529141 : [email protected]
: มหาวิิทยาลัยั นครพนม
Robot IAC NPU 01
Finger Protection and
Management Tools
เป็็นเครื่่�องมืือที่่�ออกแบบและสร้้าง Smart Hand ในโครงการ AI Innovation
โดยใช้้เทคโนโลยีีขั้้�นพื้้� นฐาน จากวััสดุุ JumpStrat เป็็นเครื่่�องบริิหารมืือ
ที่่ม� ีคี ุณุ ภาพสะดวก แต่ใ่ ห้ค้ วามปลอดภัยั Electronic ป้้องกัันและฟื้� น้ ฟูู ผู้้�ป่่วย
ในการใช้้งานกัับมนุุษย์์ ทั้้�งทางด้้าน ที่่�มีีปััญหาข้อ้ นิ้้ว� มือื ติดิ ที่่ท� ำ�ำ การพััฒนา
ระบบกลไกและระบบไฟฟ้า้ ที่่�ใช้้แรงดััน ตามกายภาพและสรีีระของมืือ ซึ่่�ง
3.7-7.5V เป็็นแรงดัันที่่�ไม่่ก่่อให้้เกิิด ยึึดหลัักการบริิหารนิ้้�วมืือเพื่่� อป้้องกััน
อัันตรายต่่อมนุุษย์์ ใช้้เป็็นอุุปกรณ์์ การติดิ ของข้อ้ โดยการออกกำ�ำ ลัังกาย
บริหิ ารฟื้�น้ ฟููและป้อ้ งกันั นิ้้ว� มือื ไม่ใ่ ห้เ้ กิดิ แบบหาพิิสัยั ของข้อ้ (ROM)เพิ่่�มความยืดื หยุ่่�น
ข้้อติิดอย่่างรุุนแรงโดยยึึดเครื่่�องมืือนี้้� ของเนื้้�อเยื่่�อต่่างๆ ซึ่่�งอาจเกิิดการ
เข้า้ กับั แขนของผู้ใ้� ช้ง้ านติดิ ตัวั ไปได้ใ้ นทุกุ ที่่� หดสั้้�นข้้อฝืืด หรืือข้้อติิด ทำ�ำ ให้้พิิ สััย
โดยกลไกชุดุ ควบคุมุ และแหล่ง่ จ่า่ ยพลังั งาน การเคลื่่�อนไหวของข้อ้ ลดลง
ยึึดติิดรวมเป็็นยููนิิตเดีียว ใช้้กลไก
เ ป็็ น ตัั วบัั ง คัั บ ก า ร เ ค ลื่่� อ น ที่่� ข อ ง มืื อ
และนิ้้ว� ในการยืดื เหยียี ด โดยยึดึ หลักั การ
Isokinetic exercise เป็น็ การออกกำ�ำ ลังั กาย
ที่่� ค ว า ม เ ร็็ ว ใ น ก า ร เ ค ลื่่� อ น ไ ห ว ค ง ที่่�
มีีการกำำ�หนดองศา การเคลื่่�อนไหว
ที่่�แน่่นอน จำ�ำ เป็็นต้้องใช้้อุุปกรณ์์ที่่�
เหมาะสม ใช้้สวิิตซ์์เปิิดปิิดการทำ�ำ งาน
แ ล ะ มีี ตัั วปรัั บ ร ะ ย ะ ยืื ด เ ห ยีี ย ด ไ ด้้
ใช้้คอนโทรลเลอร์์ในตระกลูู Arduino
ในการควบคุุม DC Servo Motor
ทำ�ำ งาน 180 องศา
23
AI FACE SCAN
Time Attendance System
ระบบดูแู ลและตรวจสอบ เวลาเข้้าออก
ระบบสแกนใบหน้า้ เข้า้ ทำ�ำ งานทดแทนเครื่่อ� งสแกนลายนิ้้ว� มือื
หรือื เครื่่อ� งตอกบัตั ร
: 062-7635868 AI FACE SCAN ทำ�ำ อะไรได้้บ้้าง
,090-6194528 สรุปุ ผลการมาปฏิบิ ัตั ิงิ านของพนักั งาน
: www.brtud.com คำ�ำ นวณ ชั่่ว� โมงการทำ�ำ งานของพนักั งาน
คำ�ำ นวณ ชั่่ว� โมงที่่ก� ิจิ การสููญเสียี ไป
: [email protected]
: 88/5 ม.1 ซ.สถานีีรถไฟ ถ.ทหาร
ต.หมากแข้้ง อ.เมือื ง จ.อุุดรธานีี 41000
สะดวก ลุ่่ม� น้ำ�ำ� โขงออนไลน์์
สบาย
รวดเร็ว็ AI รู้้� AI เห็็น อ๊๊ะ! อ๊๊ะ!
อย่่าลงทะเบีียนแทนกัันนะ
โปรแกรม
มีวี ิธิ ีกี ารทำ�ำ งานอย่่างไร
1. สะสมใบหนา้
2. ฝกึ ให้ AI เรยี นรใู้ บหนา้
3. ให้ AI ตรวจสอบใบหนา้
พนักั งานที่่ม� าลงทะเบียี น
เวลาเข้า้ -ออกงาน
25
27
Yolk
ระบบตรวจนัับไข่่ไก่่อััจฉริิยะ
ระบบตรวจนับั ผลผลิติ เป็น็ การนำ�ำ โปรแกรมคอมพิิวเตอร์ม์ าช่ว่ ยในการตรวจนับั
จำ�ำ นวนผลผลิติ หรือื วัตั ถุดุ ิบิ ที่่อ� ยู่่�ในระบบสายพานการผลิติ (Conveyor) โดยการ
พััฒนาระบบคอมพิิวเตอร์์วิิชั่่�นมาใช้้ตรวจสอบจำ�ำ นวน และพััฒนาโปรแกรม
คอมพิิวเตอร์เ์ พื่่�อแสดงผลการนับั จำ�ำ นวนแบบทันั ทีี (Realtime) สามารถเก็บ็ ข้อ้ มููล
และแสดงผลในรููปแบบดิจิ ิทิ ัลั ได้ท้ ันั ทีี ช่ว่ ยให้ผ้ ู้�้ ประกอบการลดขั้้น� ตอนที่่ต� ้อ้ งใช้แ้ รงงาน
และสร้า้ งฐานข้อ้ มููลของตนเองได้อ้ ย่า่ งมีปี ระสิทิ ธิภิ าพ
ประโยชน์ท์ ี่่จ� ะได้ร้ ับั
1. นบั จ�ำนวนผลผลติ ดว้ ยระบบคอมพิวเตอร์
ช่่ ว ย ล ด ภ า ร ะ ห น้้ า ที่่� ข อ ง พนัั ก ง า น
ที่่ต� ้อ้ งรายงานจำำ�นวนในแต่่ละช่่วงเวลา
2. ระบบแสดงผลการนับผลผลิตแบบทันที
(Realtime) ช่่วยบริิหารด้้านการตลาด
อย่่างมีีประสิทิ ธิิภาพ
3. การเก็บข้อมูลแบบดิจิทัล ช่วยลด
ขั้้�นตอนในการนำำ�เข้้าข้้อมููลและสามารถ
นำ�ำ ข้้อมููลไปใช้้วิิเคราะห์์ประกอบการ
ตััดสินิ ใจบริหิ ารฟาร์ม์ ไก่่ไข่่
: 091-8674481 : [email protected]
: 162/5 บ้้านแก่่นทอง ตำำ�บลบ้้านเป็ด็
อำำ�เภอเมือื ง จัังหวัดั ขอนแก่น่
Yolk
ระบบตรวจนัับไข่่ไก่่อััจอััฉริิยะ
ภาพรวมของระบบ
ระบบตรวจนับั ไข่่ไก่่
ส่่วนบันั ทึึกข้้อมููล
• กล้อ้ งบัันทึึกวิดิ ีีโอความละเอีียดสููง
• คอมพิิวเตอร์์สำ�ำ หรัับประมวลผล 1. ติดต้ังกล้อง เพ่ือบันทึกข้อมมูลบน
การเชื่่�อมต่อ่ สายพาน โดยกล้อ้ งสามารถเก็บ็ ข้อ้ มููล
• การเชื่่อ� มต้อ้ อินิ เตอร์เ์ น็ต็ แบบใช้ส้ าย ได้้กัับสายพานขนาดกว้้าง 1 เมตร
• การเชื่่�อมต่่ออิินเตอร์์เน็็ตไร้้สาย ความเร็็ว 300 เซ็็นติิเมตรต่่อนาทีี
4G Router
ส่่วนจััดเก็็บข้้อมููล
• Server, MySQL
ส่่วนแสดงผล 2. บันทึกข้อมูลดิจิทัลเข้ากับฐานข้อมูล
• แ ส ด ง ผ ล ผ่่ า น จ อ แ ส ด ง ผ ล
ของเครื่่�องตรวจนัับ
•แสดงผลผ่่าน Web Browser,
Application
ส า ม า ร ถ แ ส ด ง ผ ล ข้้ อ มูู ล ผ่่ า น
แอพพลิิเคชั่่�นและเว็็บบราวเซอร์์
เพื่่� อการเข้้าถึึงที่่�สะดวกสำ�ำ หรัับ
ผู้้�ประกอบการ 29
GROWUP ROBOTICS
หุ่่�นยนต์์เก็็บมะเขืือเทศ
หุ่่�นยนต์์ผู้้�ช่่วยเก็็บผลผลิิตการเกษตรยุุคใหม่่
ในประเทศไทยเมือื งแห่ง่ เกษตรกรรม มีกี ารใช้แ้ รงงานภาคเกษตรเป็น็ หลักั บาง
พื้้�นที่่ข� าดแคลนแรงงานในการทำ�ำ งานในจังั หวัดั ขอนแก่น่ มีพี ื้้�นที่่ป� ลููกมะเขือื เทศพัันธ์์
ต่า่ งๆ เช่น่ ราชินิ ีี หรือื สายพัันธ์ท์ ี่่ม� าจากต่า่ งประเทศ ซึ่ง่� มีมี ููลค่า่ ค่อ่ นข้า้ งสููง และมีี
การปลููกเพื่่�อเป็น็ อาหารสุขุ ภาพด้ว้ ย
Problems
ปัญั หาของสวนมะเขือื เทศคือื
คือื การใช้แ้ รงงานในการเก็บ็ มะเขือื
เทศ เนื่่อ� งจากผลผลิติ ออกทุกุ วันั
และมีจี ำ�ำ นวนมาก และการคัดั เลือื ก
สีที ี่่ส� ุกุ พร้อ้ มเก็บ็ ดังั นั้้น� ปัญั หา
ส่ว่ นใหญ่่ คือื ด้า้ นแรงงาน และ
การคัดั เลือื กคุณุ ภาพ
: 061-635-9638 : GrowupCropsThai
[email protected]
: 88/246 ซ.พััทยา 2 ถ.ฉิิมพลีี
ต.ในเมือื ง อ.เมือื ง จ.ขอนแก่่น 40000
GROWUP ROBOTICS
หุ่่�นยนต์์ผู้�้ช่่วยเก็็บผลผลิิต
การเกษตรยุุคใหม่่
GROWUP ROBOTIS
1. GROWUP ROBOTICS สามารถ
เคลื่่อ� นที่่แ� ละสามารถสร้า้ ง Map ได้้
2. Computer vision + AI วเิ คราะห์
Our Solution และจับั ภาพลููกมะเขืือเทศด้้วยสีี
GROWUP ROBOTICS เป็น็ หุ่่�นยนต์์ 3. Ro bo t A r m ส า ม า ร ถ เ ก็ บ
เก็็บผลมะเขืือเทศอััตโนมััติิ สามารถ ผลมะเขืือเทศได้้
เก็บ็ มะเขือื เทศได้ด้ ้ว้ ยการใช้เ้ ทคโนโลยีี 4. ควบคมุ ดว้ ยระบบ Web Application
AI + ROBOT + Computer vision
เพื่่� อทดแทนแรงงานคน สามารถ
ทำ�ำ งานได้้ ในเวลากลางวันั และกลางคืนื
31
โดรนอััจฉริิยะประเมิินที่่�ดิินเป็็นสิินเชื่�่อ
ความท้้าทาย
การพััฒนา Geoinformatics Science บนพื้้�นฐานของ GIS มาใช้ใ้ นการเพิ่่�มศักั ยภาพ
การพิิจารณาสินิ เชื่่อ� ให้ก้ ับั เกษตรกร โดยการตรวจสอบพฤติกิ รรมการเพาะปลููกพืืช
เกษตรชนิดิ ต่า่ งๆ ย้อ้ นหลังั หรือื ประเมินิ ความสามารถในการสร้า้ งรายได้ข้ อง
เกษตรกร (ผู้้�ขอกู้)้� โดยประยุกุ ต์ข์ ้อ้ มููลภาพถ่า่ ยดาวเทียี ม (Satellite Images) ร่ว่ ม
กับั ภาพถ่า่ ยทางอากาศจากโดรน (Drone Images) เพื่่�อสร้า้ งภููมิสิ ารสนเทศข้อ้ มููล
ดิจิ ิทิ ัลั ขนาดใหญ่่ (Digital Big Geo-Data) เช่น่ ค่า่ ดัชั นีคี วามอุดุ มสมบููรณ์ข์ องพืืชพรรณ
(Vegetation index: VI) ปริมิ าณความหนาแน่น่ ของพืืช (Plant density) ตำ�ำ แหน่ง่
ทางชีวี ภููมิศิ าสตร์ข์ องพืืช (Bio-geolocation) หรือื พื้้�นที่่เ� หมาะสมในการปลููกพืืช
ในแต่ล่ ะชนิดิ
: 091-8674481 : [email protected]
: 162/5 บ้้านแก่น่ ทอง ตำำ�บลบ้้านเป็็ด
อำ�ำ เภอเมือื ง จัังหวัดั ขอนแก่น่
DDM
ซึ่่�งข้้อมููลเหล่่านี้้� • Drone • Credit • Agriculture
• Estimate • Money
• Satisfy • Smart
จ ะ ถูู ก ป ร ะ ม ว ล ผ ล โ ด ย เ ท ค โ น โ ล ยีี
ปัญั ญาประดิษิ ฐ์์ (AI Classification)
ในการจำ�ำ แนกว่่าปลููกพืื ชชนิิดอะไร
มีีขนาดพื้้� นที่่�เท่่าไร และราคาขาย
ในท้อ้ งตลาด ณ เวลานั้้น� ๆ แบบอัตั โนมัตั ิิ
ผลลัพั ธ์ส์ ุดุ ท้า้ ยที่่ไ� ด้จ้ ะถููกนำ�ำ ไปประเมินิ ทำำ�ไมต้้องโดรนอััจฉริิยะประเมิินที่่�ดิิน
เป็น็ สินิ เชื่่อ� (Credit) ผ่า่ นระบบออนไลน์์ เป็น็ สินิ เชื่่อ�
ซึ่�่งนัับได้้ว่่าเป็็นการสร้้างนวััตกรรม เกษตรกร
ที่่�ให้้ประโยชน์์แก่่ทุุกฝ่่าย (Win-Win สามารถเข้า้ ถึงึ สิินเชื่่อ� ได้้มากขึ้้น�
Solution) เพื่่�อแก้ไ้ ขปัญั หาการเข้า้ ถึงึ ได้้รับั การสนับั สนุนุ อย่่างรวดเร็็ว
แหล่่งเงิินกู้้�ของเกษตรกรที่่�สามารถ มีขี ้อ้ มููลอ้้างอิงิ ในการขอสินิ เชื่่�อ
ใ ช้้ ข้้ อ มูู ล ส า ร ส น เ ทศ แ ท น ใ บ แ ส ด ง
รายการเงินิ เดือื น(Slip)และในขณะเดียี วกันั ธนาคาร
ก็็ เ ป็็ น ก า ร เ พิ่่� ม ข้้ อ มูู ล ส า ร ส น เ ทศ ลดความเสี่่ย� งและได้ล้ ููกค้า้ ใหม่เ่ พิ่่�มขึ้้น�
ที่่�ช่่วยในการตััดสิินใจ (Decision ประหยัดั เวลาในการพิิจารณาอนุมุ ัตั ิิ
Support System: DSS) การให้บ้ ริกิ าร สินิ เชื่่�อ
เป็น็ เครื่่อ� งมือื ในการติดิ ตามสินิ เชื่่อ�
สิินเชื่่�อของธนาคาร
หลังั อนุมุ ััติิ
สมการประเมินิ สินิ เชื่่�อ
ระบบทำำ�งานอย่่างไร
33
Smart Boiler
Smart Boiler เป็น็ ระบบแสดงข้อ้ มููลการทำ�ำ งานพร้อ้ มกับั การคำ�ำ นวณแสดงค่า่
ประสิทิ ธิภิ าพหม้อ้ ไอน้ำ��ำ , ค่า่ สัดั ส่ว่ นการโบลดาวน์์ และทำ�ำ การแจ้ง้ เตือื นการทำ�ำ งานของ
หม้อ้ ไอน้ำ��ำ ที่่บ� กพร่อ่ ง เช่น่ ปริมิ าณน้ำ�ำ� ในดรัมั น้อ้ ยผิดิ ปกติหิ รือื ค่า่ เขม่า่ ภายในหม้อ้ ไอน้ำ�ำ�
ที่่ม� ากจนเกินิ ไปจนทำ�ำ ให้ก้ ารแลกเปลี่่ย� นความร้อ้ นต่ำ��ำ เป็น็ ต้น้ โดยข้อ้ มููลและ การ
ควบคุมุ ต่า่ งๆ เหล่า่ นี้้จ� ะถููกนำ�ำ มาแสดงผล ควบคุมุ การทำ�ำ งาน และเลือื กโหมด
การทำ�ำ งานผ่า่ นทางหน้า้ จอระบบสัมั ผัสั
องค์ป์ ระกอบของระบบ Smart Boiler
ร ะ บ บ ค ว บ คุุ ม ก า ร ทำำ� ง า น ข อ ง ห ม้้ อ ไ อ น้ำ��ำ
ที่่�จะถููกพัั ฒนาขึ้้�นจะติิดตั้้�งเซ็็นเซอร์์ต่่างๆ
เพื่่� อใช้้ในการแสดงผลสถานะการทำ�ำ งาน
ของหม้อ้ ไอน้ำำ�� ดัังนี้้�
วัดั แรงดันั ไอน้ำ��ำ เซ็น็ เซอร์ต์ รวจวัดั ระดับั น้ำ��ำ
ภายในดรััม
วััดค่่าอุุณหภููมิิไอเสีียที่่�ปล่่อยออกจาก
ปล่อ่ งควััน
วัดั ค่า่ ปริมิ าณก๊า๊ ซออกซิเิ จนในก๊า๊ ซไอเสียี
วััดค่่าการนำ�ำ ไฟฟ้า้ ของน้ำ��ำ ป้้อนก่่อนเข้้าสู่่�
หม้้อไอน้ำำ��
วััดค่่าการนำำ�ไฟฟ้า้ ของน้ำำ��โบลดาวน์์
วัดั อุณุ หภููมินิ ้ำ�ำ� ป้อ้ นก่อ่ นเข้า้ สู่่�หม้อ้ ไอน้ำ�ำ�
วัดั อุณุ หภููมิอิ ากาศก่อ่ นเข้า้ สู่่�หม้อ้ ไอน้ำ�ำ�
: 081-9745248 : [email protected]
: คณะวิิศวกรรมเครื่่อ� งกล
มหาวิทิ ยาลััยขอนแก่น่
FEAT#3
ระบบแจ้้งเตืือนและแสดงผลการทำำ�งาน
ของหม้้อไอน้ำ�ำ� ใช้้งานง่่าย เพีียงพอ
ปลอดภััย และราคาถููก
เซ็น็ เซอร์ว์ ััดค่า่ ปริมิ าณก๊๊าซออกซิเิ จน
เป็น็ อุปุ กรณ์ร์ ัับค่า่ เข้้ามายัังตััวควบคุมุ
จากนั้้� นตัวั ควบคุมุ จะทำ�ำ การคำ�ำ นวนและ
ส่ง่ ค่า่ ที่่�ต้อ้ งการควบคุมุ ไปยัังมอเตอร์์
พัั ดลมของหม้้อไอน้ำ��ำ เพื่่� อควบคุุม
ปริมิ าณอากาศที่่เ� ข้า้ สู่่�หม้อ้ ไอน้ำ�ำ� ที่่เ� หมาะสม
อัลั กอลิทิ ึ่�่มการควบคุมุ ปริมิ าณอากาศ ซึ่�่งนอกจากจะใช้ต้ รรกะฟัซัซี่่�มาควบคุมุ
การควบคุมุ ปริมิ าณอากาศที่่�ใช้้ในการ ปริิมาณอากาศที่่� เข้้าสู่่�หม้้อน้ำ��ำ แล้้ว
เผาไหม้้จะใช้้ฟัซัซี่่�ลอจิกิ มาเป็น็ ตรรกะ จ ะ ใ ช้้ ใ น ก า ร ค ว บ คุุ ม ปริิ ม า ณ
ในการควบคุมุ โดยจะทำ�ำ การติดิ ตั้้� ง น้ำ��ำ โบลดาวน์์ แบบอัตั โนมัตั ิอิ ีกี ด้ว้ ย
หน้้าจอ HDML สำำ�หรับั แสดงผล
จะทำ�ำ การแสดงค่่าต่่างๆ ที่่�จำ�ำ เป็็นสำำ�หรัับหม้้อไอน้ำ�ำ� และทำ�ำ การแจ้้งเตืือน
เมื่่�อการทำำ�งานของหม้้อไอน้ำำ��บกพร่่อง และยัังใช้้ควบคุุมการการโบลดาวน์์,
ควบคุุมการทำำ�งานของปั๊�๊ม, ควบคุุมปริิมาณอากาศเข้้าสู่่�หม้้อไอน้ำำ�� เพื่่�อที่่�จะ
ใช้้ในการเผาไหม้้ และยัังสามารถเลืือดโหมดการทำ�ำ งานที่่�เหมาะสมตาม
ความต้้องการของผู้�้ใช้้งานได้้ด้้วย (โหมด Auto หรืือ โหมด Manual)
จอแสดงผลจะใช้จ้ อระบบสัมั ผััสเพื่่�อให้ง้ ่่ายต่่อการควบคุมุ 35
ABOUT TES
งานส่ง่ เสริมิ เ ท ค โ น โ ล ยีี เ ล็็ ง เ ห็็ น ถึึ ง
การเปลี่�่ยนแปลงทางเทคโนโลยีีและความสมดุลุ ของอุตุ สาหกรรมใหม่่
จึงึ มีีความมุ่่�งมั่�่นตั้้� งใจที่�่จะเป็น็ ECO System (1) ในการสร้้างและ
พัั ฒนาบุุคลากร (Professional Development) ที่�่เน้้น ARI:
Automation Robotics & Intelligence System ทั้้� ง Reskill และ
Upskill เพื่่� อส่่งมอบมืืออาชีีพ ที่�่ตรงกัับความต้้องการของตลาด
สู่่�อุตุ สาหกรรมนัับเป็น็ การถมตลาดที่�่ไม่ม่ ีีวัันเต็ม็ อีีกทั้้� ง (2) สร้้างโอกาส
ให้ก้ ลุ่่�มนัักพััฒนานวััตกรรมและเทคโนโลยีีด้้าน ARI สามารถก้้าวกระโดด
เข้้าสู่่�ธุุรกิิจเชิิงพาณิิชย์์ (Startup) ที่่�ตอบสนองต่่อความต้้องการ
ข อ ง ลููก ค้้ า เพื่่� อ ย ก ร ะ ดัั บ ขีีด ค ว า ม ส า ม า รถ ผู้้� ป ร ะ ก อ บ ก า รไ ท ย
ให้้ทััดเทีียมนานาประเทศ
36