The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasupit.reo17, 2021-03-22 22:41:39

พัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

Keywords: พัฒนาบุคลากร,เศรษฐกิจพอเพียง

41

ตาราง 5 แสดงค่าเฉลีย่ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเห็น อันดับ และภาพรวม
3. ด้านการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏบิ ตั ิจรงิ (ตอ่ )

รายการประเมิน N=81 ระดบั ความ อันดบั
S.D. คิดเห็น 23
27. มีสว่ นร่วมในการจดั ทนุ ของชมุ ชน/ที่ทางานอย่างมี มาก
ประสิทธภิ าพโดยใหช้ มุ ชน/ท่ีทางานเปน็ เจ้าของ 4.15 0.59 21
และเปน็ ผดู้ าเนินกิจการ มาก
4.21 0.56 15
28. มีส่วนในการรเิ ริ่ม สร้างสรรคน์ วตั กรรมของชุมชน/ มาก 1
ทท่ี างาน โดยใช้ปัญญาท้องถิ่นผสมผสานกับภูมิ 4.32 0.54 มากที่สุด 1
ปัญญาสากล 4.78 0.42 มากท่สี ด 1
4.78 0.42 มากท่ีสุด
29. มีส่วนท่ที าใหบ้ ุคลากรพ่ึงพาตนเองของครอบครวั 4.78 0.49
และชมุ ชนเปน็ เปา้ หมาย มาก
4.36 0.34
30. มสี ่วนร่วมในการยกย่อง เชดิ ชู ผทู้ ่ีปฏบิ ตั ิ และ
ดาเนินรอยตามแนวทางปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง

31. รว่ มยกยอ่ ง เชิงชู ผทู้ ป่ี ระสบความสาเรจ็ ในการใช้
ชวี ิตอยา่ งพอเพยี งของชุมชน/ทท่ี างาน

32. รว่ มยกยอ่ ง เชดิ ชู ผู้ท่ปี ระพฤติตนเปน็ บุคคลที่
สังคมใหก้ ารยกย่องและเอาเป็นเยีย่ วอยา่ งในการ
ปฏบิ ัติ
รวมเฉล่ีย

จากตาราง 5 พบวา่ การประเมนิ ดา้ นการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง โดย
ภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดบั มาก ( X = 4.36, S.D. = 0.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายขอ้ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด
คอื ร่วมยกย่อง เชดิ ชู ผ้ทู ป่ี ระพฤติตนเป็นบคุ คลทส่ี ังคมใหก้ ารยกยอ่ งและเอาเป็นเย่ียวอย่างในการปฏิบัติ, ร่วม
ยกย่อง เชิงชู ผู้ที่ประสบความสาเร็จในการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงของชุมชน/ที่ทางาน, ร่วมยกย่อง เชิดชู ผู้ท่ี
ประพฤตติ นเปน็ บุคคลทสี่ ังคมใหก้ ารยกย่องและเอาเป็นเย่ียวอย่างในการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด ( X
= 4.78, S.D. = 0.42 ) รองลงมา คือ ดารงชวี ิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตภาพและฐานะของ
ตน มีค่าเฉล่ียระดับมากที่สุด ( X = 4.56, S.D. = 0.52) และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ มีการจัดทาบัญชี

รายรับและรายจ่ายในครัวเรอื นมคี า่ เฉล่ยี อยใู่ นระดบั มาก( X = 3.79, S.D. = 0.59)

42

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

จากข้อมลู ทไี่ ด้สามารถนามาวเิ คราะห์ข้อมูล ดังน้ี
ตอน 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผตู้ อบแบบสอบถาม
ตอน 2 ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร

ตอน 1 ขอ้ มูลทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตาราง 6 แสดงขอ้ มูลทั่วไปผูต้ อบแบบสอบถาม

รายการ N =จานวน รอ้ ยละ
จานวน (คน)
1. เพศ 44
1.1 ชาย 36 56
1.2 หญิง 45 100.0
รวม 81
32
2. สังกัด 26 20
2.1 ศธภ. 16 12
2.2 ศธจ. 10 26
2.3 กศน. 21 5
2.4 สพป. 4 5
2.5 สพม. 4 100.0
2.6 อศจ. 81
รวม

จากตาราง 6 พบวา่ จานวนผู้ตอบแบบสอบถามมจี านวนทัง้ ส้นิ 81 คน ผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศ
ชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงานศึกษาธิการภาค 26 คน
คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 20 สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12 สานักงานเขตการศึกษา
ประถมศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26 สานักงานเขตการศึกษามัธยมศึกษา จานวน 4 คน คิดเป็น
ร้อยละ 5 และสานักงานอาชวี ศกึ ษา จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5

43

ตอน 2 ความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร
ตาราง 7 แสดงคา่ เฉลี่ย สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เหน็ และอนั ดับ

1. ความรูค้ วามเขา้ ใจ

รายการประเมิน N=81 ระดับความ อนั ดับ
คดิ เห็น
1. ก่อนการอบรมฯ S.D. 2
2. หลังการอบรมฯ 3.41 0.49 มาก 1
4.57 0.50 มากท่ีสดุ

จากตาราง 7 พบวา่ การเปรยี บเทียบความรูค้ วามเข้าใจก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้าอบรม มีความรู้
เขา้ ใจหลังอบรมฯ มีค่าเฉลีย่ อยใู่ นระดบั มากที่สุด ( X= 4.57, S.D. = 0.50) สูงกว่าก่อนอบรมฯ มีค่าเฉล่ียอยู่

ในระดบั มาก ( X = 3.41, S.D. = 0.49)

44

ตาราง 8 แสดงค่าเฉลีย่ สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เห็น และอันดับ
2. ความพงึ พอใจ โดยภาพรวม

รายการประเมนิ N=81 ระดับความ อนั ดบั
คดิ เหน็
1. ดา้ นกระบวนการ/ขน้ั ตอนการใหบ้ รกิ าร S.D. 4
2. ดา้ นบคุ ลากรผจู้ ดั การอบรมและคณะวทิ ยากร มาก 3
3. ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก 4.47 0.40 มากทีส่ ุด 2
4. ดา้ นคุณภาพการใหบ้ รกิ าร 4.74 0.29 มากทสี่ ดุ 1
4.86 0.27 มากทสี่ ดุ
รวมเฉลีย่ 4.87 0.26
4.72 0.25 มากทีส่ ดุ

จากตาราง 8 พบว่า การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.72, S.D. = 0.25) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านท่ีมี

คา่ เฉลี่ยสูงสดุ คือ ด้านคณุ ภาพการใหบ้ รกิ าร มคี ่าเฉลี่ยระดบั มาก ( X = 4.87, S.D. = 0.26 ) รองลงมา

คือ ด้านสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.86, S.D. = 0.27) และด้านที่มี

ค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการใหบ้ รกิ าร อยูใ่ นระดบั มาก ( X = 4.47, S.D. = 0.40)

45

ตาราง 9 แสดงคา่ เฉลีย่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เหน็ อนั ดบั และภาพรวม
3. ดา้ นกระบวนการ/ขนั้ ตอนการให้บริการ

รายการประเมนิ N=81 ระดับความ อันดับ
S.D. คดิ เห็น
1. การแจง้ หนงั สือเชญิ ให้ทราบในการเขา้ รับการอบรม
เขา้ ใจง่าย ชดั เจน 4.26 0.61 มาก 4

2. การต้อนรับและลงทะเบียนมีความรวดเร็ว 4.74 0.44 มากท่สี ุด 1
3. ระยะเวลาท่ีใช้ในการอบรมฯ เหมาะสม 4.35 0.67 มาก 3
4. ความชัดเจนในการอธิบาย/ชแ้ี จง 4.52 0.53 2
4.47 0.40 มากท่ีสดุ
รวมเฉลย่ี
มาก

จากตาราง 9 พบว่า ดา้ นกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บรกิ าร โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
ที่สุด ( X = 4.47, S.D. = 0.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ การต้อนรับและ

ลงทะเบยี นมีความรวดเร็ว มีค่าเฉล่ยี ระดบั มาก ( X = 4.74, S.D. = 0.44 ) รองลงมา คือ ความชัดเจนในการ

อธิบาย/ช้ีแจง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.52, S.D. = 0.53) และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ

การแจ้งหนังสือเชิญให้ทราบในการเข้ารับการอบรมเข้าใจง่าย ชัดเจน อยู่ในระดับมาก ( X = 4.26, S.D. =
0.61)

46

ตาราง 10 แสดงคา่ เฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อนั ดับ และภาพรวม
4. ด้านบุคลากรผู้จดั การอบรมและคณะวทิ ยากร

รายการประเมิน N=81 ระดบั ความ อนั ดบั
S.D. คดิ เห็น
1. มคี วามสุภาพ เปน็ มิตรเตม็ ใจให้บริการ
2. ใหบ้ ริการด้วยความสะดวกรวดเร็ว 4.85 0.36 มากทส่ี ุด 2
3. ดแู ลเอาใจใส่ กระตือรือรน้ 4.83 0.38 มากทีส่ ดุ 3
4. ใหค้ าอธิบาย/คาแนะนา/ตอบข้อซกั ถามได้เป็นอย่าง 4.68 0.47 มากทส่ี ุด 5
4.38 0.58
ดีและตรงประเดน็ มาก 7
5. วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถในการถา่ ยทอด 4.89 0.32
มากที่สุด 1
เน้อื หา 4.89 0.32
6. วิทยากรพูดไดต้ รงประเดน็ ชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย 4.70 0.46 มากทส่ี ดุ 1
7. วิทยากรมีการใช้เครื่องมือ สือ่ และอปุ กรณต์ า่ ง ๆ 4.54 0.53 มากที่สดุ 4
8. วทิ ยากรเปดิ โอกาสใหม้ ีการซกั ถาม และแสดงความ มากทสี่ ุด 6
4.85 0.36
คดิ เหน็ 4.74 0.29 มากที่สดุ 2
9. เนื้อหาเป็นประโยชนต์ ่อการปฏิบัตงิ านในหนา้ ท่ี มากที่สดุ

รวมเฉลย่ี

จากตาราง 10 พบว่า ด้านบุคลากรผู้จัดการอบรมและคณะวิทยากร โดยภาพรวม มี

ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.74, S.D. = 0.29) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ

วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา และวิทยากรพูดได้ตรงประเด็น ชัดเจน เข้าใจง่าย มี

ค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด ( X = 4.89, S.D. = 0.32 ) รองลงมา คือ เน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานใน

หน้าท่ี และมีความสุภาพ เป็นมิตรเต็มใจให้บริการ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.85, S.D. =
0.36) และด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ให้คาอธิบาย/คาแนะนา/ตอบข้อซักถามได้เป็นอย่างดีและตรงประเด็น
อยู่ในระดบั มาก ( X = 4.38, S.D. = 0.58)

47

ตาราง 11 แสดงคา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคิดเห็น อนั ดับ และภาพรวม
5. ด้านส่ิงอานวยความสะดวก

รายการประเมิน N=81 ระดบั ความ อนั ดบั
คดิ เห็น
1. สถานท่ีจดั การอบรมฯ มคี วามเหมาะสม S.D. 2
2. ความพรอ้ มของวัสดุ อปุ กรณ์สาหรับผเู้ ข้ารบั การ 4.88 0.33 มากท่ีสดุ 3
4.81 0.39 มากที่สุด
อบรมฯ
3. ความสะดวกของสถานท่จี ัดการอบรมฯ ในภาพรวม 4.89 0.32 มากท่สี ดุ 1
4.86 0.27 มากท่สี ุด
รวมเฉลีย่

จากตาราง 11 พบว่า ด้านสิ่งอานวยความสะดวกโดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.86, S.D. = 0.27) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ความสะดวกของสถานท่ี

จัดการอบรมฯ ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด ( X = 4.89, S.D. = 0.32 ) รองลงมา คือ สถานท่ี

จัดการอบรมฯ มีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.85, S.D. = 0.33) และด้านท่ีมี

ค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์สาหรับผู้เข้ารับการอบรมฯ อยู่ในระดับมาก ( X = 4.81,
S.D. = 0.39)

48

ตาราง 12 แสดงคา่ เฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เห็น อันดับ และภาพรวม
6. ดา้ นคุณภาพการให้บริการ

รายการประเมนิ N=81 ระดบั ความ อนั ดบั
S.D. คิดเห็น
1. ได้รับความรู/้ คาช้แี จง ที่ตรงกบั วัตถุประสงค์ของการ มากทส่ี ดุ 3
อบรมฯ 4.83 0.38
มากทีส่ ดุ 2
2. ได้รับความรู้ท่ีชดั เจนและตรงความต้องการ 4.85 0.36 มากทส่ี ดุ 1
3. ไดร้ ับความรู้ทีเ่ ป็นประโยชนส์ ามารถนาไปสู่การ 4.94 0.24
มากทสี่ ุด
ปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ ได้ 4.87 0.26
รวมเฉลยี่

จากตาราง 12 พบว่า ด้านคุณภาพการให้บริการ โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด
( X = 4.87, S.D. = 0.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ได้รับความรู้ท่ีเป็นประโยชน์

สามารถนาไปสู่การปฏิบัติงานตามภารกิจได้ มีค่าเฉล่ียระดับมากท่ีสุด ( X = 4.94, S.D. = 0.24 ) รองลงมา

คือ ได้รับความรู้ที่ชัดเจนและตรงความต้องการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.85, S.D. = 0.33)
และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ได้รับความรู้/คาช้ีแจง ที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการอบรมฯ อยู่ในระดับมาก
( X = 4.83, S.D. = 0.38)

49

4. ผลการประเมินอตั ราการรอดตายของต้นมะนาว
ตาราง 13 แสดงจานวนตน้ มะนาวรอดตาย

ผลการดาเนินงาน

ข้อมูลพื้นฐาน หน่วยวัด ปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

พ.ค.62 ม.ิ ย.62 ก.ค.62

ต้นมะนาว ตน้ 40

อัตราการรอดตายของต้นมะนาว ร้อยละ 100

ขอ้ มลู ณ 22 พ.ค. 62

จากตาราง 13 พบว่า ต้นมะนาว เจริญเติบโตดี ซึ่งมีการแตกใบอ่อนใหม่เป็นจานวนมาก จานวน

40 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 100 สูงกว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 80

50

บทท่ี 5

บทสรปุ

โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สรปุ ผลได้ดงั น้ี

1. สรุปผลการประเมนิ
2. อภปิ ราย
3. ขอ้ เสนอแนะ

สรปุ ผลการประเมิน
โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่ึงจากขอ้ มลู สามารถสรุป ดงั น้ี
1. สรปุ ตามเป้าหมายของโครงการ
2. สรุปตามการวเิ คราะห์ขอ้ มูล

1. สรุปตามเปา้ หมายของโครงการ
โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซง่ึ จากข้อมูลสามารถสรปุ ตามเปา้ หมาย ดงั นี้
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรที่เก่ียวข้องทุกสังกัดใน

พืน้ ที่เขตตรวจราชการที่ 17 จานวน 81 คน บรรลเุ ปา้ หมาย
2. ผู้เข้าอบรมมีผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรมคิดเป็นร้อยละ 89 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 บรรลุ

เป้าหมาย
3. ผเู้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ปลกู ตน้ มะนาว จานวน 40 ตน้ บรรลเุ ป้าหมาย
4. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา

และบุคลากรที่เก่ียวข้องทุกสังกัดในพื้นที่เขตตรวจราชการท่ี 17 มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก ( X = 4.40,

S.D. = 0.29) บรรลุเป้าหมาย
5. ความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด (

X = 4.72, S.D. = 0.25) บรรลเุ ป้าหมาย

6. การสารวจอัตราการรอดตายของต้นมะนาว ต้นมะนาวมีอัตราการรอดตายสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ

80 ( X = 100) บรรลเุ ป้าหมาย

51

2. สรปุ ตามการวิเคราะห์ขอ้ มลู
โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17

ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 ซึง่ จากวเิ คราะห์ขอ้ มูลสามารถสรปุ ได้ดังนี้
1. ผลเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธิก์ อ่ นและหลงั อบรมของผูเ้ ข้าอบรม
2. ผลการศกึ ษาการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัตจิ ริงของผู้เขา้ อบรม
3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เข้าอบรมทม่ี ีต่อโครงการพัฒนาบคุ ลากรตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
4. ผลการการประเมนิ อัตราการรอดตายของต้นมะนาว

1. ผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิกอ่ นและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมผลสัมฤทธ์ิหลัง

อบรมมีคา่ คะแนนเฉล่ยี 17.83 คิดเปน็ ร้อยละ 89 เพม่ิ สูงขึน้ กว่าก่อนอบรมมคี า่ คะแนนเฉล่ีย 13.36 คิดเป็น
รอ้ ยละ 67 และสงู กว่าเกณฑร์ ้อยละ 80 และแตกต่างอยา่ งมนี ัยสาคัญทางสถติ ทิ ่ี .05

2. ผลการศึกษาการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั จิ ริงของผู้เข้าอบรม
จากข้อมลู ทไี่ ดส้ ามารถนามาวเิ คราะหข์ ้อมลู ดังน้ี
ตอน 1 ขอ้ มูลทัว่ ไปของผู้เข้าอบรม
ตอน 2 การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบตั ิจริง

ตอน 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้เขา้ อบรม
ข้อมูลท่ัวไปของผู้เข้าอบรม 2 พบว่า จานวนผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนท้ังส้ิน 81 คน ผู้ตอบ

แบบสอบถามเป็นเพศชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงาน
ศึกษาธิการภาค 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 28
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4 สานักงาน
เขตการศกึ ษาประถมศกึ ษา จานวน 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26 สานกั งานเขตการศึกษามัธยมศึกษา จานวน 4
คน คิดเป็นร้อยละ 5 และสานักงานอาชีวศึกษา จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และการศึกษา ต่ากว่า
ปริญญาตรี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7 ปริญญาตรี จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 19 และสูงกว่า
ปริญญาตรี จานวน 60 คน คิดเป็นรอ้ ยละ 74
ตอน 2 การนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏบิ ตั ิจริง

1. โดยภาพรวมและรายด้าน พบว่า การประเมินการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ

ปฏิบตั จิ ริง โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( X = 4.40, S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเป็นด้าน ด้านท่ี

มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉล่ียระดับมาก ( X = 4.47, S.D. =

0.34 ) รองลงมา คอื ด้านการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติจริง มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก

( X = 4.36, S.D. = 0.34)

52

2. ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า การประเมินด้านการรับรู้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( X = 4.47, S.D. = 0.34) เมื่อพิจารณาเป็นราย
ข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ การรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ิมมากข้ึนทาให้พฤติกรรมในการบริโภค
เปลี่ยนไป มีค่าเฉล่ียระดับมากที่สุด ( X = 4.67, S.D. = 0.47 ) รองลงมา คือ ท่านคิดว่าการรับรู้ปรัชญา

เศรษฐกจิ พอเพยี งเปน็ สิง่ สาคญั ในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.62, S.D.
= 0.49) และข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ท่านมีความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มี
คา่ เฉลี่ยอย่ใู นระดบั มาก( X = 3.95, S.D. = 0.61)

3. ดา้ นการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง พบว่า การประเมินด้านการนา
หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั จิ ริง โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก ( X = 4.36, S.D.
= 0.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมคี ่าเฉลีย่ สูงสุด คือ ร่วมยกยอ่ ง เชดิ ชู ผู้ท่ีประพฤติตนเป็นบุคคลท่ีสังคม
ใหก้ ารยกยอ่ งและเอาเปน็ เย่ยี วอยา่ งในการปฏิบัติ, ร่วมยกย่อง เชิงชู ผู้ท่ีประสบความสาเร็จในการใช้ชีวิตอย่าง
พอเพียงของชุมชน/ท่ีทางาน, ร่วมยกย่อง เชิดชู ผู้ที่ประพฤติตนเป็นบุคคลท่ีสังคมให้การยกย่องและเอาเป็น
เย่ียวอย่างในการปฏิบัติ มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด ( X = 4.78, S.D. = 0.42 ) รองลงมา คือ ดารงชีวิตอย่าง

พอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตภาพและฐานะของตน มีค่าเฉล่ียระดับมากท่ีสุด ( X = 4.56, S.D. =
0.52) และขอ้ ท่ีมีคา่ เฉล่ียต่าสุด คือ มกี ารจัดทาบัญชีรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนมีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก
( X = 3.79, S.D. = 0.59)

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ตอน 1 ขอ้ มลู ท่ัวไปของผู้เขา้ อบรม
ตอน 2 ความพึงพอใจในคุณภาพการใหบ้ ริการ
ตอน 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผเู้ ขา้ อบรม
ข้อมูลท่ัวไปของผู้เข้าอบรม พบว่า จานวนผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งสิ้น 81 คน ผู้ตอบ
แบบสอบถามเป็นเพศชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 20
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12
สานกั งานเขตการศกึ ษาประถมศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26 สานักงานเขตการศึกษามัธยมศึกษา
จานวน 4 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 5 และสานกั งานอาชวี ศกึ ษา จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5

53

ตอน 2 ความพึงพอใจในคณุ ภาพการใหบ้ ริการ
1. ความรู้ความเข้าใจ พบว่า การเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้า

อบรม มีความรู้เข้าใจหลังอบรมฯ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X= 4.57, S.D. = 0.50) สูงกว่าก่อน
อบรมฯ มีค่าเฉล่ยี อยู่ในระดบั มาก ( X = 3.41, S.D. = 0.49)

2. ความพึงพอใจ โดยภาพรวม พบว่า การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการ
พัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.72, S.D. = 0.25) เม่ือพิจารณาเป็น

รายด้าน ดา้ นท่มี คี ่าเฉลย่ี สูงสดุ คอื ดา้ นคุณภาพการให้บริการ มีค่าเฉลี่ยระดับมาก ( X = 4.87, S.D. = 0.26

) รองลงมา คอื ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.86, S.D. = 0.27) และ

ด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ด้านกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการ อยู่ในระดับมาก ( X = 4.47, S.D. =
0.40)

3. ด้านกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการ พบว่า ด้านกระบวนการ/ข้ันตอนการให้บริการ โดย
ภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X = 4.47, S.D. = 0.40) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ีย

สูงสุด คือ การต้อนรับและลงทะเบียนมีความรวดเร็ว มีค่าเฉล่ียระดับมาก ( X = 4.74, S.D. = 0.44 )

รองลงมา คือ ความชัดเจนในการอธิบาย/ชี้แจง มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.52, S.D. = 0.53)
และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ การแจ้งหนังสือเชิญให้ทราบในการเข้ารับการอบรมเข้าใจง่าย ชัดเจน อยู่ใน
ระดับมาก ( X = 4.26, S.D. = 0.61)

4. ด้านบุคลากรผู้จัดการอบรมและคณะวิทยากร พบว่า ด้านบุคลากรผู้จัดการอบรมและคณะ
วิทยากร โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.74, S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ
ข้อทม่ี คี ่าเฉลีย่ สูงสดุ คือ วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดเน้ือหา และวิทยากรพูดได้ตรงประเด็น
ชัดเจน เข้าใจง่าย มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด ( X = 4.89, S.D. = 0.32 ) รองลงมา คือ เน้ือหาเป็นประโยชน์

ต่อการปฏิบัติงานในหน้าท่ี และมีความสุภาพ เป็นมิตรเต็มใจให้บริการ มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X =
4.85, S.D. = 0.36) และดา้ นทมี่ คี ่าเฉลี่ยตา่ สุด คือ ให้คาอธบิ าย/คาแนะนา/ตอบขอ้ ซกั ถามได้เป็นอย่างดีและ
ตรงประเดน็ อยใู่ นระดับมาก ( X = 4.38, S.D. = 0.58)

5. ด้านส่ิงอานวยความสะดวก พบว่า ด้านสิ่งอานวยความสะดวกโดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ใน
ระดับมากที่สุด ( X = 4.86, S.D. = 0.27) เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ความ

สะดวกของสถานที่จัดการอบรมฯ ในภาพรวม มีค่าเฉล่ียระดับมากท่ีสุด ( X = 4.89, S.D. = 0.32 )

รองลงมา คือ สถานท่ีจัดการอบรมฯ มีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.85, S.D. =

54

0.33) และดา้ นทีม่ ีค่าเฉลย่ี ตา่ สุด คือ ความพร้อมของวัสดุ อปุ กรณส์ าหรบั ผเู้ ข้ารับการอบรมฯ อยู่ในระดับมาก
( X = 4.81, S.D. = 0.39)

6. ดา้ นคณุ ภาพการให้บริการ พบวา่ ดา้ นคณุ ภาพการให้บรกิ าร โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มากท่ีสดุ ( X = 4.87, S.D. = 0.26) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ได้รับความรู้ที่

เป็นประโยชน์สามารถนาไปสู่การปฏิบัติงานตามภารกิจได้ มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด ( X = 4.94, S.D. =

0.24 ) รองลงมา คือ ได้รับความรู้ท่ีชัดเจนและตรงความต้องการ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด ( X =
4.85, S.D. = 0.33) และด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ได้รับความรู้/คาช้ีแจง ที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการ
อบรมฯ อย่ใู นระดบั มาก ( X = 4.83, S.D. = 0.38)

3. ผลการประเมินอัตราการรอดตายของตน้ มะนาว
การประเมินอัตราการรอดตายของต้นมะนาว พบว่า ต้นมะนาว เจริญเติบโตดี ซ่ึงมีการแตกใบอ่อน

ใหม่เปน็ จานวนมาก จานวน 40 ตน้ คดิ เป็นร้อยละ 100 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 (ข้อมูล ณ 22 พฤษภาคม
62)

อภิปรายผล
จากการวิเคราะหข์ ้อมลู สรปุ ไดด้ ังน้ี
1. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา

และบุคลากรท่ีเก่ียวข้องทุกสังกัดในพื้นท่ีเขตตรวจราชการที่ 17 พบว่า ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ การรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มมากข้ึนทาให้พฤติกรรมในการ
บรโิ ภคเปลี่ยนไป

2. ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า ด้านคุณภาพการให้บริการ
ข้อท่มี ีค่าเฉลยี่ สูงสุด คือ ได้รบั ความรู้ที่เปน็ ประโยชน์สามารถนาไปสกู่ ารปฏิบัติงานตามภารกิจได้

3. อัตราการรอดตายของต้นมะนาว สูงกวา่ เกณฑร์ ้อยละ 80 โดยมตี น้ มะนาว 40 ตน้

ขอ้ เสนอแนะ
การนาไปใชป้ ระโยชน์
ควรส่งเสริมเผยแพรเ่ อกสารประกอบโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทางเว็บไซต์ของสานักงานศึกษาธิการภาค 17 และควรพัฒนาเป็นสื่อการ
เรยี นการสอน e-Learning เพ่อื ใหผ้ ู้ที่ที่เก่ียวขอ้ งไดศ้ ึกษาต่อไป

การวเิ คราะห์ครง้ั ต่อไป
ควรมกี ารจัดฝึกอบรมหรอื ศกึ ษาดูงานโครงการพระราชดาริอย่างต่อเนื่องและปลูกพืชชนิดอื่นให้ครบ
วงจร

เอกสารอ้างองิ

พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสวุ รรณ องคมนตรี. 2562. พระบรมราโชบายดา้ นการศกึ ษาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั รัชกาลที่ 10 สบื คน้ เมื่อวนั ที่ 25 มีนาคม
2562. จาก www.moe.go.th )

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธญั บุร.ี งานวิจัย เร่อื ง การนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัตจิ ริงของผูน้ าทอ้ งถ่นิ ในจงั หวดั ปทุมธานี
สืบค้นเมือ่ วันที่ 2 เมษายน 2562 จาก http://doi.nrct.go.th

มหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ ันทา รายงานการวจิ ยั เร่ือง พฤติกรรมการดาเนนิ ชวี ิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งของนกั ศึกษามหาวทิ ยาลยั ราช
ภฏั ในเขตกรุงเทพมหานคร สืบคน้ เมือ่ วนั ท่ี 2 เมษายน 2562 จาก http://www.ssruir.ssru.ac.th

สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร. กพร. 2562. ความพงึ พอใจของผรู้ บั บรกิ ารที่มตี อ่ โครงการ

ภาคผนวก

ภาคผนวก ก

1. แบบสอบถามความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั หลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

2. แบบสอบถามการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ตั จิ รงิ ของผู้เขา้ อบรม

3. แบบสอบถามความพงึ พอใจของผู้เขา้ อบรมทีม่ ีตอ่ โครงการพัฒนาบุคลากร
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง สานักงานศกึ ษาธิการภาค 17
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

4. แบบสารวจอัตราการรอดตายของตน้ มะนาว

แบบสอบถามความร้คู วามเข้าใจเก่ียวกบั หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

คาชี้แจง
แบบสอบถามฉบับนีเ้ ปน็ เคร่ืองมือท่ีใช้ประกอบการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิ

ก่อนและหลงั เรียนของผู้เขา้ อบรม ข้อมูลทไ่ี ด้ในครง้ั นี้จะนาไปวิเคราะห์และนาเสนอผลการศกึ ษาในภาพรวม
ผู้เข้าอบรม หมายถงึ ผเู้ ข้ารว่ มโครงการพฒั นาบคุ ลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน

ศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
โดยแบบสอบถามฉบับน้แี บ่งเป็น 2 สว่ น ไดแ้ ก่

สว่ นที่ 1 เป็นแบบสอบถามขอ้ มลู ทั่วไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
สว่ นที่ 2 เป็นแบบสอบถามเก่ยี วกบั ความรคู้ วามเข้าใจเก่ียวกับหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กลุ่มยุทธศาสตร์การศึกษาขอให้ผู้เข้าอบรมทาเคร่ืองหมาย  และตอบคาถามลงในช่องที่ตรงกับ
การปฏบิ ตั ขิ องท่าน

สว่ นท่ี 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง

2. หนว่ ยงานท่ีทา่ นปฏบิ ัตงิ าน สงั กัด

( ) ศธภ.17 ( ) ศธจ. ( ) กศน.
( ) อศจ. ( ) อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ............
( ) สพป. ( ) สพม.

3. ระดับการศกึ ษา ( ) ปรญิ ญาตรี
( ) ตา่ กว่าอนุปริญญาหรอื ปวส. ( ) อ่นื ๆ (โปรดระบ.ุ ............)
( ) สูงกวา่ ปริญญาตรี

สว่ นท่ี 2 ความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกบั หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คาชแี้ จง โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งว่างทีต่ รงกบั ความเขา้ ใจของท่าน

หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง ใช่ ไม่ใช่

1. เศรษฐกจิ พอเพยี งคือการดาเนินชวี ิตบนทางสายกลาง

2. เศรษฐกิจพอเพียงเหมาะกับคนประกอบอาชีพเกษตร

3. เศรษฐกจิ พอเพียงไม่เกยี่ วข้องกบั ความมเี หตุผล

4. ภูมคิ มุ้ กันท่ดี ขี องเศรษฐกจิ พอเพยี งคือการมีรคุณธรรม

5. เศรษฐกิจพอเพียงคือการพออยพู่ อกินตามอตั ภาพ

6. เศรษฐกจิ พอเพียงควรเร่มิ ตน้ ท่รี ะดบั ชาติก่อนระดบั บคุ คล

7. เศรษฐกจิ พอเพียงคือการพอประมาณในด้านรายจา่ ย

8. การดาเนินชวี ติ ดว้ ยการตดั สนิ ใจอยา่ งมเี หตผุ ลถือเป็นเศรษฐกจิ พอเพยี ง

9. การดาเนนิ ชีวติ โดยมแี ผนระยะยาวคือว่าเป็นภูมิคุ้มกนั ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง

10. ความสามัคคแี ละความเมตตาถือเปน็ ผลลัพธ์หนึง่ ของเศรษฐกจิ พอเพยี ง

11. เศรษฐกจิ พอเพียงมงุ่ ให้เกิดวัฒนธรรมการประหยดั อดออม

12. เกษตรทฤษฎใี หม่ ถือเป็นตวั อย่างของการปฏิบตั ิตามแนวเศรษฐกิจพอเพยี ง

13. เศรษฐกจิ พอเพยี งต้องอาศัยทงั้ ความรู้และคุณธรรม

14. เศรษฐกจิ พอเพยี งคอื การใช้จ่ายใหส้ มดลุ กับความต้องการของบคุ คล

15. ฐานความคดิ ทสี่ าคญั ของเศรษฐกิจพอเพยี งคือพฒั นาคนในชมุ ชนในด้านเศรษฐกจิ สังคม
วัฒนธรรม ควบค่กู ับคณุ ธรรม

16. เศรษฐกจิ พอเพยี งจะเกี่ยวขอ้ งกับเรื่องวตั ถุทเี่ ป็นรปู ธรรม เชน่ เงนิ ทรัพย์สนิ กาไร

17. ความรคู้ ือเปน็ ส่ิงทีน่ ามาใชใ้ นการตดั สินใจในการดาเนินชีวติ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง

18. การพึ่งตนเองใหม้ ากที่สุดถอื ว่าเป็นภมู ิคุ้มกนั ท่ดี ีตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

19. หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ หลกั ทปี่ ฏิเสธระบบทุนนยิ ม เพราะทนุ นยิ มทาให้คนฟุง้ เฟ้อ

20. เศรษฐกจิ พอเพยี งจัดเป็นรากฐานทส่ี าคัญในการพัฒนาประเทศชาติสามารถแกป้ ญั หาทจุ รติ
คอรปั ชั่นได้

ขอขอบพระคุณทุกท่านทีใ่ ห้ความอนุเคราะห์ข้อมูลสาหรับการศกึ ษาครงั้ นี้
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 17

แบบสอบถาม
โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

คาชแี้ จง
แบบสอบถามฉบับน้ีเป็นเคร่ืองมือท่ีใช้ประกอบการศึกษา โดยมีวัตถุประสงค์ เพ่ือศึกษาการนาหลัก

ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัติจรงิ ของผ้บู ริหารหนว่ ยงานทางการศึกษาและบคุ ลากรที่เกี่ยวข้องทุกสังกัด
ในพื้นที่เขตตรวจราชการท่ี 17 ขอ้ มลู ท่ีได้ในครั้งน้ีจะนาไปวเิ คราะห์และนาเสนอผลการศึกษาในภาพรวม

ผรู้ บั บรกิ าร หมายถึง ผเู้ ข้าร่วมโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

จึงขอความร่วมมือจากท่านให้ข้อมูลท่ีเป็นจริงตามความเห็นของท่าน โดยแบบสอบถามฉบับนี้แบ่งเป็น
4 สว่ น ได้แก่

สว่ นที่ 1 เปน็ แบบสอบถามข้อมูลทัว่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ส่วนที่ 2 เปน็ แบบสอบถามเก่ียวกบั การรบั ร้ปู รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สว่ นท่ี 3 เป็นแบบสอบถามเกีย่ วกับการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัตจิ รงิ
ส่วนที่ 4 เป็นแบบสอบถามปลายเปิดแสดงความคิดเหน็ การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สู่การปฏบิ ัตจิ รงิ

ขอขอบพระคุณทกุ ท่านที่ให้ความอนุเคราะหข์ ้อมูลสาหรับการศกึ ษาครัง้ นี้
สานักงานศกึ ษาธิการภาค 17

สว่ นท่ี 1 ข้อมลู ทว่ั ไปของผู้ตอบแบบสารวจ
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญงิ

2. หนว่ ยงานที่ทา่ นปฏบิ ตั ิงาน สังกดั

( ) ศธภ.17 ( ) ศธจ. ( ) กศน.
( ) อศจ. ( ) อน่ื ๆ (ระบุ)............
( ) สพป. ( ) สพม.

3. ระดับการศึกษา ( ) ปริญญาตรี
( ) ตา่ กว่าอนุปริญญาหรอื ปวส. ( ) อ่ืนๆ (โปรดระบุ.............)
( ) สงู กวา่ ปริญญาตรี

ส่วนท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกับการรับร้ปู รัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
คาชแี้ จง โปรดทาเครอื่ งหมาย  ลงในชอ่ งว่างทตี่ รงกับความคดิ เหน็ ของท่านมากท่สี ดุ

การรบั รูป้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ระดับความคดิ เห็น
54321

1. การรบั รูป้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาไปใชก้ ับชีวิตประจาวัน

2. ท่านมีความเช่ือวา่ แนวคดิ ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงเป็นสิง่ ทีด่ ี
3. ท่านมคี วามคาดหวงั วา่ แนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งจะทาใหส้ ังคมไทย

ดีขนึ้ กวา่ เดมิ

4. ทา่ นมคี วามคาดหวงั ว่าแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงจะทาให้ชวี ิตของท่าน
ดขี น้ึ กว่าเดมิ

5. ทา่ นคิดว่าการรบั รู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเปน็ ส่งิ สาคัญในสภาวะเศรษฐกจิ
ปัจจุบัน

6. ทา่ นมคี วามเข้าใจเก่ียวกับแนวคดิ ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

7. ทา่ นสามารถทีจ่ ะหาข้อมลู เก่ยี วกับแนวคิดปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งมาศึกษา
ได้โดยงา่ ย

8. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถวัดระดบั ความพอเพียงการใช้จา่ ยในสภาพ
เศรษฐกิจปัจจุบัน

9. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถทาให้เกดิ การเปล่ยี นแปลงพฤติกรรมการใช้
จา่ ย

10. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถใช้ในการสนทนาและอา้ งอิงในการทางาน
หรอื ธุรกจิ

สว่ นท่ี 2 เปน็ แบบสอบถามเกย่ี วกับการรบั รู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง (ต่อ)
คาชแ้ี จง โปรดทาเครอ่ื งหมาย  ลงในช่องวา่ งที่ตรงกบั ความคิดเหน็ ของท่านมากทส่ี ดุ

การรบั รู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง ระดบั ความคิดเหน็
54321

11. ทา่ นรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งจากส่ือตา่ งๆ เช่น วารสาร บทความ
วชิ าการ โทรทัศน์ วิทยุและหนงั สือพิมพ์

12. การรับร้ปู รัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถนาส่งิ ท่ีไดร้ บั ร้มู าประยุกต์ในการ
ทางานดา้ นตา่ งๆ

13. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถสร้างความม่ันคงและสร้างคา่ นยิ มของ
ตนเองได้

14. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถทาใหเ้ กิดจติ สานึกในการเลือกซ้ือสนิ ค้า
และบริการซึ่งควรจะใชแ้ บบพอดี ไม่ฟุ้งเฟ้อ

15. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะทาให้ทา่ น สามารถพึง่ ตนเองโดยไม่อาศัยความ
สะดวกสบาย

16. การรบั ร้ปู รัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพมิ่ มาก ขึ้นทาให้พฤตกิ รรมในการบริโภค
เปลี่ยนไป

17. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงจะชว่ ยเปลีย่ นแปลงพฤติกรรมกระแสวตั ถนุ ิยมของ
คนไทยไปในทางทีด่ ีขึน้

18. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถทาให้เศรษฐกจิ มีการเพม่ิ รายได้และลด
รายจ่ายลงได้

19. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถปรับพฤตกิ รรมและทิศทางของเศรษฐกิจ
ได้

20. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถชว่ ยเสรมิ สร้างความคิด

สว่ นท่ี 3 เปน็ แบบสอบถามเกี่ยวกับการนาหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัติจรงิ
คาชี้แจง โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงในช่องวา่ งท่ตี รงกบั ระดับการปฏบิ ัติ

โดยพจิ ารณาว่ามีการนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั จิ ริงอยู่ในระดับใด

การนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ ระดบั ความคิดเห็น
54321

ระดับครอบครัว
1. มีการบนั ทึกและวิเคราะห์รายรับและรายจ่ายอยา่ งเปน็ ประจา

2. มีการจดั ทาบญั ชีรายรับและรายจ่ายในครัวเรือน
3. ส่งเสรมิ สนับสนุนให้ใชจ้ ่ายในภารกิจของครวั เรอื น 3 สว่ น ออม 1 สว่ น

4. สามารถพง่ึ ตนเองได้ มจี ติ ใจเอื้ออาทรและนกึ ถงึ ประโยชนข์ องส่วนรวม

5. มีความช่วยเหลอื เกื้อกลู กัน สร้างความเขม้ แขง็ ให้ชมุ ชน และมีกระบวนการ
เรยี นรทู้ เี่ กดิ จากฐานรากท่ีมนั่ คงและแขง็ แรง

6. ใช้ทรัพยากรท่ีอยู่อยา่ งคุ้มคา่ และเกดิ ประโยชน์สงู สุด เพื่อพฒั นาหม่บู า้ นและ
ชมุ ชนให้ม่ันคงและแขง็ แรง

7. มกี ารพัฒนาเทคโนโลยีจากภูมปิ ัญญาของชาวบ้าน ให้สอดคลอ้ งและเปน็
ประโยชน์ต่อสภาพแวดล้อมของหม่บู ้าน

8. ลดรายจา่ ยท่ีไมจ่ าเปน็ เชน่ การซอื้ สินค้าและบริการ การเทยี่ วเตร่
9. ใชเ้ วลาวา่ งให้เป็นประโยชนโ์ ดยการทาอาชีพเสริม

10. ดารงชวี ิตอยา่ งพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอตั ภาพและฐานะของตน

11. มกี ารสร้างวนิ ยั ในเรอ่ื งของการใช้จ่ายภายในครอบครัว

12. มีการวางแผนการใชจ้ ่ายเงนิ เพื่อใหม้ เี งนิ เกบ็ ออมของครวั เรือนในอนาคต

13. มกี ารเขา้ รว่ มกจิ กรรมการออกมเงนิ ต่างๆ เชน่ เปน็ สมาชิกสหกรณ์ออม
ทรัพยก์ องทนุ อืน่ ๆ และธนาคารต่างๆ เปน็ ต้น

14. มีการสร้างจติ สานึกเกยี่ วกับการลด ละ เลิกอบายมขุ เชน่ การพนัน สุรา
และบุหร่ี เพื่อความสขุ ความอบอุน่ ในครอบครวั

15. มีการสร้างความนึกคิดตามแนวทางของศาสนา คนื ความสุข ความอบอนุ่ ให้
ครอบครวั

ส่วนที่ 3 เป็นแบบสอบถามเก่ยี วกับการนาหลักปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบัตจิ รงิ (ตอ่ )
คาช้แี จง โปรดทาเครือ่ งหมาย  ลงในช่องวา่ งท่ีตรงกับระดบั การปฏบิ ัติ

โดยพจิ ารณาวา่ มีการนาหลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ อยูใ่ นระดบั ใด

การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสูก่ ารปฏบิ ัตจิ ริง ระดับความคดิ เหน็
54321

ระดับชมุ ชน/ทท่ี างาน
16. มีส่วนร่วมในการรกั ษาความสะอาดและกาจดั ขยะมลพิษ

17. มีส่วนรว่ มในการรักษาดแู ลแมน่ า้ ลาคลองและแหลง่ น้าอืน่ ๆ
18. มีสว่ นร่วมในการปลูกต้นไมเ้ พ่ือเพ่ิมความร่มรน่ื เขียวขจี

และรักษาทรพั ยากรธรรมชาติ

19. มีส่วนร่วมในกิจกรรมโครงการตา่ งๆของสถานศึกษา

20. มีสว่ นรว่ มและส่งเสรมิ กิจกรรมโครงการต่างๆของเด็ก

21. มีส่วนรว่ มในพฒั นาชมุ ชนและเศรษฐกิจพอเพยี ง
22. มสี ว่ นร่วมในการส่งเสริมใหเ้ ดก็ และเยาวชนได้ปรบั เปล่ียนแนวคิดหนั กลบั

ช่วยเหลือผู้ปกครองในเวลาวา่ ง

23. มีส่วนร่วมในการกาหนดกจิ กรรมของแผนชุมชน/ทีท่ างาน

24. มสี ่วนร่วมในการดาเนินตามแผนของชมุ ชน/ทีท่ างาน

25. มีการใชภ้ มู ิปัญญาท้องถนิ่ เพื่อพฒั นาศักยภาพในการประกอบอาชีพ
เสรมิ สรา้ งความเข้มแข็งและเศรษฐกิจชมุ ชน

26. มสี ว่ นรว่ มประชุม เพ่อื วเิ คราะหแ์ ละจัดลาดบั ความสาคญั ของกจิ กรรมจาก
แผนสู่การปฏบิ ตั ิ และตดิ ตาม ประเมินผล

27. มสี ว่ นร่วมในการจดั ทุนของชุมชน/ทท่ี างานอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพโดยให้
ชมุ ชน/ที่ทางานเปน็ เจา้ ของและเปน็ ผู้ดาเนินกิจการ

28 มสี ว่ นในการรเิ รมิ่ สร้างสรรคน์ วัตกรรมของชมุ ชน/ท่ีทางาน โดยใชป้ ญั ญา
ทอ้ งถนิ่ ผสมผสานกบั ภูมิปญั ญาสากล

29. มีสว่ นทีท่ าให้บคุ ลากรพ่ึงพาตนเองของครอบครวั และชุมชนเป็นเป้าหมาย
30. มสี ว่ นรว่ มในการยกย่อง เชดิ ชู ผทู้ ป่ี ฏบิ ัติ และดาเนนิ รอยตามแนวทาง

ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง

31. รว่ มยกย่อง เชงิ ชู ผู้ที่ประสบความสาเร็จในการใช้ชวี ิตอยา่ งพอเพยี งของ
ชมุ ชน/ทท่ี างาน

32. รว่ มยกยอ่ ง เชดิ ชู ผู้ทป่ี ระพฤตติ นเป็นบุคคลทีส่ งั คมให้การยกย่องและเอา
เปน็ เย่ยี วอยา่ งในการปฏิบตั ิ

สว่ นที่ 4 โปรดแสดงความคิดเหน็ เก่ียวกับการนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏบิ ัติจรงิ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอขอบคุณในความร่วมมือมา ณ โอกาสนี้
สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 17

แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบรกิ าร
ทม่ี ตี ่อโครงการพฒั นาบคุ ลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ประจาปีงบประมาณ 2562

คาช้ีแจง
1. แบบสารวจนี้จัดทาข้ึนมีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความคิดเห็นของผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการพัฒนา

บุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2562 เพอ่ื นาผลการสารวจไปพัฒนาและปรบั ปรงุ การปฏบิ ัติงานและการให้บริการให้มีคณุ ภาพต่อไป

2. ผู้รับบริการ หมายถึง ผูเ้ ข้าร่วมการโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

จึงขอความร่วมมือจากท่านให้ข้อมูลท่ีเป็นจริงตามความเห็นของท่าน โดยแบบสารวจมีทั้งส้ิน 3 ส่วน
ได้แก่

ส่วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไปของผูต้ อบแบบสารวจ
ส่วนที่ 2 ความพงึ พอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร โดยแบง่ เป็น 2 ตอน คอื

2.1 ความรู้ความเขา้ ใจ 2.2 ความพึงพอใจ
ส่วนท่ี 3 ความไม่พงึ พอใจการให้บริการ

ส่วนท่ี 1 ข้อมลู ทั่วไปของผู้ตอบแบบสารวจ
1. เพศ ( ) ชาย ( ) หญิง

2. หน่วยงานท่ีทา่ นปฏิบตั งิ าน สงั กดั

( ) ศธภ.17 ( ) ศธจ. ( ) กศน.

( ) สพป. ( ) สพม. ( ) อศจ. ( ) อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ........................

สว่ นท่ี 2 ความพงึ พอใจในคุณภาพการใหบ้ รกิ าร
2.1 ความรู้ความเขา้ ใจ
ท่านมีความความรู้ความเข้าใจในเรื่องต่อไปนี้ อย่างไรบ้าง โปรดทาเคร่ืองหมาย  ในช่อง

“ระดบั ความความรคู้ วามเขา้ ใจ” ของทา่ นตามเกณฑร์ ะดับความความรู้ความเข้าใจ ดังน้ี
5 = ความรูค้ วามเขา้ ใจมากที่สดุ 4 = ความรู้ความเขา้ ใจมาก 3 = ความรู้ความเขา้ ใจปาน

กลาง
2 = ความรู้ความเขา้ ใจน้อย 1 = ความรคู้ วามเข้าใจนอ้ ยท่ีสุด

ประเดน็ ระดบั ความรูค้ วามเข้าใจ
54321

ความรู้ ความเขา้ ใจในเร่ืองหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
กอ่ น การอบรมฯ
หลัง การอบรมฯ

2.2 ความพงึ พอใจ
ท่านมีความพึงพอใจตอ่ โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน

ศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 อย่างไรบ้าง โปรดทาเคร่ืองหมาย  ในช่อง “ระดับ
ความพึงพอใจ” ของทา่ นตามเกณฑ์ระดบั ความพึงพอใจ ดังนี้

5 = พอใจมากที่สุด 4 = พอใจมาก 3 = พอใจปานกลาง
2 = พอใจนอ้ ย 1 = พอใจน้อยทส่ี ดุ

ประเด็นความพงึ พอใจ ระดบั ความพึงพอใจ
54321
1. กระบวนการ/ขั้นตอนการใหบ้ ริการ
1.1 การแจง้ หนงั สอื เชญิ ให้ทราบในการเข้ารบั การอบรมเข้าใจง่าย ชัดเจน
1.2 การต้อนรับและลงทะเบยี นมีความรวดเรว็
1.3 ระยะเวลาทใ่ี ช้ในการอบรมฯ เหมาะสม
1.4 ความชัดเจนในการอธบิ าย/ชีแ้ จง
2. บคุ ลากรผ้จู ดั การอบรมและคณะวทิ ยากร

ก. บุคลากรผจู้ ัดการอบรม
2.1 มคี วามสภุ าพ เป็นมติ รเตม็ ใจให้บริการ
2.2 ใหบ้ รกิ ารดว้ ยความสะดวกรวดเรว็
2.3 ดูแลเอาใจใส่ กระตือรือรน้
2.4 ใหค้ าอธบิ าย/คาแนะนา/ตอบข้อซกั ถามไดเ้ ป็นอยา่ งดีและตรงประเด็น

ข. คณะวิทยากร
2.5 วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถในการถ่ายทอดเนื้อหา
2.6 วทิ ยากรพดู ได้ตรงประเด็น ชัดเจน เขา้ ใจงา่ ย
2.7 วิทยากรมีการใชเ้ ครอ่ื งมือ สอื่ และอุปกรณต์ ่าง ๆ
2.8 วทิ ยากรเปิดโอกาสให้มีการซักถาม และแสดงความคิดเหน็
2.9 เน้ือหาเปน็ ประโยชน์ต่อการปฏิบตั ิงานในหน้าท่ี
3. ส่ิงอานวยความสะดวก
3.1 สถานทีจ่ ดั การอบรมฯ มีความเหมาะสม
3.2 ความพร้อมของวัสดุ อุปกรณส์ าหรับผเู้ ขา้ รบั การอบรมฯ
3.3 ความสะดวกของสถานที่จัดการอบรมฯ ในภาพรวม
4. คณุ ภาพการให้บริการ
4.1 ได้รบั ความร/ู้ คาช้แี จง ที่ตรงกับวัตถุประสงค์ของการอบรมฯ
4.2 ไดร้ บั ความรทู้ ชี่ ดั เจนและตรงความตอ้ งการ
4.3 ได้รับความรู้ทีเ่ ปน็ ประโยชน์สามารถนาไปสูก่ ารปฏบิ ัติงานตามภารกิจได้

ส่วนท่ี 3 ความไมพ่ งึ พอใจการให้บรกิ าร
3.1 ท่านมคี วามไม่พงึ พอใจด้านกระบวนการ/ขัน้ ตอนการใหบ้ รกิ าร หรอื ไม่

ไมม่ ี
มี (โปรดระบุ) ………………………………………………………………………………………………………………..
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.2 ท่านมคี วามไม่พงึ พอใจดา้ นบุคลากรผูจ้ ดั การอบรมและคณะวิทยากร หรือไม่
ไมม่ ี
มี (โปรดระบ)ุ …………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.3 ทา่ นมคี วามไม่พงึ พอใจดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก หรือไม่
ไม่มี
มี (โปรดระบ)ุ ………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

3.4 ท่านมีความไม่พึงพอใจด้านคณุ ภาพการใหบ้ ริการ หรือไม่
ไมม่ ี
มี (โปรดระบุ) …………………………………………………………………………………………………………………

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3.5 ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงการให้บริการ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

ขอขอบคุณในความรว่ มมอื มา ณ โอกาสน้ี
สานกั งานศึกษาธิการภาค 17

แบบฟอร์มการบนั ทึกข้อมลู การเติบโตของตน้ มะนาว

หนว่ ยงาน สานกั งานศกึ ษาธิการภาค 17 จังหวดั พิษณโุ ลก

ชอ่ื แปลง/แปลงย่อยที่ 62REO17 เน้ือที่ 1 ไร่ วัน/เดือน/ปี ทปี่ ลกู 2562

ชนดิ ไม้ มะนาว

วัน/เดือน/ปี ทีบ่ ันทกึ ขอ้ มูล คร้ังท.่ี ........................................... ผูบ้ ันทกึ ขอ้ มูล.........................................

(คร้งั ที่..เป็นการเปรยี บเทียบตวั เลขกบั ปี ครัง้ ที่............................................ ผู้บันทกึ ข้อมูล........................................

กอ่ นๆ) คร้งั ที.่ ........................................... ผบู้ ันทกึ ข้อมูล..........................................

เส้นผา่ นศูนย์กลางทีค่ วามสูง 1.30 เมตรเหนือ ความสูงท้ังหมด (ม.) หมายเหตุ (เชน่ ยอด
ครัง้ ท.ี่ .... ครัง้ ท่.ี .... ครั้งท.ี่ .... หัก/โรค แมลง/ป่มุ
แถวท่ี ตน้ ที่ พืน้ ดิน (ซม.)
ปม/อื่นๆ)
คร้งั ท.่ี .... ครง้ั ที.่ .... ครัง้ ท.ี่ ....

ภาคผนวก ข
1. ผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธิ์กอ่ นและหลังอบรมของผเู้ ข้าอบรม
2. ผลการประเมนิ การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสูก่ ารปฏิบัตจิ รงิ
3. ผลการประเมนิ ความพึงพอใจของผรู้ บั บรกิ ารทมี่ ตี อ่ โครงการ

4. ผลการประเมนิ อตั ราการรอดตายของตน้ มะนาว

1. ผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์กิ อ่ นและหลงั อบรมของผ้เู ข้าอบรม

Paired Samples Statistics

Pair 1 PRETEST Mean N Std. Deviation Std. Error
Pair 1 13.36 81 1.165 Mean
PROTES .129
T 17.83 81 .919
.102

Paired Samples Correlations

PRETEST & N Correlation Sig.
PROTEST 81 -.012 .919

Paired Samples Test

Paired Differences

95% Confidence Interval of
the Difference

Std. Std. Error t df Sig. (2-
Mean Deviation Mean Lower Upper tailed)
-4.47
Pair PRETEST - 1.492 .166 -4.80 -4.14 - 80 .000
1 PROTEST 26.952

2. ผลการประเมนิ การนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งส่กู ารปฏิบตั ิจรงิ
ส่วนท่ี 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผตู้ อบแบบสารวจ

เพศ

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative
หญงิ 36 44.4 44.4 Percent
Total 45 55.6 55.6
81 44.4
100.0 100.0
100.0

สงั กดั

Valid ศธภ. Frequency Percent Valid Percent Cumulative
กศจ. 26 32.1 32.1 Percent
กศน. 23 28.4 28.4 32.1
สพป. 3 3.7 3.7 60.5
สพม. 21 25.9 25.9 64.2
อศจ. 4 4.9 4.9 90.1
Total 4 4.9 4.9 95.1
81 100.0
100.0 100.0

การศกึ ษา

Valid ตากวา่ ป. Frequency Percent Valid Percent Cumulative
ตรี 6 7.4 7.4 Percent
ป.ตรี 7.4
15 18.5 18.5 25.9
สงู กวา่ ป. 60 74.1 74.1 100.0
ตรี 81 100.0 100.0
Total

ส่วนที่ 2 การรับรปู้ รัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

รบั รู ้ N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
เชอ่ื วา่ เป็ นสงิ่ ทดี่ ี 81 3.00 5.00 4.3827 .51400
คาดหวังวา่ จะทาใหส้ งั คมดขี นึ้ 81 3.00 5.00 4.6049 .51670
คาดหวังวา่ จะทาใหช้ วี ติ ดขี นึ้ 81 3.00 5.00 4.4938 .55053
การรบั รเู ้ ป็ นสง่ิ สาคญั 81 3.00 5.00 4.5802 .52116
มคี วามเขา้ ใจ 81 4.00 5.00 4.6173 .48908
81 3.00 5.00 3.9506 .61035
หาขอ้ มลู ไดง้ ่าย 81 3.00 5.00 4.5185 .55025
สามารถวัดระดบั ความพอเพยี ง 81 3.00 5.00 4.2593 .58689
เกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม
การใชจ้ า่ ย 81 3.00 5.00 4.5309 .54969

ใชส้ นทนาและอา้ งองิ ในการ 81 3.00 5.00 4.2963 .53489
ทางาน 81 4.00 5.00 4.5802 .49659
81 3.00 5.00 4.4198 .58873
รับรจู ้ ากสอื่
นาสงิ่ ทร่ี ับรมู ้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ น 81 3.00 5.00 4.5556 .52440
การทางาน
81 3.00 5.00 4.4938 .55053
สรา้ งความมัน่ คงและสรา้ ง 81 3.00 5.00 4.3086 .56218
คา่ นยิ ม
81 4.00 5.00 4.6667 .47434
เกดิ จติ สานักใชแ้ บบพอดี
สามารถพงึ่ พาตนเอง 81 3.00 5.00 4.4815 .52705
รับรเู ้ พม่ิ ขน้ึ พฤตกิ รรมบรโิ ภค
เปลย่ี นแปลง 81 4.00 5.00 4.6173 .48908

ชว่ ยเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม 81 4.00 5.00 4.4815 .50277
กระแสวตั ถนุ ยิ ม 81 4.00 5.00 4.5556 .50000
81 3.80 5.00 4.4698 .33678
เศรษฐกจิ มกี ารเพม่ิ รายไดล้ ด 81
รายจ่าย

ปรับทศิ ทางของเศรษฐกจิ ได ้
ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความคดิ
TOTALAC
Valid N (listwise)

ส่วนที่ 3 การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบตั ิจรงิ

Descriptive Statistics

มกี ารบนั ทกึ รายรับรายจา่ ย N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
จัดทาบัญชคี รวั เรอื น 81 2.00 5.00 3.8025 .57922
ใชจ้ ่าย 3 สว่ นออม 1 สว่ น 81 2.00 5.00 3.7901 .58558
นกึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม 81 3.00 5.00 4.1605 .67928
สรา้ งความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชน 81 3.00 5.00 4.3580 .53171
ใชท้ รพั ยากรคมุ ้ คา่ 81 3.00 5.00 4.3827 .56053
พฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ิ 81 3.00 5.00 4.4938 .52734
ปัญญา
ลดรายจ่ายทไ่ี มจ่ าเป็ น 81 3.00 5.00 4.0494 .65002
การทาอาชพี เสรมิ
ดารงชวี ติ อยา่ งพออยพู่ อกนิ 81 3.00 5.00 4.2593 .62805
สรา้ งวนิ ัยในการใชจ้ ่าย 81 3.00 5.00 4.2840 .59654
วางแผนการใชจ้ า่ ยเพอื การ 81 3.00 5.00 4.5556 .52440
ออม 81 3.00 5.00 4.5062 .57279
เขา้ รว่ มกจิ กรรมการออม
ลด ลด เลกิ อบายมขุ 81 3.00 5.00 4.3704 .60093
สรา้ งความนกึ คดิ ตามแนวทาง
ศาสนา 81 3.00 5.00 4.5309 .61413
กาจัดขยะมลพษิ 81 4.00 5.00 4.4691 .50216
รกั ษาดแู ลแมน่ ้าและแหลง่ น้า
มกี ารปลกู ตน้ ไม ้ 81 3.00 5.00 4.4321 .56873
รว่ มกจิ กรรมของสถานศกึ ษา
รว่ มกจิ กรรมของเด็ก 81 4.00 5.00 4.4444 .50000
รว่ มพัฒนาชมุ ชน 81 3.00 5.00 4.4321 .54631
รว่ มชว่ ยเหลอื เด็กชว่ ยเหลอื 81 3.00 5.00 4.4815 .52705
ผปู ้ กครอง 81 4.00 5.00 4.5432 .50123
รว่ มกาหนดกจิ กรรมของชมุ ชน/ 81 3.00 5.00 4.4691 .54969
ทท่ี างาน 81 3.00 5.00 4.4691 .54969
รว่ มดาเนนิ การตามแผน
ใชภ้ มู ปิ ัญญาสรา้ งความ 81 3.00 5.00 4.2963 .57975
เขม้ แข็งของชมุ ชน
รว่ มวเิ คราะหแ์ ละจัดลาดบั ของ 81 3.00 5.00 4.3086 .51580
กจิ กรรม 81 3.00 5.00 4.2346 .57601
รว่ มจัดทนุ ของชมุ ชน/ทท่ี างาน 81 3.00 5.00 4.2222 .57009
สรา้ งสรรคน์ วตั กรรมของชมุ ชน
มสี ว่ นใหบ้ คุ ลากรพง่ึ พาตนเอง 81 3.00 5.00 4.2222 .50000
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ป่ี ฏบิ ตั ติ าม
รอยพอเพยี ง 81 3.00 5.00 4.1481 .59395
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ป่ี ระสบ 81 3.00 5.00 4.2099 .56383
ความสาเร็จ 81 3.00 5.00 4.3210 .54376
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ป่ี ระพฤตติ น
เป็ นบคุ คลทสี่ ังคมยกยอ่ ง 81 4.00 5.00 4.7778 .41833

TOTALPA 81 4.00 5.00 4.7778 .41833
Valid N (listwise)
81 4.00 5.00 4.7778 .41833
.33802
81 3.66 4.94 4.3619
81

โดยภาพรวม Descriptive Statistics

รบั รู ้ N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
เชอื่ วา่ เป็ นสงิ่ ทด่ี ี 81 3.00 5.00 4.3827 .51400
คาดหวงั วา่ จะทาใหส้ งั คมดขี น้ึ 81 3.00 5.00 4.6049 .51670
คาดหวงั วา่ จะทาใหช้ วี ติ ดขี นึ้ 81 3.00 5.00 4.4938 .55053
การรับรเู ้ ป็ นสงิ่ สาคญั 81 3.00 5.00 4.5802 .52116
มคี วามเขา้ ใจ 81 4.00 5.00 4.6173 .48908
หาขอ้ มลู ไดง้ า่ ย 81 3.00 5.00 3.9506 .61035
สามารถวดั ระดับความพอเพยี ง 81 3.00 5.00 4.5185 .55025
เกดิ การเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม 81 3.00 5.00 4.2593 .58689
การใชจ้ า่ ย
ใชส้ นทนาและอา้ งองิ ในการ 81 3.00 5.00 4.5309 .54969
ทางาน
รับรจู ้ ากสอื่ 81 3.00 5.00 4.2963 .53489
นาสง่ิ ทรี่ บั รมู ้ าประยกุ ตใ์ ชใ้ น 81 4.00 5.00 4.5802 .49659
การทางาน 81 3.00 5.00 4.4198 .58873
สรา้ งความมนั่ คงและสรา้ ง
คา่ นยิ ม 81 3.00 5.00 4.5556 .52440
เกดิ จติ สานักใชแ้ บบพอดี
สามารถพง่ึ พาตนเอง 81 3.00 5.00 4.4938 .55053
รับรเู ้ พม่ิ ขน้ึ พฤตกิ รรมบรโิ ภค 81 3.00 5.00 4.3086 .56218
เปลย่ี นแปลง
ชว่ ยเปลยี่ นแปลงพฤตกิ รรม 81 4.00 5.00 4.6667 .47434
กระแสวัตถนุ ยิ ม
เศรษฐกจิ มกี ารเพม่ิ รายไดล้ ด 81 3.00 5.00 4.4815 .52705
รายจา่ ย
ปรับทศิ ทางของเศรษฐกจิ ได ้ 81 4.00 5.00 4.6173 .48908
ชว่ ยเสรมิ สรา้ งความคดิ
มกี ารบนั ทกึ รายรบั รายจา่ ย 81 4.00 5.00 4.4815 .50277
จัดทาบญั ชคี รัวเรอื น 81 4.00 5.00 4.5556 .50000
ใชจ้ ่าย 3 สว่ นออม 1 สว่ น 81 2.00 5.00 3.8025 .57922
นกึ ถงึ ประโยชนส์ ว่ นรวม 81 2.00 5.00 3.7901 .58558
สรา้ งความเขม้ แข็งใหช้ มุ ชน 81 3.00 5.00 4.1605 .67928
ใชท้ รัพยากรคมุ ้ คา่ 81 3.00 5.00 4.3580 .53171
พฒั นาเทคโนโลยจี ากภมู ิ 81 3.00 5.00 4.3827 .56053
ปัญญา 81 3.00 5.00 4.4938 .52734
ลดรายจ่ายทไ่ี มจ่ าเป็ น
การทาอาชพี เสรมิ 81 3.00 5.00 4.0494 .65002
ดารงชวี ติ อย่างพออยพู่ อกนิ
สรา้ งวนิ ัยในการใชจ้ า่ ย 81 3.00 5.00 4.2593 .62805
วางแผนการใชจ้ ่ายเพอื การ 81 3.00 5.00 4.2840 .59654
ออม 81 3.00 5.00 4.5556 .52440
เขา้ รว่ มกจิ กรรมการออม 81 3.00 5.00 4.5062 .57279
ลด ลด เลกิ อบายมขุ
สรา้ งความนกึ คดิ ตามแนวทาง 81 3.00 5.00 4.3704 .60093
ศาสนา
81 3.00 5.00 4.5309 .61413
81 4.00 5.00 4.4691 .50216

81 3.00 5.00 4.4321 .56873

กาจัดขยะมลพษิ 81 4.00 5.00 4.4444 .50000
รกั ษาดแู ลแมน่ ้าและแหลง่ น้า 81 3.00 5.00 4.4321 .54631
มกี ารปลกู ตน้ ไม ้ 81 3.00 5.00 4.4815 .52705
รว่ มกจิ กรรมของสถานศกึ ษา 81 4.00 5.00 4.5432 .50123
รว่ มกจิ กรรมของเด็ก 81 3.00 5.00 4.4691 .54969
รว่ มพฒั นาชมุ ชน 81 3.00 5.00 4.4691 .54969
รว่ มชว่ ยเหลอื เด็กชว่ ยเหลอื 81 3.00 5.00 4.2963 .57975
ผปู ้ กครอง
รว่ มกาหนดกจิ กรรมของชมุ ชน/ 81 3.00 5.00 4.3086 .51580
ทท่ี างาน 81 3.00 5.00 4.2346 .57601
รว่ มดาเนนิ การตามแผน 81 3.00 5.00 4.2222 .57009
ใชภ้ มู ปิ ัญญาสรา้ งความ
เขม้ แข็งของชมุ ชน 81 3.00 5.00 4.2222 .50000
รว่ มวเิ คราะหแ์ ละจัดลาดับของ 81 3.00 5.00 4.1481 .59395
กจิ กรรม 81 3.00 5.00 4.2099 .56383
รว่ มจัดทนุ ของชมุ ชน/ทท่ี างาน 81 3.00 5.00 4.3210 .54376
สรา้ งสรรคน์ วัตกรรมของชมุ ชน 81 4.00 5.00 4.7778 .41833
มสี ว่ นใหบ้ คุ ลากรพงึ่ พาตนเอง
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ปี่ ฏบิ ัตติ าม 81 4.00 5.00 4.7778 .41833
รอยพอเพยี ง
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ป่ี ระสบ 81 4.00 5.00 4.7778 .41833
ความสาเร็จ
ยกยอ่ ง เชดิ ชู ผทู ้ ป่ี ระพฤตติ น 81 3.79 4.96 4.4034 .29417
เป็ นบคุ คลทสี่ งั คมยกยอ่ ง 81

TOTAL
Valid N (listwise)

3. ผลการประเมนิ ความพงึ พอใจของผรู้ บั บริการท่มี ตี อ่ โครงการ

ส่วนที่ 1 ขอ้ มูลท่ัวไปของผู้ตอบแบบสารวจ

เพศ

Valid ชาย Frequency Percent Valid Percent Cumulative
หญงิ 36 44.4 44.4 Percent
Total 45 55.6 55.6
81 44.4
100.0 100.0
100.0

สงั กดั

Valid ศธภ.17 Frequency Percent Valid Percent Cumulative
ศธจ. 26 32.1 32.1 Percent
กศน. 16 19.8 19.8 32.1
สพป. 10 12.3 12.3 51.9
สพม. 21 25.9 25.9 64.2
อศจ. 4 4.9 4.9 90.1
Total 4 4.9 4.9 95.1
81 100.0
100.0 100.0

ส่วนที่ 2 ความพงึ พอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร โดยแบ่งเปน็ 2 ตอน คือ
2.1 ความร้คู วามเข้าใจ

Descriptive Statistics

กอ่ นอบรม N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
หลงั อบรม 81 3.00 4.00 3.4074 .49441
Valid N (listwise) 81 4.00 5.00 4.5679 .49845
81

2.2 ความพึงพอใจ
1) กระบวนการ/ขัน้ ตอนการใหบ้ รกิ าร

Descriptive Statistics

แจง้ ใหท้ ราบ N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
ตอ้ นรบั และลงทะเบยี น 81 3.00 5.00 4.2593 .60782
เวลาทใี่ ชอ้ บรม 81 4.00 5.00 4.7407 .44096
ชดั เจนในการอธบิ าย 81 3.00 5.00 4.3457 .67380
TOTALSE 81 3.00 5.00 4.5185 .52705
Valid N (listwise) 81 3.75 5.00 4.4660 .40457
81

2) บุคลากรผจู้ ดั การอบรมและคณะวิทยากร

Descriptive Statistics

สภุ าพ เป็ นมติ ร N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
ใหบ้ รกิ ารรวดเร็ว 81 4.00 5.00 4.8519 .35746
เอาใจใสก่ ระตอื รอื รน้ 81 4.00 5.00 4.8272 .38046
ตอบขอ้ ซกั ถามดี 81 4.00 5.00 4.6790 .46976
วทิ ยากรถา่ ยทอดเนอ้ื หา 81 3.00 5.00 4.3827 .58241
วทิ ยากรพดู ตรงประเด็น 81 4.00 5.00 4.8889 .31623
เขา้ ใจ
วทิ ยากรใชอ้ ปุ กรณส์ อ่ื 81 4.00 5.00 4.8889 .31623
วทิ ยากรเปิดโอกาสใหซ้ กั ถาม
เนอื้ หาเป็ นประโยชน์ 81 4.00 5.00 4.7037 .45947
TOTALSTA 81 3.00 5.00 4.5432 .52558
Valid N (listwise) 81 4.00 5.00 4.8519 .35746
81 3.78 5.00 4.7353 .29322
81

3) สิ่งอานวยความสะดวก

Descriptive Statistics

สถานทเ่ี หมาะสม N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
81 4.00 5.00 4.8765 .33101
ความพรอ้ มของวสั ดุ
อปุ กรณ์ 81 4.00 5.00 4.8148 .39087
ความสะดวกของสถานท่ี
ภาพรวม 81 4.00 5.00 4.8889 .31623
4.8601 .27317
TOTALFA 81 4.00 5.00
81
Valid N (listwise)

4) คณุ ภาพการใหบ้ ริการ

Descriptive Statistics

ไดร้ บั ความรตู ้ ามวัตถปุ ระสงค์ N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
81 4.00 5.00 4.8272 .38046
ไดร้ ับความรตู ้ รงความ
ตอ้ งการ 81 4.00 5.00 4.8519 .35746
ความรเู ้ ป็ นประโยชน์และ
นาไปปฏบิ ตั ไิ ด ้ 81 4.00 5.00 4.9383 .24216
4.8724 .26124
TOTALQUI 81 4.00 5.00
81
Valid N (listwise)

โดยภาพรวม

Descriptive Statistics

TOTALSE N Minimum Maximum Mean Std. Deviation
TOTALSTA 81 3.75 5.00 4.4660 .40457
TOTALFA 81 3.78 5.00 4.7353 .29322
TOTALQUI 81 4.00 5.00 4.8601 .27317
TOTAL 81 4.00 5.00 4.8724 .26124
Valid N (listwise) 81 3.84 4.95 4.7199 .24810
81

4. ผลการประเมนิ อตั ราการรอดตายของตน้ มะนาว

ข้อมูลพ้ืนฐาน หนว่ ยวดั ผลการดาเนินงาน
ปงี บประมาณ พ.ศ. 2562
ต้นมะนาว ตน้ พ.ค.62 ม.ิ ย.62 ก.ค.62
อัตราการรอดตายของตน้ มะนาว รอ้ ยละ 40
ขอ้ มูล ณ 22 พ.ค. 62 100

ภาคผนวก ค
ภาพถ่ายโครงการพฒั นาบุคลากรตามหลกั ปรชั ญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

นายพิธาน พื้นทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจาเขตตรวจราชการที่ 17 ได้
ดาเนินการบรรยายหัวข้อ “พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของรัชกาลท่ี ๑๐ การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม
ของข้าราชการ และการปฏิบัติคนตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง” เพ่ือให้ผู้เข้าร่วมโครงการมีความรู้ความ
เขา้ ใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพฒั นาบุคลากรตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
สานกั งานศึกษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

นายพิธาน พ้นื ทอง ผตู้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาเขตตรวจราชการที่ 17 ได้
ดาเนนิ การปลูกตน้ มะนาว เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษามีทักษะพน้ื ฐานในการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพียง และสามารถประยกุ ต์นาไปสู่การปฏบิ ัติขับเคลอ่ื นการศึกษาในระดับภาคและจังหวดั ไดจ้ รงิ

โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ประชาสมั พนั ธ์โครงการ 3 ชอ่ งทาง

Facebook line

Website “สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 17”

คณะผ้จู ดั ทา

ท่ีปรึกษา

นายพิธาน พ้ืนทอง ผูต้ รวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ
นายสรุ ินทร์ แก้วมณี ประจาเขตตรวจราชการ ที่ 17
นายวฒั นาพงศ์ สาระทนั ธนสเุ มธ รองศึกษาธกิ ารภาค 17
รกั ษาการในตาแหนง่ ศกึ ษาธกิ ารภาค 17
ผู้อานวยการกล่มุ ยุทธศาสตร์การศึกษา

รวบรวมขอ้ มูล วเิ คราะหข์ อ้ มูล สรปุ และนาเสนอรายงาน

นายพสุพิช คงพนั ธุ์ นกั วิชาการศกึ ษาชานาญการ




Click to View FlipBook Version