The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

โครงการพัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by pasupit.reo17, 2021-03-22 22:41:39

พัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

โครงการพัฒนาบุคลากรเศรษฐกิจพอเพียง

Keywords: พัฒนาบุคลากร,เศรษฐกิจพอเพียง

1

1

คานา

พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลท่ี 10 ในภาพรวม สืบสาน
พระราชปณธิ านหรอื พระราชกระแสรับสั่งรัชกาลที่ 9 เร่ือง การสร้างคนดี การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐานให้แก่
เดก็ ทัศนคติท่ีถกู ตอ้ ง (อปุ นสิ ัย) ทมี่ น่ั คงเขม้ แข็ง มีอาชีพ-มีงานทา ฯลฯ เน้นการสร้างทัศนคติ (Attitude) และ
การศึกษาในภาพรวมทาอย่างไรใหเ้ ยาวชนมีความสนใจและเข้าใจเรื่องของสถาบนั และประวัติศาสตร์

สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ได้ตระหนักถึงความสาคัญในการนาหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงมาประยุกต์ใช้ในการขับเคล่ือนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด เพ่ือให้บุคลากรทางการศึกษามี
ความรู้ความเข้าใจ มีทักษะพ้ืนฐานในการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ
นาไปสู่การปฏิบัติขับเคล่ือนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดได้จริง จึงได้จัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรตาม
หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง สานักงานศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

ขอบคุณ ดร.พิธาน พื้นทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจาเขตตรวจราชการที่
17 ได้ใหค้ วามอนเุ คราะหเ์ อกสารโครงการ และผู้ท่ีเก่ียวข้องทุกท่านท่ีได้สนับสนุนในการดาเนินโครงการครั้งน้ี
จนประสบผลสาเร็จตามจุดมุ่งหมายท่ีวางไว้ หวังว่ารายงานเล่มน้ี จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงาน สถานศึกษา
และบุคคลท่เี กย่ี วขอ้ ง สามารถนารายงานสรุปผลการดาเนินโครงการนี้ไปใช้ในการขับเคลื่อนการศึกษาในระดับ
ภาคและจังหวดั ตอ่ ไป

(ดร.สุรนิ ทร์ แก้วมณี)
รองศกึ ษาธกิ ารภาค 17 รักษาการในตาแหนง่

ศกึ ษาธกิ ารภาค 17

บทสรปุ ผ้บู รหิ าร

รายงานผลการดาเนินโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้บุคลากรมีความรู้
ความเขา้ ใจเกีย่ วกบั หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพอ่ื ใหบ้ ุคลากรนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไป
ปฏิบัติการในหน่วยงานและไปดารงชีวิตประจาวัน และเพื่อปรับปรุงภูมิทัศน์และสิ่งแวดล้อมในบริเวณ
สานักงานศึกษาธิการภาค 17

เป้าหมายของโครงการ เชิงปริมาณ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรท่ี
เกี่ยวข้องทุกสังกัดของกระทรวงศึกษาธิการในพ้ืนที่เขตตรวจราชการที่ 17 ซึ่งเป็นผู้เข้าอบรม จานวน 80 คน
ผู้เข้าอบรม มีผลสัมฤทธิ์หลังการฝึกอบรมไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 และปลูกต้นมะนาว จานวน 40 ต้น และ
เชิงคุณภาพ การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติจริงของผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับมาก โดย
คะแนนเฉลยี่ 3.51 ขึ้นไป ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับมาก โดยคะแนนเฉลี่ย 3.51 ขึ้นไป และ
การรอดตายของต้นมะนาวไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80 โดยมากกวา่ 32 ตน้

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งน้ี ได้แก่ เอกสารประกอบโครงการ ได้แก่ 9 ตามรอยเท้าพ่อ
สานต่อความดี วิถีพอเพียง จัดทาโดยดร.พิธาน พ้ืนทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ ประจาเขต
ตรวจราชการที่ 17 แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบ
2 ตัวเลือก ถูก-ผิด แบบสอบถามการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติจริงของผู้เข้าร่วม
โครงการฯ เป็นแบบสอบถาม (Questionnaires) แบบสอบถามความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการ
พัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 เปน็ แบบสอบถาม (Questionnaires) และแบบสารวจอัตราการรอดตายของตน้ มะนาว

สรุปผลการประเมิน โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึ่งจากข้อมลู สามารถสรปุ ดังน้ี

1. สรุปตามเป้าหมายของโครงการ
2. สรุปตามการวเิ คราะหข์ อ้ มลู

1. สรุปตามเปา้ หมายของโครงการ
1. ผู้เข้าร่วมโครงการ ได้แก่ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกสังกัดใน

พ้นื ท่เี ขตตรวจราชการที่ 17 จานวน 81 คน บรรลุเปา้ หมาย
2. ผู้เข้าอบรมมีผลสัมฤทธ์ิหลังการฝึกอบรมคิดเป็นร้อยละ 89 สูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 80 บรรลุ

เป้าหมาย
3. ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการฯ ปลกู ต้นมะนาว จานวน 40 ต้น บรรลุเปา้ หมาย
4. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา

และบุคลากรทเ่ี กี่ยวข้องทุกสงั กดั ในพืน้ ทเ่ี ขตตรวจราชการที่ 17 มคี า่ เฉลยี่ อยู่ในระดบั มาก ( X = 4.40,

S.D. = 0.29) บรรลเุ ปา้ หมาย

1

5. ความพึงพอใจของผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สานักงานศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มคี ่าเฉลี่ยอยใู่ นระดับมากท่สี ุด

( X = 4.72, S.D. = 0.25) บรรลุเป้าหมาย

6. การสารวจการรอดตายของต้นมะนาว พบว่า ต้นมะนาวเจริญเติบโตดี จานวน 40 ต้น คิดเป็น
รอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เกณฑร์ ้อยละ 80 บรรลเุ ป้าหมาย

2. สรุปตามการวเิ คราะหข์ ้อมลู
โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซ่งึ จากวิเคราะห์ขอ้ มูลสามารถสรุปได้ดังนี้
1. ผลเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธิ์ก่อนและหลงั อบรมของผเู้ ขา้ อบรม
2. ผลการศกึ ษาการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏบิ ตั ิจริงของผ้เู ข้าอบรม
3. ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เข้าอบรมทม่ี ตี ่อโครงการพฒั นาบคุ ลากรตามหลกั ปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
4. ผลการการประเมินอตั ราการรอดตายของต้นมะนาว

1. ผลเปรียบเทยี บผลสัมฤทธ์กิ ่อนและหลังอบรมของผูเ้ ขา้ อบรม
การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม พบว่า ผู้เข้าอบรมผลสัมฤทธ์ิหลัง

อบรมมคี า่ คะแนนเฉลย่ี 17.83 คิดเป็นรอ้ ยละ 89 เพ่ิมสงู ข้ึนกวา่ ก่อนอบรมมคี า่ คะแนนเฉล่ีย 13.36 คิดเป็น
ร้อยละ 67 และสงู กวา่ เกณฑร์ ้อยละ 80 และแตกตา่ งอย่างมีนยั สาคัญทางสถิติที่ .05

2. ผลการศกึ ษาการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิจรงิ ของผู้เขา้ อบรม
จากขอ้ มูลท่ีไดส้ ามารถนามาวิเคราะหข์ ้อมลู ดงั นี้
ตอน 1 ขอ้ มูลทั่วไปของผู้เขา้ อบรม
ตอน 2 การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏิบัตจิ รงิ

ตอน 1 ข้อมูลทว่ั ไปของผเู้ ข้าอบรม
ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม 2 พบว่า จานวนผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งส้ิน 81 คน ผู้ตอบ

แบบสอบถามเป็นเพศชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 28
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4 สานักงาน
เขตการศึกษาประถมศกึ ษา จานวน 21 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 26 สานักงานเขตการศึกษามัธยมศึกษา จานวน 4
คน คิดเป็นร้อยละ 5 และสานักงานอาชีวศึกษา จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และการศึกษา ต่ากว่า
ปริญญาตรี จานวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 7 ปริญญาตรี จานวน 15 คน คิดเป็นร้อยละ 19 และสูงกว่า
ปรญิ ญาตรี จานวน 60 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 74

ตอน 2 การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบตั ิจรงิ
1. โดยภาพรวมและรายด้าน พบว่า การประเมินการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่

การปฏิบัติจริง โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็นด้าน ด้านที่มีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ
ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉลี่ยระดับมาก รองลงมา คือ ด้านการนาหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพยี งสกู่ ารปฏิบัติจริง มีคา่ เฉลี่ยอยใู่ นระดับมาก

2. ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง พบว่า การประเมินด้านการรับรู้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ
การรับรู้ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งเพม่ิ มากข้ึนทาให้พฤติกรรมในการบริโภคเปล่ียนไป มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุด
รองลงมา คือ ท่านคิดว่าการรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งสาคัญในสภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน มีค่าเฉล่ีย
อยู่ในระดับมากท่ีสุด และข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ท่านมีความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง มคี ่าเฉลยี่ อย่ใู นระดับมาก

3. ด้านการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง พบว่า การประเมินด้านการนา
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เม่ือพิจารณาเป็น
รายข้อ ขอ้ ทมี่ คี า่ เฉลยี่ สงู สดุ คอื ร่วมยกย่อง เชิดชู ผู้ที่ประพฤติตนเป็นบุคคลที่สังคมให้การยกย่องและเอาเป็น
เยี่ยวอย่างในการปฏิบัติ, ร่วมยกย่อง เชิงชู ผู้ท่ีประสบความสาเร็จในการใช้ชีวิตอย่างพอเพียงของชุมชน/ท่ี
ทางาน, ร่วมยกย่อง เชิดชู ผู้ที่ประพฤติตนเป็นบุคคลท่ีสังคมให้การยกย่องและเอาเป็นเยี่ยวอย่างในการปฏิบัติ
มคี า่ เฉลี่ยระดบั มากทสี่ ดุ รองลงมา คือ ดารงชวี ิตอย่างพอควร พออยู่ พอกิน สมควรตามอัตภาพและฐานะของ
ตน มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด และข้อที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ มีการจัดทาบัญชีรายรับและรายจ่ายในครัวเรือนมี
คา่ เฉลย่ี อยูใ่ นระดบั มาก

3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562

ตอน 1 ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม
ตอน 2 ความพงึ พอใจในคณุ ภาพการให้บริการ
ตอน 1 ข้อมลู ทวั่ ไปของผูเ้ ขา้ อบรม
ข้อมูลทั่วไปของผู้เข้าอบรม พบว่า จานวนผู้ตอบแบบสอบถามมีจานวนทั้งสิ้น 81 คน ผู้ตอบ
แบบสอบถามเป็นเพศชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงาน
ศึกษาธิการภาค 26 คน คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 16 คน คิดเป็นร้อยละ 20
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 10 คน คิดเป็นร้อยละ 12
สานักงานเขตการศกึ ษาประถมศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26 สานักงานเขตการศึกษามัธยมศึกษา
จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5 และสานักงานอาชวี ศึกษา จานวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 5

ตอน 2 ความพงึ พอใจในคุณภาพการใหบ้ รกิ าร
1. ความรู้ความเข้าใจ พบว่า การเปรียบเทียบความรู้ความเข้าใจก่อนและหลังการอบรม ผู้เข้า

อบรม มีความรูเ้ ข้าใจหลงั อบรมฯ มคี า่ เฉลีย่ อยูใ่ นระดบั มากท่ีสุด สูงกว่ากอ่ นอบรมฯ มคี ่าเฉลี่ยอยใู่ นระดับมาก
2. ความพึงพอใจ โดยภาพรวม พบว่า การประเมินความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการ

พัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ
พ.ศ. 2562 โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ด้านท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ
ดา้ นคณุ ภาพการใหบ้ ริการ มีคา่ เฉล่ยี ระดับมาก รองลงมา คือ ดา้ นสิ่งอานวยความสะดวก มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับ
มากท่สี ดุ และด้านที่มีค่าเฉลย่ี ต่าสดุ คอื ด้านกระบวนการ/ข้นั ตอนการใหบ้ รกิ าร อยใู่ นระดับมาก

3. ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ พบว่า ด้านกระบวนการ/ขั้นตอนการให้บริการ โดย
ภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การต้อนรับและ
ลงทะเบียนมีความรวดเร็ว มีคา่ เฉลยี่ ระดบั มาก รองลงมา คือ ความชัดเจนในการอธิบาย/ชี้แจง มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด และด้านท่ีมีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ การแจ้งหนังสือเชิญให้ทราบในการเข้ารับการอบรมเข้าใจง่าย
ชดั เจน อยู่ในระดับมาก

4. ด้านบุคลากรผู้จัดการอบรมและคณะวิทยากร พบว่า ด้านบุคลากรผู้จัดการอบรมและคณะ
วิทยากร โดยภาพรวม มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด เม่ือพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ
วิทยากรมีความรู้ความสามารถในการถ่ายทอดเน้ือหา และวิทยากรพูดได้ตรงประเด็น ชัดเจน เข้าใจง่าย มี
ค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด รองลงมา คือ เน้ือหาเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานในหน้าท่ี และมีความสุภาพ เป็น
มิตรเต็มใจให้บริการ มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากท่ีสุด และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ให้คาอธิบาย/คาแนะนา/
ตอบข้อซักถามไดเ้ ป็นอยา่ งดีและตรงประเด็น อยใู่ นระดบั มาก

5. ด้านสิ่งอานวยความสะดวก พบว่า ด้านส่ิงอานวยความสะดวกโดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ความสะดวกของสถานที่จัดการอบรมฯ
ในภาพรวม มีค่าเฉลี่ยระดับมากท่ีสุด รองลงมา คือ สถานท่ีจัดการอบรมฯ มีความเหมาะสม มีค่าเฉลี่ยอยู่ใน
ระดับมากท่ีสุด และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่าสุด คือ ความพร้อมของวัสดุ อุปกรณ์สาหรับผู้เข้ารับการอบรมฯ อยู่ใน
ระดับมาก

6. ด้านคุณภาพการให้บริการ พบว่า ดา้ นคุณภาพการใหบ้ รกิ าร โดยภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ
มากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉล่ียสูงสุด คือ ได้รับความรู้ที่เป็นประโยชน์สามารถนาไปสู่การ
ปฏบิ ตั งิ านตามภารกจิ ได้ มคี ่าเฉล่ยี ระดับมากท่ีสุด รองลงมา คือ ได้รับความรู้ท่ีชัดเจนและตรงความต้องการ มี
ค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมากที่สุด และด้านที่มีค่าเฉล่ียต่าสุด คือ ได้รับความรู้/คาช้ีแจง ท่ีตรงกับวัตถุประสงค์ของ
การอบรมฯ อยู่ในระดับมาก

4. ผลการประเมนิ อัตราการรอดตายของตน้ มะนาว
การประเมินอัตราการรอดตายของต้นมะนาว พบว่า ต้นมะนาว เจริญเติบโตดี ซ่ึงมีการแตกใบอ่อน

ใหมเ่ ปน็ จานวนมาก จานวน 40 ตน้ คดิ เปน็ รอ้ ยละ 100 สูงกวา่ เกณฑร์ ้อยละ 80 (ข้อมูล ณ 22 พ.ค. 62)

อภปิ รายผล
จากการวิเคราะหข์ อ้ มลู สรปุ ไดด้ งั นี้
1. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษา

และบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกสังกัดในพ้ืนที่เขตตรวจราชการท่ี 17 พบว่า ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง ข้อที่มีค่าเฉล่ียมากที่สุด คือ การรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพิ่มมากขึ้นทาให้พฤติกรรมในการ
บริโภคเปลีย่ นไป

2. ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรมท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 พบว่า ด้านคุณภาพการให้บริการ
ข้อทม่ี ีค่าเฉล่ียสงู สุด คือ ไดร้ บั ความรู้ทีเ่ ปน็ ประโยชนส์ ามารถนาไปสูก่ ารปฏบิ ัติงานตามภารกจิ ได้

3. อัตราการรอดตายของต้นมะนาว สูงกว่าเกณฑร์ ้อยละ 80 โดยมตี ้นมะนาว 40 ตน้

ข้อเสนอแนะ
การนาไปใชป้ ระโยชน์
ควรส่งเสรมิ เผยแพร่เอกสารประกอบโครงการพัฒนาบคุ ลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ทางเว็บไซต์ของสานักงานศึกษาธิการภาค 17 และควรพัฒนาเป็น
สอื่ การเรียนการสอน e-Learning เพอื่ ใหผ้ ู้ทท่ี เี่ กีย่ วข้องได้ศกึ ษาต่อไป

การวิเคราะห์คร้งั ตอ่ ไป
ควรมกี ารจดั ฝกึ อบรมหรอื ศึกษาดูงานโครงการพระราชดาริอย่างต่อเน่ืองและปลูกพืชชนิดอ่ืนให้ครบ
วงจร

สารบญั หน้า

คานา ๑
บทสรุปผู้บรหิ าร ๑
1
๑ บทนา 2
หลกั การและเหตุผล 2
วตั ถุประสงค์ของโครงการ 2
เป้าหมายของโครงการ 3
วธิ ีดาเนนิ งานและแผนปฏิบตั ิงาน
งบประมาณ 4
ประโยชน์ทีค่ าดว่าจะได้รบั 4
13
๒ เอกสารประกอบโครงการ 22
พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของรชั กาลที่ ๑๐
การพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมของขา้ ราชการ 31
การปฏบิ ตั คิ นตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง 31
31
๓ วธิ ีดาเนินการ 32
ประชากรและกลุ่มตัวอยา่ ง 32
เป้าหมายของโครงการ 32
เครอื่ งมอื ท่ีใชใ้ นศึกษา
การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 34
สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 34
35
4 ผลการประเมิน 42
ผลเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธก์ิ ่อนและหลังอบรมของผเู้ ขา้ อบรม 49
ผลการศึกษาการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสูก่ ารปฏิบตั จิ รงิ
ผลการศกึ ษาความพงึ พอใจของผู้เข้าอบรมที่มตี ่อโครงการ
ผลการประเมินอัตราการรอดตายของตน้ มะนาว

สารบญั (ต่อ)

บทที่ หนา้

5 บทสรุป 50
สรุปผลการประเมนิ 50
อภิปรายผล 54
ข้อเสนอแนะ 54

เอกสารอา้ งอิง

ภาคผนวก

สารบญั ตาราง หน้า

ตารางที่ 34
35
๑ แสดงผลสัมฤทธกิ์ ่อนและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม 36
37
๒ แสดงข้อมูลท่ัวไปผตู้ อบแบบสอบถาม 39
42
๓ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดับความคดิ เห็น และอนั ดับ โดยภาพรวม 43
และรายดา้ น 44
45
๔ แสดงคา่ เฉลยี่ สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อันดับ และภาพรวม 46
ดา้ นการรบั รู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 47
48
๕ แสดงคา่ เฉลย่ี ส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เห็น อันดับ และภาพรวม 49
ดา้ นการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ตั ิจรงิ

๖ แสดงข้อมูลท่วั ไปผตู้ อบแบบสอบถาม

๗ แสดงคา่ เฉลีย่ ส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดับความคดิ เหน็ และอันดับ
ด้านความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร ความรคู้ วามเข้าใจ

๘ แสดงคา่ เฉลยี่ สว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อนั ดบั และภาพรวม
ดา้ นความพึงพอใจในคุณภาพการให้บรกิ าร ความพงึ พอใจ

๙ แสดงค่าเฉลย่ี ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคิดเหน็ อันดบั และภาพรวม
ด้านกระบวนการ/ข้นั ตอนการให้บรกิ าร

๑๐ แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับความคดิ เห็น อนั ดบั และภาพรวม
ด้านบคุ ลากรผจู้ ัดการอบรมและคณะวทิ ยากร

๑๑ แสดงคา่ เฉล่ีย สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคดิ เห็น อันดบั และภาพรวม
ด้านส่งิ อานวยความสะดวก

๑๒ แสดงค่าเฉล่ีย สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อนั ดับ และภาพรวม
ดา้ นคุณภาพการให้บริการ

13 แสดงจานวนตน้ มะนาวรอดตาย

1

บทที่ 1

รายละเอียดโครงการ

แผนงบประมาณ แผนงานพ้ืนฐานด้านการพฒั นาและเสรมิ สร้างศกั ยภาพคน
ผลผลติ นโยบายและแผนดา้ นการศกึ ษา
กิจกรรม การขบั เคล่ือนการปฏริ ูปการศึกษาในสว่ นภูมิภาค

1. โครงการ โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

2. หลักการและเหตผุ ล
พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาในสมเดจ็ พระเจา้ อยู่หัวรชั กาลที่ 10 ในภาพรวม 1. สืบสาน

พระราชปณิธานหรือพระราชกระแสรับส่ังรัชกาลท่ี 9 เรื่อง การสร้างคนดี 2. การศึกษาต้องมุ่งสร้างพ้ืนฐาน
ให้แก่เด็ก ทัศนคติท่ีถูกต้อง (อุปนิสัย) ท่ีมั่นคงเข้มแข็ง มีอาชีพ-มีงานทา ฯลฯ 3. เน้นการสร้างทัศนคติ
(Attitude) และ4. การศึกษาในภาพรวมทาอย่างไรให้เยาวชนมีความสนใจและเข้าใจเรื่องของสถาบันและ
ประวตั ศิ าสตร์ (พลเอก ดาว์พงษ์ รัตนสุวรรณ องคมนตรี . 2562. พระบรมราโชบายด้านการศึกษาในสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรชั กาลที่ 10 สืบคน้ เมือ่ วันท่ี 25 มีนาคม 2562. จาก www.moe.go.th )

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็นปรัชญาที่ชี้แนวทางดารงชีวิต และปฏิบัติของประชาชนใน
ทุกระดบั ตงั้ แตร่ ะดบั ครอบครัว ระดับชมุ ชน จนถงึ ระดับรัฐ โดยการพัฒนาและการบริหารประเทศให้ดาเนินไป
ในทางสายกลาง ท่ีเน้นการเจริญเติมโตที่ค่อย ๆ เกิดข้ึนตามศักยภาพท่ีมีอยู่อย่างมีเหตุมีผลเป็นขั้นเป็นตอน
ด้วยความมั่นคง และเตรียมพร้อมด้วยความไม่ประมาท ในการรับมือกระแสโลกาภิวัติ ซ่ึงในส่วนของภาค
การศกึ ษาได้มแี ผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2560-2579 โดยกาหนดวิสัยทัศน์ คนไทยทุกคนได้รับการศึกษา
และเรียนรู้ตลอดชีวิตอย่างมีคุณภาพ ดารงชีวิตอย่างเป็นสุข สอดคล้องกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
และการเปลี่ยนแปลงของโลกศตวรรษ ท่ี 21 อันจะนาไปสู่การสร้างความผาสุกร่วมกันในสังคมของชนในชาติ
และพัฒนาประเทศไปสปู่ ระเทศท่พี ฒั นาแล้วในอกี 20 ปีข้างหน้า ในการนี้กระทรวงศึกษาธิการ โดยสานักงาน
ศึกษาธิการภาค 17 สังกัดสานักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าท่ี ขับเคล่ือนการศึกษาในระดับภาคและ
จังหวัด โดยอานวยการ ส่งเสริม สนับสนุน และพัฒนาการศึกษาแบบร่วมมือและบูรณาการกับหน่วยงานใน
สงั กดั กระทรวงศกึ ษาธิการและหนว่ ยงานอ่ืนหรอื ภาคสว่ นทีเ่ ก่ยี วขอ้ งในพ้ืนที่นัน้ ๆ

สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ได้ตระหนังถึงความสาคัญในการนาปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาประยกุ ตใ์ ชใ้ นการขบั เคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัด เพื่อให้บุคลากรทางการศึกษามีความรู้ความ
เข้าใจ มีทักษะพื้นฐานในการดาเนินชีวิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถนาไปสู่การปฏิบัติ
ขับเคลื่อนการศึกษาในระดับภาคและจังหวัดได้จริง จึงจัดทาโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง สานกั งานศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562

3. วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ
1. เพอ่ื ให้บุคลากรมีความรู้ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

2

2. เพ่ือให้บุคลากรนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติการในหน่วยงานและไปดารงชีวิต
ประจาวัน

3. เพอ่ื ปรบั ปรงุ ภมู ิทัศนแ์ ละส่ิงแวดล้อมในบรเิ วณสานักงานศกึ ษาธิการภาค 17

4. เปา้ หมายของโครงการ
4.1 เชิงปริมาณ
1. ผบู้ ริหารหนว่ ยงานทางการศกึ ษาและบุคลากรที่เก่ยี วขอ้ งทกุ สังกัดของ

กระทรวงศึกษาธกิ ารในพ้นื ทเี่ ขตตรวจราชการที่ 17 ซ่ึงเป็นผู้เข้าอบรม จานวน 80 คน
2. ผู้เข้าอบรม มผี ลสมั ฤทธิ์หลงั การฝึกอบรมไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 80
3. ตน้ มะนาว ปลูกจานวน 40 ต้น โดยผเู้ ข้าอบรม

4.2 เชงิ คณุ ภาพ
1. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติจริงของผู้เข้าอบรม อยู่ในระดับมาก

โดยคะแนนเฉลยี่ 3.51 ข้นึ ไป
2. ความพงึ พอใจของผู้เขา้ อบรม อยูใ่ นระดบั มาก โดยคะแนนเฉล่ีย 3.51 ข้ึนไป
3. อตั ราการรอดตายของต้นมะนาวไม่น้อยกว่ารอ้ ยละ 80 หรอื มากกว่า 32 ตน้

5. วธิ กี ารดาเนนิ งานและแผนปฏิบัตงิ าน

วงจรคณุ ภาพ ข้นั ตอนการดาเนินงาน วัน/เดือน/ปี
มี.ค.62
การวางแผน (Planning) 1. วางแผนการดาเนนิ งาน ม.ี ค.62
เม.ย.62
2. เสนอแผนโครงการ เม.ย.62
เม.ย.62
การดาเนินงาน (Doing) 1. เขียนโครงการ เม.ย.62
เม.ย.62
2. ขออนมุ ตั โิ ครงการ เม.ย. 62

3. ประสานวิทยากร เม.ย. 62

4. ประชาสมั พนั ธ์โครงการ เม.ย. 62
พ.ค. 62
5. ดาเนินงานโครงการ ก.ค. 62
ก.ย. 62
การประเมนิ ผล (Checking) 1. เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ก่อนและหลังอบรมของ

ผู้เขา้ อบรม

2. ประเมินผลการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

พอเพียงไปปฏิบตั ิจรงิ ของผูเ้ ขา้ อบรม

3. ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เข้าอบรม

4. สารวจอตั ราการรอดตายของมะนาว

5. จัดทารายงาน

การปรับปรุง (Action) 1. นาผลการประเมินไปปรับปรุงและพัฒนาตอ่ ไป

6. งบประมาณ
สานักงานศึกษาธกิ ารภาค 17 จานวน 83,703 บาท ไดแ้ ก่

3

9.1 กิจกรรมการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปฏบิ ัตกิ าร จากโครงการส่งเสริม สนับสนนุ
การดาเนนิ งานตามพระราโชบายด้านการศึกษาของสมเด็จพระเจา้ อยหู่ วั มหาวชริ าลงกรณ บดนิ ทรเทพวรางกูร
สกู่ ารปฏบิ ตั ิ

9.2 กิจกรรมศึกษาดูงานตามโครงการตามรอยเท้าพ่อ บชร 3 ณ ค่ายเอกาทศรก จ.

พิษณุโลก จากโครงการขบั เคลือ่ นยุทธศาสตร์การพัฒนาการศึกษาส่กู ารปฏิบัตริ ะดบั ภูมภิ าค ประจาปี 2562

ที่ กิจกรรม งบประมาณ จาแนกคา่ ใชจ้ า่ ยงบประมาณ
ตอนแทน ใช้สอย วสั ดุ

1 กจิ กรรมศกึ ษาดงู านตามโครงการตามรอยเท้า 3,037
พอ่ บชร 3 ณ ค่ายเอกาทศรก จ.พษิ ณโุ ลก 10,080
1.1 คา่ ตอบแทนวิทยากร 5,880
1.2 คา่ จดั ทาเอกสารในการฝึกอบรม
1.3 ค่าอาหารกลางวนั 4,446
1.4 คา่ อาหารวา่ งและเครอื่ งดมื่ 39,800
1.5 คา่ น้ามัน 3 คัน 1,260
11,000
2 กิจกรรมการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ 83,703 3,200
พอเพยี งไปปฏิบัตกิ าร (ปลกู มะนาวในวงบ่อ) 5,000
2.1 คา่ ตอบแทนวิทยากร
2.2 ค่าอาหารกลางวัน
2.3 ค่าอาหารวา่ งและเคร่อื งด่มื
2.4 ค่าวัสดุ
2.4.1 วงบอ่ ซีเมน จานวน 38 วง
2.4.2 ค่าดิน จานวน 57 รถ
2.4.3 ป๋ยุ มลู สัตว์ จานวน 30 กระสอบ
2.4.4 อปุ กรณ์ตอ่ พว่ งป้ัมนา้
2.4.5 กงิ่ พันธม์ุ ะนาว
2.4.6 วสั ดอุ ื่น

6. ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะไดร้ ับ
1. บุคลากรมคี วามรู้ ความเข้าใจ และนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปฏบิ ัติได้
2. บุคลากรมที ศั นคตทิ ถ่ี ูกตอ้ ง (อุปนสิ ยั ) ที่มั่นคงเข้มแข็ง
3. สานักงานศึกษาธิการภาค 17 มีแหล่งเรียนรตู้ ามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
4. สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 มีเครอื ขา่ ยในการขบั เคล่อื นการศกึ ษาในระดับภาคและจังหวดั

4

บทท่ี 2

เอกสารประกอบโครงการ

โครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17
ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 วัตถปุ ระสงค์ของโครงการ เพื่อให้บุคลากรมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เพ่ือให้บุคลากรนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปปฏิบัติการในหน่วยงาน
และไปดารงชีวิตประจาวัน และเพ่ือปรับปรุงภูมิทัศน์และส่ิงแวดล้อมในบริเวณสานักงานศึกษาธิการภาค 17
โดยลักษณะกิจกรรมเป็นไปในรูปแบบการอบรมเชิงปฏิบัติการ มีนายพิธาน พ้ืนทอง ผู้ตรวจราชการ
กระทรวงศึกษาธกิ าร ประจาเขตตรวจราชการท่ี 17 เปน็ วทิ ยากรมาให้ความรใู้ นประเด็นต่างๆ ดังนี้

5

6

7

8

9

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

23

24

25

26

27

28

29

30

31

บทท่ี 3

วธิ ีการประเมินผล

การประเมินผลโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน
ศกึ ษาธิการภาค 17 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2562 มีการประเมนิ ผลโครงการ ดงั นี้

1. ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
2. เปา้ หมายโครงการ
2. เครือ่ งมือท่ีใชใ้ นการศกึ ษา
3. ขน้ั ตอนการเกบ็ ข้อมูล
4. สถติ ทิ ีใ่ ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู

ประชากรและกลุ่มตวั อยา่ ง
ประชากร คือ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกสังกัดของ

กระทรวงศกึ ษาธกิ ารในพ้นื ทเ่ี ขตตรวจราชการท่ี 17
กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรท่ีเกี่ยวข้องทุกสังกัดของ

กระทรวงศกึ ษาธิการในพ้นื ท่ีเขตตรวจราชการที่ 17 จานวน 80 คน

เป้าหมายโครงการ
เป้าหมายของโครงการ
เชิงปรมิ าณ :
1. ผูบ้ รหิ ารหน่วยงานทางการศึกษาและบุคลากรท่ีเก่ยี วข้องทุกสังกัดของกระทรวง ศึกษาธิการ

ในพน้ื ทีเ่ ขตตรวจราชการที่ 17 ซง่ึ เป็นผเู้ ข้าอบรม จานวน 80 คน
2. ผเู้ ขา้ อบรม มีผลสัมฤทธหิ์ ลังการฝกึ อบรมไม่น้อยกวา่ ร้อยละ 80
3. ต้นมะนาว ปลกู จานวน 40 ตน้ โดยผเู้ ข้าอบรม
เชงิ คุณภาพ :
1. การนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้เข้าอบรมอยู่ในระดับมาก

โดยมีคะแนนเฉลย่ี 3.51 ข้ึนไป
2. ความพึงพอใจของผเู้ ขา้ อบรมอย่ใู นระดบั มาก โดยมีคะแนนเฉลี่ย 3.51 ข้ึนไป โดยมีคะแนน

เฉล่ีย 3.51 ขนึ้ ไป
3. อตั ราการรอดตายของตน้ มะนาวไม่นอ้ ยกว่ารอ้ ยละ 80 โดยมากกว่า 32 ตน้

32

เครอ่ื งมอื ที่ใชใ้ นการศึกษา
เคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการศึกษาครงั้ น้ี ได้แก่
1. เอกสารประกอบโครงการ ได้แก่ 9 ตามรอยเท้าพ่อ สานต่อความดี วิถีพอเพียง จัดทาโดยนาย

พิธาน พน้ื ทอง ผู้ตรวจราชการกระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาเขตตรวจราชการท่ี 17
2. แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเก่ียวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบ 2 ตัวเลือก ถูก-

ผิด จานวน 20 ขอ้ โดยผู้ศึกษาไดน้ าแบบประเมินของมหาวิทยาลยั ราชภฏั สวนสนุ นั ทา
รายงานการวิจัย เรื่อง พฤติกรรมการดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของนักศึกษามหาวิทยาลัย
ราชภัฏในเขตกรุงเทพมหานคร สืบค้นเม่ือวันที่ 2 เมษายน 2562 จาก http://www.ssruir.ssru.ac.th มา
ประยุกต์ใช้

2. แบบสอบถามการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งไปปฏิบัตจิ ริงของผู้เข้าร่วมโครงการฯ เป็น
แบบสอบถาม (Questionnaires) โดยผู้ศึกษาได้นาแบบประเมินของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
งานวิจยั เรอื่ ง การนาหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้นาท้องถ่ินในจังหวัดปทุมธานี สืบค้น
เมอ่ื วนั ท่ี 2 เมษายน 2562 จาก http://doi.nrct.go.th มาประยุกตใ์ ช้

3. แบบสารวจความพึงพอใจของผู้รับบริการที่มีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สานักงานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นแบบสอบถาม
(Questionnaires) โดยผู้ศึกษาไดน้ าแบบประเมนมาจาก กพร. สป.ศธ

4. แบบสารวจอตั ราการรอดตายของต้นมะนาว โดยผู้ศกึ ษา ได้นาแบบประเมินของ กรมอุทยาน
แห่งชาติ สตั วป์ า่ และพนั ธพุ์ ืช ซ่งึ เป็นตวั ชว้ี ัดเพ่ือประกอบคารับรองการปฏิบัติราชการ จาก www.dnp.go.th/
สืบคน้ เมอ่ื วนั ที่ 2 เมษายน 2562 มาประยุกต์ใช้

3. การเกบ็ รวมรวมข้อมูล ร้อยละ
3.1 แจกแบบสอบถามกอ่ นการอบรม
3.2 เกบ็ แบบสอบถามหลงั การอบรมและกิจกรรมเสรจ็ ส้ิน
3.3 นาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม SPSS เพื่อหาความถี่ (Frequency),

(Percentage), ค่าเฉลี่ย ( ) และส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน (S.D.)

4. สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู

4.1 แบบทดสอบความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแบบ 2 ตัวเลือก

ถูก-ผิด จานวน 20 ข้อ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

ดว้ ยแบบทดสอบถูก-ผิด โดยใช้การหารอ้ ยละ

4.2 แบบสอบถามการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริงของผู้บริหารหน่วยงาน

ทางการศกึ ษาและบคุ ลากรท่ีเกย่ี วข้องทุกสงั กัดในพ้ืนท่เี ขตตรวจราชการท่ี 17 มกี ารวิเคราะห์ ดังน้ี

1) วเิ คราะหข์ อ้ มลู ตอนท่ี 1 โดยนาเสนอในรปู แบบตารางแสดงความถี่ (Frequency)

2) วิเคราะห์ข้อมูล ตอนท่ี 2 โดยนาเสนอในรูปแบบตารางแสดงค่าเฉลี่ย ( ) และ ส่วน

เบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D.) ท้งั นี้ ข้อคาถามแตล่ ะขอ้ จะมชี ่วงคะแนนเฉลีย่ ของระดับความคิดเหน็ 5 ระดบั ดงั นี้

33

ชว่ งคะแนนเฉล่ยี ระดบั ความคดิ เหน็

ค่าเฉลย่ี ระหวา่ ง 4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ ในระดับมากทีส่ ุด

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามคิดเห็นในระดับมาก

ค่าเฉลยี่ ระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามคดิ เหน็ ในระดบั ปานกลาง

คา่ เฉลยี่ ระหว่าง 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นในระดบั น้อย

คา่ เฉลี่ยระหว่าง 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามคดิ เห็นในระดบั นอ้ ยทส่ี ดุ

4.3 แบบสารวจความคิดเห็นของผู้รับบริการท่ีมีต่อโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ

เศรษฐกิจพอเพยี ง สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 มีการวิเคราะห์ ดงั นี้

1) วิเคราะห์ขอ้ มูล ตอนที่ 1 โดยนาเสนอในรูปแบบตารางแสดงความถี่ (Frequency)

2) วิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่ 2 โดยนาเสนอในรูปแบบตารางแสดงค่าเฉลี่ย ( ) และ ส่วน

เบย่ี งเบนมาตรฐาน (S.D.) ดังน้ี

2.1 ความรคู้ วามเข้าใจ ข้อคาถามแตล่ ะขอ้ จะมีชว่ งคะแนนเฉลี่ยของระดับความรู้ความเข้าใจ

5 ระดับ ดงั นี้

ชว่ งคะแนนเฉล่ีย ระดบั ความคดิ เห็น

คา่ เฉลย่ี ระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถงึ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในระดบั มากที่สดุ

คา่ เฉลย่ี ระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถึง มคี วามรคู้ วามเข้าใจในระดบั มาก

คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 2.51 – 3.50 หมายถงึ มคี วามรูค้ วามเขา้ ใจในระดับปานกลาง

คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามร้คู วามเข้าใจระดับน้อย

คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.00 – 1.50 หมายถึง มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจในระดับน้อยทีส่ ุด

2.2 ความพึงพอใจ ข้อคาถามแต่ละข้อจะมีช่วงคะแนนเฉลี่ยของระดับความพึงพอใจ 5

ระดบั ดังน้ี

ช่วงคะแนนเฉลย่ี ระดบั ความคิดเหน็

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 4.51 – 5.00 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดับมากทสี่ ดุ

ค่าเฉลี่ยระหว่าง 3.51 – 4.50 หมายถงึ มคี วามพึงพอใจในระดบั มาก

คา่ เฉลีย่ ระหว่าง 2.51 – 3.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดับปานกลาง

คา่ เฉลี่ยระหวา่ ง 1.51 – 2.50 หมายถึง มคี วามพงึ พอใจในระดบั นอ้ ย

ค่าเฉลยี่ ระหวา่ ง 1.00 – 1.50 หมายถึง มีความพึงพอใจในระดบั น้อยที่สดุ

34

บทท่ี 4

ผลการประเมิน

การประเมินผลโครงการพัฒนาบุคลากรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สานักงาน
ศกึ ษาธกิ ารภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ซึง่ จากข้อมูลสามารถสรุปไดด้ ังน้ี

1. ผลเปรยี บเทียบผลสมั ฤทธกิ์ อ่ นและหลังอบรมของผเู้ ขา้ อบรม
2. ผลการศกึ ษาการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ตั จิ รงิ ของผ้เู ขา้ อบรม
3. ผลการศึกษาความพงึ พอใจของผู้เข้าอบรมทีม่ ตี ่อโครงการพฒั นาบุคลากรตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง สานกั งานศึกษาธิการภาค 17 ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562
4. ผลการการประเมนิ อัตราการรอดตายของต้นมะนาว

1. ผลเปรยี บเทยี บผลสมั ฤทธ์ิกอ่ นและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม

ตาราง 1 แสดงผลสัมฤทธิ์กอ่ นและหลงั การอบรมของผเู้ ข้าอบรม

คะแนน จานวน(คน) คะแนนรวม รอ้ ยละ คะแนนเฉลีย่ S.D. Sig.

กอ่ นเรยี น 81 1,082 67 13.36 -26.952 .000**
หลงั เรียน 81 1,444 89 17.83

**p<.01

จากตาราง 1 พบว่า การเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิก่อนและหลังอบรมของผู้เข้าอบรม ผู้เข้าอบรม

ผลสมั ฤทธิ์หลงั อบรมมคี ่าคะแนนเฉลี่ย 17.83 คิดเป็นร้อยละ 89 เพ่ิมสูงข้ึนกว่าก่อนอบรมมี ค่าคะแนนเฉล่ีย

13.36 คิดเป็นร้อยละ 67 และสูงกว่าเกณฑร์ อ้ ยละ 80 และแตกตา่ งอยา่ งมีนยั สาคัญทางสถติ ทิ ่ี .05

35

2. ผลการศึกษาการนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏิบตั ิจริงของผู้เข้าอบรม
จากข้อมลู ท่ีไดส้ ามารถนามาวิเคราะหข์ ้อมลู ดังนี้
ตอน 1 ข้อมลู ท่ัวไปของผ้ตู อบแบบสอบถาม
ตอน 2 การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงส่กู ารปฏบิ ัติจริง

ตอน 1 ขอ้ มลู ท่วั ไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตาราง 2 แสดงขอ้ มลู ท่ัวไปผตู้ อบแบบสอบถาม

รายการ N =จานวน รอ้ ยละ
จานวน (คน)
1. เพศ 44
1.1 ชาย 36 56
1.2 หญงิ 45 100.0
รวม 81
32
2. สังกดั 26 28
2.1 ศธภ. 23 4
2.2 ศธจ. 3 26
2.3 กศน. 21 5
2.4 สพป. 4 5
2.5 สพม. 4 100.0
2.6 อศจ. 81
รวม 7
6 19
3. การศกึ ษา 15 74
3.1 ตา่ กวา่ ป.ตรี 60 100.0
3.2 ป.ตรี 81
3.3 สูงกว่า ป.ตรี
รวม

จากตาราง 2 พบว่า จานวนผ้ตู อบแบบสอบถามมจี านวนทั้งส้ิน 81 คน ผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศ
ชาย 36 คน คิดเป็นร้อยละ 44 หญิง 45 คน คิดเป็นร้อยละ 56 มีสังกัด สานักงานศึกษาธิการภาค 26 คน
คิดเป็นร้อยละ 32 สานักงานศึกษาธิการจังหวัด จานวน 23 คน คิดเป็นร้อยละ 28 สานักงานส่งเสริม
การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย จานวน 3 คน คิดเป็นร้อยละ 4 สานักงานเขตการศึกษา
ประถมศึกษา จานวน 21 คน คิดเป็นร้อยละ 26 สานักงานเขตการศึกษามัธยมศึกษา จานวน 4 คน คิดเป็น
รอ้ ยละ 5 และสานักงานอาชวี ศึกษา จานวน 4 คน คิดเปน็ ร้อยละ 5 และการศึกษา ต่ากวา่ ปรญิ ญาตรี จานวน
6 คน คดิ เป็นร้อยละ 7 ปรญิ ญาตรี จานวน 15 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 19 และสูงกว่าปริญญาตรี จานวน 60 คน
คิดเป็นรอ้ ยละ 74

36

ตอน 2 การนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียงสกู่ ารปฏิบตั ิจริง
ตาราง 3 แสดงคา่ เฉลยี่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เหน็ และอนั ดบั

1. โดยภาพรวมและรายด้าน

รายการประเมิน N=81 ระดับความ อนั ดบั
S.D. คิดเห็น
1. ด้านการรับรปู้ รชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง มาก 1
2. ด้านการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การ 4.47 0.34 มาก 2
4.36 0.34
ปฏบิ ตั จิ ริง มาก
รวมเฉลยี่ 4.40 0.29

จากตาราง 3 พบว่า การประเมินการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง โดย
ภาพรวม มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( X = 4.40, S.D. = 0.29) เมื่อพิจารณาเป็นด้าน ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด

คือ ด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉล่ียระดับมาก ( X = 4.47, S.D. = 0.34 ) รองลงมา

คือ ด้านการนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏิบัติจริง มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก ( X = 4.36,
S.D. = 0.34)

37

ตาราง 4 แสดงค่าเฉล่ีย ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เหน็ อันดบั และภาพรวม
2. ดา้ นการรับรู้ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง

รายการประเมนิ N=81 ระดบั ความ อนั ดับ
S.D. คดิ เห็น 11
1. การรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถนาไปใช้ มาก 3
กบั ชวี ิตประจาวนั 4.38 0.51 มากทส่ี ดุ 8
4.60 0.52 มาก 4
2. ท่านมีความเชอ่ื ว่าแนวคิดปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง 4.49 0.55 มากทีส่ ดุ 2
เปน็ ส่ิงทีด่ ี 4.58 0.52 มากท่สี ดุ 15
4.62 0.49 มาก 7
3. ท่านมีความคาดหวงั วา่ แนวคิดปรัชญาเศรษฐกจิ 3.95 0.61 มากที่สุด 14
พอเพยี งจะทาใหส้ ังคมไทยดขี ้ึนกวา่ เดิม 4.52 0.55 มาก 6
4.26 0.59 มากที่สุด 13
4. ท่านมีความคาดหวงั ว่าแนวคดิ ปรชั ญาเศรษฐกจิ 4.53 0.55 มาก 4
พอเพียงจะทาใหช้ วี ติ ของท่านดีขน้ึ กวา่ เดมิ 4.30 0.53 มากทสี่ ุด
4.58 0.50 10
5. ท่านคิดวา่ การรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งเป็นสงิ่ มาก 5
สาคัญในสภาวะเศรษฐกิจปจั จบุ นั 4.42 0.59 มากทส่ี ุด
4.56 0.52
6. ท่านมีความเข้าใจเกยี่ วกบั แนวคิดปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพยี ง

7. ทา่ นสามารถทจ่ี ะหาข้อมลู เกย่ี วกบั แนวคิดปรัชญา
เศรษฐกจิ พอเพยี งมาศกึ ษาได้โดยงา่ ย

8. ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียงสามารถวดั ระดับความ
พอเพยี งการใชจ้ า่ ยในสภาพเศรษฐกิจปัจจุบนั

9. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถทาให้เกดิ การ
เปลีย่ นแปลงพฤติกรรมการใช้จา่ ย

10. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถใชใ้ นการสนทนา
และอา้ งอิงในการทางานหรือธุรกจิ

11. ทา่ นรับร้ปู รชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งจากสอื่ ต่างๆ
เชน่ วารสาร บทความวชิ าการ โทรทศั น์ วทิ ยุและ
หนงั สือพมิ พ์

12. การรับรปู้ รัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถนาสิง่ ท่ี
ได้รับร้มู าประยกุ ต์ในการทางานด้านต่างๆ

13. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถสรา้ งความม่นั คง
และสรา้ งคา่ นยิ มของตนเองได้

38

ตาราง 4 แสดงค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน ระดบั ความคดิ เห็น อนั ดับ และภาพรวม
2. ดา้ นการรับรู้ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง (ต่อ)

รายการประเมนิ N=81 ระดับความ อนั ดบั
S.D. คดิ เหน็ 8
14. ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี งสามารถทาใหเ้ กดิ มาก
จิตสานกึ ในการเลือกซ้ือสินคา้ และบรกิ ารซึ่งควรจะ 4.49 0.55 12
ใชแ้ บบพอดี ไม่ฟุง้ เฟอ้ มาก 1
4.31 0.56 มากทส่ี ุด 9
15. ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพยี งจะทาให้ท่านสามารถ 4.67 0.47
พ่ึงตนเองโดยไม่อาศยั ความสะดวกสบาย 4.48 0.53 มาก 2
9
16. การรบั รปู้ รชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงเพม่ิ มากขึ้นทา 4.62 0.49 มากท่ีสุด 5
ให้พฤติกรรมในการบริโภคเปลย่ี นไป 4.48 0.50 มาก
4.56 0.50
17. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงจะชว่ ยเปลย่ี นแปลง 4.47 0.34 มากที่สดุ
พฤติกรรมกระแสวตั ถุนิยมของคนไทยไปในทางท่ีดี มาก
ข้ึน

18. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งสามารถทาให้เศรษฐกิจมี
การเพ่มิ รายได้และลดรายจา่ ยลงได้

19. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถปรับพฤติกรรม
และทิศทางของเศรษฐกจิ ได้

20. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงสามารถช่วยเสริมสร้าง
ความคดิ
รวมเฉลี่ย

จากตาราง 4 พบว่า การประเมินด้านการรับรู้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยภาพรวม มี
ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก ( X = 4.47, S.D. = 0.34) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ ข้อท่ีมีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ การ
รับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพ่ิมมากขึ้นทาให้พฤติกรรมในการบริโภคเปลี่ยนไป มีค่าเฉล่ียระดับมากท่ีสุด
( X = 4.67, S.D. = 0.47 ) รองลงมา คือ ท่านคิดว่าการรับรู้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นสิ่งสาคัญใน

สภาวะเศรษฐกิจปัจจุบัน มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.62, S.D. = 0.49) และข้อท่ีมีค่าเฉล่ีย

ต่าสุด คือ ท่านมีความเข้าใจเก่ียวกับแนวคิดปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มีค่าเฉล่ียอยู่ในระดับมาก( X =
3.95, S.D. = 0.61)

39

ตาราง 5 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อันดบั และภาพรวม
3. ดา้ นการนาหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสกู่ ารปฏบิ ัตจิ ริง

รายการประเมนิ N=81 ระดับความ อนั ดบั
S.D. คดิ เห็น 25
1. มีการบนั ทึกและวเิ คราะหร์ ายรับและรายจา่ ยอยา่ ง มาก 26
เปน็ ประจา 3.80 0.58 มาก 22
3.79 0.59 มาก 14
2. มกี ารจดั ทาบญั ชีรายรับและรายจา่ ยในครัวเรือน 4.16 0.68 มาก 12
3. สง่ เสริมสนบั สนนุ ใหใ้ ช้จา่ ยในภารกิจของครัวเรือน 3 4.36 0.53 มาก
4.38 0.56 6
สว่ น ออม 1 สว่ น มาก 24
4. สามารถพงึ่ ตนเองได้ มจี ิตใจเออื้ อาทรและนกึ ถงึ 4.49 0.53 มาก
4.05 0.65 18
ประโยชนข์ องส่วนรวม มาก 17
5. มคี วามชว่ ยเหลือเก้ือกูลกัน สร้างความเข้มแขง็ ให้ 4.26 0.63 มาก 2
4.28 0.60 มากท่สี ุด 5
ชุมชน และมกี ระบวนการเรยี นรูท้ ีเ่ กดิ จากฐานรากที่ 4.56 0.52 มากทีส่ ุด 13
มนั่ คงและแข็งแรง 4.51 0.57 มาก 4
6. ใช้ทรพั ยากรที่อยอู่ ย่างคมุ้ ค่าและเกดิ ประโยชนส์ ูงสุด 4.37 0.60 มากท่สี ุด
เพ่ือพฒั นาหมู่บ้านและชุมชนใหม้ ่ันคงและแข็งแรง 4.53 0.61
7. มกี ารพฒั นาเทคโนโลยจี ากภูมิปัญญาของชาวบ้าน
ให้สอดคล้องและเปน็ ประโยชน์ตอ่ สภาพแวดล้อม
ของหมู่บา้ น
8. ลดรายจ่ายทีไ่ ม่จาเป็น เชน่ การซอ้ื สนิ ค้าและบริการ
การเทย่ี วเตร่
9. ใช้เวลาวา่ งให้เปน็ ประโยชนโ์ ดยการทาอาชีพเสรมิ
10. ดารงชีวติ อย่างพอควร พออยู่ พอกนิ สมควรตาม
อัตภาพและฐานะของตน
11. มีการสร้างวินัยในเร่ืองของการใช้จา่ ยภายใน
ครอบครวั
12. มกี ารวางแผนการใช้จ่ายเงนิ เพื่อใหม้ ีเงนิ เกบ็ ออม
ของครัวเรือนในอนาคต
13. มกี ารเข้ารว่ มกจิ กรรมการออมเงนิ ต่างๆ เชน่ เปน็
สมาชกิ สหกรณ์ออมทรพั ย์กองทุนอ่นื ๆ และ
ธนาคารตา่ งๆ เป็นตน้

40

ตาราง 5 แสดงคา่ เฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ระดับความคิดเหน็ อันดบั และภาพรวม
3. ดา้ นการนาหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสู่การปฏบิ ัติจรงิ (ต่อ)

รายการประเมิน N=81 ระดับความ อันดับ
S.D. คิดเหน็ 9
14. มกี ารสร้างจิตสานกึ เก่ยี วกบั การลด ละ เลิก มาก
อบายมุข เชน่ การพนนั สรุ า และบุหร่ี เพื่อ 4.45 0.50 11
ความสุข ความอบอุ่นในครอบครวั มาก 10
4.43 0.57 มาก 11
15. มกี ารสร้างความนึกคดิ ตามแนวทางของศาสนา คืน 4.44 0.50 มาก 7
ความสขุ ความอบอุ่นให้ครอบครวั 4.43 0.55 มาก 3
4.48 0.53 มากท่สี ดุ 8
16. มสี ว่ นร่วมในการรกั ษาความสะอาดและกาจัดขยะ 4.54 0.50 มาก 8
มลพษิ 4.47 0.55 มาก 16
4.47 0.55 มาก
17. มสี ว่ นรว่ มในการรักษาดูแลแมน่ า้ ลาคลองและ 4.30 0.58 16
แหลง่ น้าอ่นื ๆ มาก 19
4.31 0.52 มาก 20
18. มีสว่ นรว่ มในการปลกู ตน้ ไม้เพอ่ื เพมิ่ ความร่มร่ืน 4.23 0.58 มาก
เขียวขจี และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ 4.22 0.57 20
มาก
19. มสี ว่ นรว่ มในกจิ กรรมโครงการต่างๆของ 4.22 0.50
สถานศกึ ษา

20. มสี ่วนร่วมและส่งเสริมกิจกรรมโครงการต่างๆของ
เด็ก

21. มสี ่วนรว่ มในพัฒนาชุมชนและเศรษฐกจิ พอเพยี ง
22. มสี ่วนร่วมในการสง่ เสริมใหเ้ ด็กและเยาวชนได้

ปรับเปล่ียนแนวคิดหันกลบั ชว่ ยเหลอื ผูป้ กครองใน
เวลาวา่ ง
23. มีส่วนร่วมในการกาหนดกจิ กรรมของแผนชุมชน/ที่
ทางาน
24. มีส่วนรว่ มในการดาเนนิ ตามแผนของชมุ ชน/ท่ี
ทางาน
25. มีการใชภ้ ูมิปัญญาท้องถิ่นเพอื่ พัฒนาศักยภาพใน
การประกอบอาชพี เสรมิ สร้างความเข้มแขง็ และ
เศรษฐกจิ ชุมชน
26. มีส่วนรว่ มประชมุ เพ่ือวิเคราะห์และจัดลาดับ
ความสาคัญของกจิ กรรมจากแผนสู่การปฏบิ ตั ิ และ
ตดิ ตาม ประเมนิ ผล


Click to View FlipBook Version