The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

2-6รายงานการค้นคว้าอิสระ เทคนิค Coaching (นุตประวีณ์)_compressed

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

2-6รายงานการค้นคว้าอิสระ เทคนิค Coaching (นุตประวีณ์)_compressed

2-6รายงานการค้นคว้าอิสระ เทคนิค Coaching (นุตประวีณ์)_compressed



faa

รายงานการศึกษาค้นควา้ อสิ ระ
เรอ่ื ง เทคนคิ การนิเทศแบบชแ้ี นะ (Coaching)

ฝศน๒. 2.6

รายงานการศกึ ษาค้นคว้าอิสระ

เร่ือง
เทคนคิ การนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching)

โดย
นางสาวนตุ ประวณี ์ ทัศนสวุ รรณ
ผ้ฝู ึกประสบการณน์ ิเทศการศึกษา

รายงานการศึกษาคน้ คว้าน้ี เป็นส่วนหนึง่ ของการฝึกประสบการณน์ เิ ทศการศกึ ษา
กอ่ นแตง่ ตั้งใหด้ ำรงตำแหน่งศกึ ษานเิ ทศก์
สำนกั งานคณะกรรมการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน

สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาพิจติ ร เขต 2

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ
เร่อื ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชแ้ี นะ (Coaching)


คำนำ

รายงานการค้นคว้าอิสระ เรื่อง เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) จัดทำขึ้นเพื่อรายงานผล
จากการศึกษาค้นคว้า เกี่ยวกับเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) ประกอบด้วย บทนำ วัตถุประสงค์
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ หลักการ ทฤษฎี แนวคิด เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้ต่าง ๆ การนำไปพัฒนางาน/
การเชื่อมโยงประยุกต์ใช้ และผลที่เกิดขึ้น ในอันจะเป็นประโยชน์สำหรับนำไปสู่การพัฒนาการนิเทศ
การศกึ ษา การวางแผนการนเิ ทศ การสร้างส่ือการนิเทศ และเคร่ืองมือการนเิ ทศ สำหรบั ใช้ในการปฏิบัติการ
นเิ ทศเพือ่ พัฒนาครู ผบู้ รหิ าร และสถานศึกษาใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอน และจดั การศึกษาที่มีคุณภาพ
มากยิ่งขึ้น และเผยแพร่และขยายผลให้กับศึกษานิเทศก์ ผู้บริหาร สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และ
ผสู้ นใจ

ขอขอบคุณศึกษานิเทศก์พี่เลี้ยง นางสาวพรรณพร ศรลัมพ์ ที่ได้ให้คำปรึกษา แนะนำ ให้ความ
ชว่ ยเหลอื ในการศกึ ษาคน้ คว้า และการจัดทำรายงานฉบับนจี้ นสำเรจ็ ลุล่วงลงดว้ ยดี

(ลงชอ่ื )
(นางสาวนุตประวณี ์ ทศั นสุวรรณ)

รายงานการศึกษาค้นควา้ อิสระ
เรอ่ื ง เทคนิคการนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

สารบญั ๔

บทนำ หน้า
ความเป็นมาและความสำคัญ 1
วตั ถุประสงค์ 1
ขอบเขตของการศึกษา 2
ประโยชนท์ ี่คาดว่าจะไดร้ ับ 3
ทฤษฎแี ละเอกสารที่เกีย่ วข้อง 3
วิธีดำเนินการศึกษา 4
ผลการศึกษา 17
การนำไปพฒั นางาน/การเช่อื มโยงประยุกต์ใช้ 19
ผลทเี่ กิดขน้ึ 26
เอกสารอ้างอิง 28
29

รายงานการศึกษาค้นควา้ อสิ ระ
เร่อื ง เทคนคิ การนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching)

1

บทนำ

ความเป็นมาและความสำคัญ

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 หมวด 4
มาตรา 22 กล่าวว่า “การจัดการศึกษาต้องยึดหลักวา่ ผู้เรยี นทุกคนมีความสามารถเรียนรู้ และพัฒนาตนเอง
ได้ และถอื ว่าผเู้ รียนมีความสําคัญที่สุด กระบวนการจัดการศึกษาต้องส่งเสรมิ ให้ ผเู้ รียนสามารถพัฒนา ตาม
ธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ” สําหรับผู้ที่มีบทบาทหน้าที่ในการพัฒนา ผู้เรียนให้มีคุณภาพ ตาม
พระราชบญั ญัตกิ ารศึกษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 คอื ครู ซึง่ ตามความในมาตรา 4 กลา่ วว่า “ครู หมายความว่า
บคุ ลากรวิชาชพี ซึง่ ทาํ หนา้ ทห่ี ลกั ทางด้านการเรียนการสอนและการสง่ เสริมการเรยี นรู้ ของผ้เู รยี นด้วยวิธีการ
ต่าง ๆ ในสถานศึกษาทั้งของรัฐและเอกชน” ดังนั้น ครูจึงเป็น ผู้มีบทบาทสําคัญยิ่งในการ พัฒนาผู้เรียน
(พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ. 2545 : 10) รัฐบาลมีนโยบายการปฏิรูปการศึกษาโดยการ ยกระดับ
คุณภาพการศึกษาท่ีมุ่งเนน้ คุณภาพ ผู้เรียนเป็นสาํ คัญ กระทรวงศกึ ษาธกิ ารมอบให้สาํ นักงาน คณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐานรับผิดชอบ ในการกําหนดยุทธศาสตร์ การยกระดับคุณภาพครูทั้งระบบ ด้วยความเชือ่
ที่ว่าการที่จะพัฒนาคุณภาพ ผู้เรียนให้ดีขึ้นได้นั้นประกอบด้วยผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน
กระบวนการหรือวิธีการในการพัฒนา ครูมีหลากหลายวิธีการ ซึ่งต่างมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการ
สอนของครูแตกต่างกันไป วิธีการที่ถือว่ามี ประสิทธิภาพและช่วยให้ครูได้พัฒนาการสอนได้อย่างยั่งยืนวิธี
หนึ่ง คือ การชี้แนะ (Coach) เนื่องจากสามารถ ทําให้ครูเกิดความรู้ ทักษะ และสามารถนาความรู้ไปใช้ให้
เกิดผลในทางปฏบิ ัติได้ ซ่ึงเป็นเป้าหมายท่มี ุ่งหวังให้เกดิ ข้นึ

การพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะเกิดผลสําเร็จ จําเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบหลายประการ
พัฒนาทั้งระบบให้สัมพันธ์และเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ทั้งการบริหาร การเรียนการสอน และการนิเทศ
การศึกษา โดยเฉพาะการนิเทศการศึกษานั้นนับว่า มีความสําคัญและจําเป็น และครูเป็นบุคคลสำคัญ
ในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในการพัฒนาการศึกษาและพัฒนาผู้เรียน การพัฒนาครู
จึงมีความจำเป็นอย่างยิ่งในยุคปัจจุบันที่กระแสแห่งความเปลี่ยนแปลงทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และ
เทคโนโลยี ส่งผลต่อระบบการศึกษา วิธีพัฒนาครูที่สําคัญวิธีหนึ่งคือ การนิเทศการศึกษา เพราะการนิเทศ
การศึกษาเป็นการพัฒนา และปรับปรุงคุณภาพการศึกษาด้วยกระบวนการทํางานร่วมกันของคณะครู
และบุคลากรทางการศึกษา การนิเทศการศึกษามีหลากหลายรูปแบบและวิธีการ ซึ่งการนิเทศแบบชี้แนะ
(Coaching Supervision) เป็นนวัตกรรมการนิเทศแนวใหม่ที่นักวิชาการให้การยอมรับและนำมาเป็น
เครื่องมือในการนิเทศ ช่วยให้ครูผู้สอนได้สะท้อนการจัดการเรียนการสอนของตนเองได้อย่างเป็นระบบ
ช่วยใหค้ รทู ำความเขา้ ใจสงิ่ ท่ีเกดิ ขึ้นในหอ้ งเรยี น

การนิเทศแบบให้คําชี้แนะ เป็นกระบวนการหนึ่งที่มีความสําคัญในการช่วยเหลือให้การจัดการ
เรียนรู้ให้เป็นไปอย่างมีคุณภาพ ผู้ที่มีบทบาทสําคัญ คือ ศึกษานิเทศก์ รวมทั้งเครือข่ายการนิเทศที่เข้ามามี
ส่วนร่วมในการนิเทศการศึกษา การดําเนินการเพื่อเพิ่มศักยภาพในการจัดการเรียนรู้ให้แก่ครูและผู้บริหาร
สถานศึกษา ให้สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ และได้มาตรฐาน การนําเทคนิคการนิเทศแบบให้
คําชี้แนะ (Coaching) มาใช้ในการนิเทศการศึกษา จึงเป็นวิธีการหนึ่งที่จะช่วยในการพัฒนาคุณภาพ
การศกึ ษาของสถานศกึ ษาให้มีประสทิ ธภิ าพมากขน้ึ ได้ นอกจากนี้ยังเปน็ วิธกี ารพัฒนาสมรรถภาพการทํางาน

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระ
เรื่อง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

2

ของครู โดยเน้นไปที่การทํางานให้ได้ตามเป้าหมายของงาน หรือการช่วยให้สามารถนําความรู้ความเข้าใจ
ท่มี ีอยแู่ ละหรอื ได้รบั การอบรมมา ไปสกู่ ารปฏบิ ัติได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ

การนิเทศการศึกษามีความจําเป็นอย่างยิ่ง ต่อสถานศึกษา เนื่องจากสังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง
อยา่ งรวดเร็ว ท้ังทางด้านเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ซง่ึ สง่ ผลใหก้ ารศกึ ษา ต้อง
มกี ารเปลีย่ นแปลงตาม เพอ่ื ใหส้ อดคล้องกับ นโยบาย จดุ หมาย หลกั การ โครงสร้างและมาตรฐาน หลักสูตร
ของ ชาติ ผู้ทีม่ ีบทบาทสาํ คญั ในการนํา การเปลี่ยนแปลงไปสู่การพัฒนาการเรียนการสอน คือ ครผู ูส้ อน การ
ช่วยเหลือครูผู้สอนให้ก้าวทันการ เปลี่ยนแปลง จะส่งผลต่อคุณภาพของนักเรียนให้ดี ต่อไป ดังนั้น เพื่อเป็น
การพัฒนาการจัดการเรียนการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพจึงมีความจําเป็นต้องมีการนิเทศการสอนเพ่ือ
ช่วยให้ครูมีความเชื่อมั่นในตนเอง ได้แลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันละกัน ครูผู้สอนแต่ละคนสามารถ
สังเกตการณ์ทํางานหรือการ สอนของครูคนอื่นๆ เพื่อนํามาปรับปรุงการสอนของ ตนเอง และยังได้
แลกเปลีย่ นวัสดุอุปกรณก์ ารสอน และไดร้ บั ร้วู ธิ ีการใหม่ ๆ เพ่อื ปรบั ปรงุ การสอนของตนเอง

ศึกษานิเทศก์ต้องมีความรู้พ้ืนฐานที่จำเป็นเก่ียวกับแนวคิดและหลักการนิเทศ ความหมายการนิเทศ
จุดมุ่งหมายของการนิเทศ บทบาทหน้าที่ของศึกษานิเทศก์ กระบวนการนิเทศ กิจกรรมการนิเทศ และ
เทคนิควิธีการนิเทศ มีความสำคัญสำหรับศึกษานิเทศก์มืออาชีพ ศึกษานิเทศก์จะต้องเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองด้วยกระบวนการที่เหมาะสม สอดคล้องกับภาระงานที่รับผิดชอบการสังเคราะห์งานวิจัย เป็นเทคนิค
วิธีการที่นำผลการศึกษาจากหลาย ๆ งานวิจัยทีศ่ ึกษาวจิ ยั ในประเด็นเดียวกนั มาศึกษาวิเคราะห์ด้วยวิธีการ
ทางสถิติ หรือวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพและนำเสนอข้อสรุป อย่างมีระบบทำให้ได้คำตอบ/
องค์ความรู้ที่ต้องการซึ่งมีลักษณะที่กว้างขวางและลึกซึ้งยิ่งขึ้น งานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์แต่ละเรื่องให้ข้อ
ค้นพบแต่ละมุมของปรากฏการณ์ที่ต้องการศึกษา และเมื่อนำผลการวิจัยมาสังเคราะห์รวมกัน ผลการ
สังเคราะห์ท่ไี ด้รบั จะมีความกว้างขวางและลุ่มลึกมากกว่าท่ีจะไดร้ บั จากรายงานการวจิ ัยแตล่ ะเรื่อง เพื่อให้ได้
ข้อความรู้ในเชงิ สรปุ ผลการวจิ ยั ท่มี อี ยูก่ ระจดั กระจายใหม้ ีความชดั เจน และได้ข้อยตุ ิ

ดังนั้นผู้รายงานจึงดำเนินการค้นคว้าอิสระ เรื่อง เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) เพื่อนำ
องค์ความรู้/ข้อมูลที่ได้จากการสังเคราะห์แนวคิด หลักการที่เกี่ยวข้องกับเทคนิคการนิเทศแบบ
ชี้แนะ (Coaching) นำมากำหนดกระบวนการพัฒนาการนิเทศสู่วิธีปฏิบัติที่ดี นำไปใช้พัฒนาตนเองในการ
ปฏิบัติงานนิเทศในสภาวะปกติของงานไปใช้ในการวางแผนการนิเทศ ให้เกิดผลอย่างมีคุณภาพ และเกิดผล
งานทางวิชาการทีม่ คี ุณคา่ ตอ่ ไป

วตั ถุประสงค์

1. เพ่ือศึกษาข้อมูล สังเคราะหง์ านวจิ ัย และสรา้ งองค์ความรู้ เกี่ยวกับเทคนิคการนิเทศแบบ
ชแ้ี นะ (Coaching)

2. เพื่อกำหนดแนวทางการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching) ไปประยุกต์ใช้ในงานนเิ ทศการศึกษา

รายงานการศกึ ษาค้นควา้ อิสระ
เรอ่ื ง เทคนิคการนเิ ทศแบบชแ้ี นะ (Coaching)

3

ขอบเขตของการศึกษา

การศกึ ษาเทคนิคการนเิ ทศแบบชแี้ นะ (Coaching) มขี อบเขตการศกึ ษา ดังนี้
1. ขอบเขตด้านเนือ้ หา

ข้อมลู และงานวิจยั เกี่ยวกับเทคนิคและกระบวนการนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching)
2. ขอบเขตด้านระยะเวลา

เวลาทีใ่ ช้ในการศกึ ษาคน้ คว้า 17 มกราคม – 4 กมุ ภาพนั ธ์ พ.ศ. 2563

ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รับ

1. ไดอ้ งค์ความรเู้ ก่ียวกบั เทคนิคการนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching) อนั จะนำไปสกู่ ารพฒั นาการนิเทศ
การศึกษา การวางแผนการนเิ ทศ การสรา้ งสอ่ื การนเิ ทศ และเคร่อื งมอื การนเิ ทศ

2. นำองค์ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในการปฏิบัติการนิเทศเพื่อพัฒนาครู ผู้บริหาร และสถานศึกษา ให้
สามารถจดั การเรียนการสอน และจัดการศกึ ษาท่มี คี ณุ ภาพมากย่ิงข้นึ

รายงานการศึกษาค้นควา้ อิสระ
เรอื่ ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching)

4

ทฤษฎีและเอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง

การสงั เคราะหง์ านวิจัย
การสังเคราะห์องค์ความรู้เป็นวิธีวิทยาการวิจัย ที่ใช้ในการศึกษาอย่างเป็นระบบ เพื่อเชื่อมโยง

องค์ความรู้ที่ได้จากการวิจัย สังเคราะห์เป็นองค์ความรู้ใหม่อย่างเป็นระบบและนำไปสู่การปฏิบัติการ
สงั เคราะห์งานวจิ ยั มหี ลกั การ ทฤษฎี แนวคิด และวิธกี ารปฏบิ ัติ ซ่ึงผู้รายงานขอนำเสนอเปน็ หวั ขอ้ ดังน้ี

1. ความหมายและจดุ มุ่งหมายของการสังเคราะหง์ านวิจัย
จันทร์เพ็ญ เชือ้ พานชิ และคณะ (2531) ไดใ้ ห้ความหมายของการสังเคราะหง์ านวจิ ัยไว้วา่ เป็น

การนำหน่วยย่อย ๆ หรือส่วนต่าง ๆ ของผลการวิจัยที่เป็นข้อความรู้จากงานวิจัยหลาย ๆ เรื่อง
มาประกอบใหเ้ ป็นเนื้อเรอ่ื งเดยี วกนั

อุทุมพร จามรมาน (2531) ได้ให้ความหมายของการสังเคราะห์งานวิจัย โดยสรุปว่า
เปน็ การ นำสว่ นย่อยมาประกอบเข้าดว้ ยกนั จนเกิดสง่ิ ใหม่ขน้ึ

นงลักษณ์ วิรัชชัย (2542) ได้ให้ความหมายของการสังเคราะห์งานวิจัย (research synthesis)
ไว้ว่า การสังเคราะห์งานวิจัย (research synthesis) หรือการปริทัศน์งานวิจัย (research review)
เป็นระเบียบวิธีการศึกษาตามระเบียบวิธีทางวิทยาศาสตร์เพื่อตอบปัญหาใดปัญหาหนึ่ง โดยการรวบรวม
งานวจิ ัยเกยี่ วกบั ปัญหาน้ัน ๆ หลายเรอ่ื งมาศึกษาวเิ คราะหด์ ้วยวธิ ีการทางสถิตหิ รือวเิ คราะหข์ ้อมลู เชิงคุณภาพ
และนำเสนอขอ้ สรุปอยา่ งเปน็ ระบบเพ่ือให้ไดค้ ำตอบปัญหาวจิ ยั ที่ต้องการให้ไดค้ ำตอบที่เปน็ ข้อยตุ ิ

Cooper and Lindsay (1997) ให้ความหมายการสังเคราะห์งานวิจัย (research synthesis)
หรือการบูรณาการงานวิจยั (research integration) ไว้ว่า การสังเคราะห์งานวิจัย เกี่ยวข้องกับความพยายาม
ที่จะค้นหาความสอดคล้องและพิจารณาความเปลี่ยนแปลงหรือความแตกต่างของผลการศึกษาที่ศึกษา
ในลกั ษณะทีค่ ล้ายคลึงกัน

จุดประสงค์ของการสังเคราะห์การวิจัย คือ พยายามที่จะบูรณาการงานวิจัยให้สามารถ
ที่จะสรุปอ้างอิงได้ และเพื่อให้ได้ข้อความรู้ในเชิงสรุปผลการวิจัยที่มีอยู่กระจัดกระจายให้มีความชัดเจน
และไดข้ ้อยตุ ยิ ิ่งขนึ้

สรุปได้ว่าการสังเคราะห์งานวิจัยเป็นการนำหน่วยย่อย ๆ ส่วนต่าง ๆ ของผลการวิจัยที่เป็น
ข้อความรู้จากงานวิจัยหลาย ๆ เรื่องที่ศึกษาปัญหาเดียวกันหรือใกล้เคียงกันทั้งที่เป็นข้อความรูท้ ี่สอดคล้องกัน
หรือขดั แย้งกันมาสังเคราะห์อย่างมรี ะบบและนำมาบรรยายสรุปรวมกันใหเ้ ป็นเร่ืองเดียวกนั จนเกิดเปน็
องค์ความร้ใู หม่และเปน็ ข้อสรุปของปัญหานัน้ ๆ อยา่ งชดั เจน

2. ลกั ษณะสำคญั ของการสังเคราะห์งานวิจัย
การสงั เคราะหง์ านวิจยั มีขอบเขตการดำเนินงานครอบคลุมในเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ การสังเคราะห์

แนวคิด ทฤษฎี หลักการของศาสตร์ การสังเคราะห์ระเบียบวิธีวิจัย และการสังเคราะห์ข้อค้นพบจาก
ผลงานวิจัย การสังเคราะห์งานวิจัยจะมีลักษณะสำคัญอย่างน้อย 5 ประการ ได้แก่ (Glass and others.
1981) การนำแนวคิด ทฤษฎี และหลักการของศาสตร์ที่หลากหลายในหัวข้อเรื่องเดียวกันมาทำการสรุปให้
เห็นเป็นแนวคิด ทฤษฎี ตัวแบบใหม่ขึ้นมา การสังเคราะห์งานวิจัยจะเป็นการสังเคราะห์มาจากผลงานวิจัย
ตั้งแต่ 2 เรื่อง ขึ้นไปในหัวข้อเรื่องเดียวกัน การสังเคราะห์งานวิจัยมีจุดประสงค์เพื่อหาข้อสรุปร่วมจาก

รายงานการศกึ ษาค้นควา้ อิสระ
เรอื่ ง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้แี นะ (Coaching)

5

ผลงานวิจัยต่าง ๆ หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการตกผลึกความคิดที่ได้มากจาผลงานวิจัยหลายชิ้น เพื่อให้ได้
ข้อสรุปร่วมในหัวข้อเรื่องที่ศึกษาการสังเคราะห์งานวิจัยเป็นการมุ่งหาข้อสรุปหรือข้อเสนอแนะทั่วไป
(Generalization) ในหัวข้อที่ศึกษาโดยใช้เหตุผลเชิงอุปมาน (induction Reasoning) ซึ่งการใช้เหตุผล
เชิงอุปมานเป็นวิธีการศึกษาที่ใช้วิธีการ นำข้อค้นพบที่ได้ปรากฏการณ์ต่าง ๆ เป็นจำนวนมากมาหาเป็น
ข้อสรุปทั่วไป เช่น ในการสังเคราะห์งานวิจัยเรื่องความสำเร็จของการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ โดยศึกษา
จากหน่วยงานต่าง ๆ ที่ประสบผลสำเร็จ ปัจจัยหนึ่งที่สำคัญที่พบว่ามีอิทธิพลต่อความสำเร็จของ
การบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ก็คือ ผู้นำ ผู้ที่ทำหน้าที่สังเคราะห์งานวิจัยจะต้องหาข้อสรุปร่วมกันให้ได้ว่า
ผ้นู ำแต่ละหนว่ ยงานทป่ี ระสบผลสำเรจ็ ลว้ นใช้สไตล์ ผ้นู ำอยา่ งไร เชน่ เน้นการสร้างวิสยั ทศั นร์ ่วม เน้นการมี
ส่วนร่วมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในทุกขั้นตอนเน้นการบริหาร การเปลี่ยนแปลงเน้นการจูงใจ เป็นต้น
การสงั เคราะห์การวจิ ัยเปน็ การค้นหาความเปน็ จริงของปรากฏการณร์ ่วมโดยใชร้ ะเบียบวธิ ีการศึกษาที่ได้จาก
การสังเกตปรากฏการณ์หรอื ข้อค้นพบจากงานวิจัยขั้นต่าง ๆ มีการนำมาใช้เหตผุ ลเชงิ อุปมาน รวมถึงอาจมี
การนำขอ้ สรุปร่วมหรอื ข้อสรปุ ท่ัวไปหรือต้นแบบใหม่ไปทดลองหรือทดสอบเพ่ือหาความจริงแท้ต่อไป

3. ประเภทของการสังเคราะห์งานวจิ ัย
อุทุมพร จามรมาน (2531) และ สุวิมล ว่องวานิช (2545) ได้กล่าวถึง ประเภทของการ

สังเคราะหง์ านวิจยั ไว้สอดคล้องกันว่ามีวธิ ีการสังเคราะห์จำแนกออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่
3.1 การสังเคราะห์เชิงคุณลักษณะ (Qualitative Synthesis) คือ การสังเคราะห์เนื้อหาสาระ

เฉพาะส่วนที่เป็นข้อค้นพบของรายงานการวิจัย โดยใช้วิธีการสังเคราะห์ด้วยวิธีการบรรยาย จะได้บทสรุป
รวมข้อค้นพบของรายงานการวิจัยที่นำมาสังเคราะห์โดยอาจยังคงสาระของงานวิจัยแต่ละเรื่องไว้ด้วย
หรอื อาจจะนำเสนอบทสรุปรวมลกั ษณะภาพรวมโดยไมค่ งสาระของงานวจิ ยั แต่ละเร่ืองก็ได้

3.2 การสังเคราะห์เชิงปริมาณ (Quantitative Synthesis) คือ การใช้ระเบียบวิธีทางสถิติ
เป็นการนำเสนอข้อค้นพบจากงานวิจัยทุกเรื่องในหน่วยมาตรฐานเดียวกัน และบูรณาการข้อค้นพบ
ของ รายงานการวจิ ัยที่นำมาสังเคราะห์ท้ังหมด พรอ้ มทั้งแสดงให้เห็นความเกี่ยวขอ้ งระหวา่ งลักษณะงานวิจัย
การสังเคราะห์เชิงปริมาณจึงเป็นการวิเคราะห์ผลการวิเคราะห์ (Analysis of analysis) หรือ การวิเคราะห์
เชิงผสมผสาน (Intigrative analysis) หรือการวิจัยงานวิจัย (Research of research) โดยใช้เทคนิค
การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis) ประเภทของการสังเคราะห์งานวิจัย จึงขึ้นอยู่กับจุดมุ่งหมาย
ของการสังเคราะห์และลักษณะของงานวิจัย โดยถ้าการสังเคราะห์นั้นมีจุดมุ่งหมายเพื่อคงสาระของงานวิจัย
แต่ละเรือ่ งหรือสรุปภาพรวมของเน้ือหาสาระจะเหมาะกับการสงั เคราะห์เชิงคณุ ลักษณะ แต่ถ้าการสังเคราะห์
มีจุดมุ่งหมายในการนำเสนอ ข้อค้นพบจากงานวิจัยทุกเรื่องในหน่วยมาตรฐานเดียวกัน และบูรณาการ
ข้อค้นพบของรายงานการวิจัยที่นำมาสังเคราะห์โดยแสดงให้เห็นถึงความเกี่ยวข้องระหว่า งลักษณะ
ของงานวจิ ัยจะเหมาะกับการสังเคราะห์เชิงปรมิ าณ

รายงานการศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ
เร่ือง เทคนคิ การนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching)

6

4. ลักษณะของการสงั เคราะหง์ านวิจยั
การแบ่งประเภทของกลุ่มข้อมูล จะช่วยให้เกิดความเข้าใจในการวิเคราะห์ข้อมูลในลักษณะ

ต่าง ๆ ได้มากย่งิ ขนึ้ ศริ ิยพุ า พูลสวุ รรณ (2541) แบง่ การสังเคราะหง์ านวจิ ัยเป็น 5 ลักษณะได้แก่
4.1 Primary analysis คือ การวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลดิบที่ผู้วิจัยเก็บรวบรวม

ด้วยตนเอง แล้ววิเคราะห์สรุปผล ซึ่งวิธีนี้จะเกิดความคลาดเคลื่อนต่ำ เนื่องจากผู้วิจัยเป็นผู้รวบรวมข้อมูล
ดว้ ยตนเอง

4.2 Secondary analysis คือ การวิเคราะห์ข้อมูลจากข้อมูลที่มีผู้รวบรวมไว้แล้ว ซึ่ง
ผูว้ ิจัยนำมาวเิ คราะห์เพ่อื ตอบปัญหาการวจิ ยั ใหม่ เช่น ขอ้ มลู จากสำนักงานสถิติแหง่ ชาติ เปน็ ต้น

4.3 Meta-analysis หรือการสังเคราะห์งานวิจัย เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลจากงานวจิ ัย
เพื่อที่จะอธิบายเกีย่ วกับปรากฏการณ์ของข้อมูลในงานวิจัยเหล่าน้ัน จะมีลักษณะคลา้ ยคลึงกับ Secondary
analysis แตข่ อ้ มูลคือรายงานการวิจัย

4.4 Best Evidence analysis เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลโดยการทำ Meta-analysis แต่
ใช้เฉพาะงานวิจัยที่มีคุณภาพมาทำการวิเคราะห์สังเคราะห์ ดังนั้น จึงเกิดปัญหาว่าการใช้เฉพาะงานวิจัย
ทมี่ คี ณุ ภาพจะทำให้ได้ข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาการวิจยั ทง้ั หมดหรือไม่ เพราะอาจมีการละเลยงานวิจัยบางเรื่อง
ไปหรอื ในชั้นของการประเมนิ คณุ ภาพงานวิจัยอาจะเกิดความลำเอียงจากผู้วจิ ัยได้

4.5 Best Case analysis คือ การทำ Meta-analysis ที่ไม่ได้ใช้ข้อมูลจากงานวิจัย
แต่ย้อนกลบั ไปใช้ขอ้ มลู ดบิ จากงานวิจัยเดมิ ซงึ่ มลี ักษณะคลา้ ย ๆ กบั Secondary analysis แตข่ อ้ มลู เหลา่ นี้
มาจากงานวิจัยหลาย ๆ เรื่อง โดยสมมุติว่างานวิจัยเดมิ อาจมีการวิเคราะห์ข้อมูลดบิ ผิดพลาดหรือให้คา่ สถิติ
ผดิ พลาด ซง่ึ วิธีการนี้สามารถแก้ปญั หาในประเด็นน้ีได้ วิธีการวเิ คราะห์ข้อมูลตา่ ง ๆ จะขน้ึ อยู่กับลักษณะของ
ข้อมูล โดยวิธกี ารวิเคราะหแ์ ต่ละรปู แบบกม็ จี ุดเด่นและจดุ ด้อยแตกตา่ งกนั ไป

5. ข้นั ตอนของการสังเคราะหง์ านวิจยั
การสังเคราะห์งานวิจัย เป็นกระบวนการที่มีความละเอียด ซับซ้อนในการดำเนินการ

ผู้วิจัยจึงควรมีการลำดับขั้นตอน และวางแผนในการดำเนินงานเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการทำงาน
มากท่สี ุด นงลกั ษณ์ วิรชั ชัย (2542) ได้กลา่ วถงึ ขนั้ ตอนในการสังเคราะห์งานวิจัยโดยทวั่ ๆ ไป ประกอบด้วย
5 ขน้ั ตอน คือ

ขั้นที่ 1 การกำหนดหัวข้อปัญหา การสังเคราะห์งานวิจัยเริ่มจากการกำหนดปัญหาการวิจัย
ซึ่งต้องเป็นปัญหาที่มีการวิจัยอย่างน้อย 2 ราย เนื่องจากมีปัญหาการวิจัยนั้นต้องมีคุณค่า น่าสนใจ
และยังไม่มีคำตอบแน่ชัด มักจะเป็นปัญหาที่นักวิจัยสนใจและทำการวิจัยจำนวนมาก ปัญหาดังกล่าว
จึงเหมาะสมต่อการสงั เคราะหง์ านวิจยั

ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ปัญหา เมื่อกำหนดปัญหาวิจัยแล้ว ผู้วิจัยต้องนิยามปัญหาให้ชัดเจน
โดยศึกษาแนวคิด หลักการ และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง เพื่อเป็นพ้ืนฐานในการกำหนดแบบแผนและสมมุติฐาน
การวจิ ยั

ขั้นที่ 3 การเสาะค้น คัดเลือก และรวบรวมงานวิจัย ผู้วิจัยต้องค้นคว้าและเสาะหางานวิจัย
ทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับปัญหาที่กำหนดไว้ โดยศึกษาตรวจสอบงานวิจัยแต่ละเรื่องโดยละเอียด มีเกณฑ์
ใน การคัดเลือกงานวิจัยเพื่อคัดเลือกงานวิจัยที่มีคุณภาพ มีความเที่ยงตามเกณฑ์ที่กำหนดส่วนการรวบรวม
ผลของการวจิ ยั นั้นใช้วธิ ีการจดบนั ทกึ ถา่ ยเอกสาร หรอื กรอบแบบฟอร์มกไ็ ด้

รายงานการศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ
เร่ือง เทคนคิ การนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching)

7

ขั้นที่ 4 การวิเคราะห์เพื่อสังเคราะห์ผลการวิจัย เป็นขั้นตอนที่มีการจัดกระทำและวิเคราะห์
ข้อมูลที่ประกอบด้วยผลการวิจัย รายละเอียด ลักษณะและวิธีการวิจัยจากงานวิจัยท้ังหมดเพื่อสังเคราะห์
หาขอ้ สรปุ จากน้ันจงึ แปลความหมายของผลการวิเคราะห์เพอื่ ตอบปญั หาการวิจัย

ขั้นที่ 5 การเสนอรายงานการสังเคราะห์งานวิจัย จะมีหลักการเช่นเดียวกับการเขียนรายงาน
การวิจัยทั่ว ๆ ไป โดยจะต้องเสนอรายละเอียดวิธีการดำเนินงานทุกขั้นตอนพร้อมทั้งข้อสรุปข้อค้นพบ
และข้อเสนอแนะจากการสังเคราะห์งานวิจัยด้วยภาษาที่ถูกต้องและชัดเจน สำหรับการสังเคราะห์
เชิงคุณลักษณะ ผู้วิจัยจะต้องสรุปเป็นประเด็นหลักของผลการวิจัยในแต่ละเรื่อง และบรรยายให้เห็น
ความสัมพันธ์และความขัดแย้งระหว่างผลการวิจัยเหล่านั้น ทั้งนี้ผู้วิจัยต้องสรุปด้วยความเที่ยงธรรม
ไม่ลำเอียง และไม่ผนวกความคิดเห็นของตนเองในการสังเคราะห์วิธีการสังเคราะห์ เชิงคุณลักษณะ
ของผลการวจิ ยั นเี้ ปน็ วธิ ีการท่สี ามารถใชก้ ับงานวิจัยเชิงคุณภาพและงานวจิ ยั เชิงปริมาณได้

สรุปได้ว่า การสังเคราะห์งานวิจัยจะต้องมีขั้นตอนในการกำหนดหัวข้อปัญหาที่ต้องการสังเคราะห์
การเสาะหางานวิจัยที่นำมาสังเคราะห์ ซึ่งอาจรวมไปถึงการประเมินคุณภาพของงานวิจัยที่ได้ค้นพบ
การวิเคราะห์และแปลความหมายข้อมูลและการนำเสนอข้อมูลที่ถูกต้องอย่างมีระบบ ซึ่งในการสังเคราะห์
งานวิจยั คร้งั นี้ใช้วธิ ีการสังเคราะห์ดว้ ยวิธีการบรรยาย เนอื่ งจากงานวจิ ัยทน่ี ำมาสังเคราะหม์ คี วามหลากหลาย

หลกั การ แนวคดิ ความสาํ คัญและ ความหมายของการนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching)
การนิเทศแบบให้คำชีแ้ นะ (Coaching) เป็นวิธีการพัฒนาสมรรถภาพการทำงานของครู โดยเน้นไป

ที่การทำงานให้ได้ตามเป้าหมายของงาน หรือการช่วยให้สามารถนำความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่และหรือได้รับ
การอบรมมา ไปสู่การปฏิบัตไิ ด้อย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ การใหค้ ำช้ีแนะมลี กั ษณะเป็นกระบวนการ มเี ป้าหมายที่
ต้องการไปให้ถึง 3 ประการ คือ การแก้ปัญหาในการทำงาน การพัฒนาความรู้ ทักษะ หรือความสามารถใน
การทำงาน และการประยุกต์ใช้ทักษะหรือความรู้ในการทำงาน ที่ตั้งอยู่บนหลักการของการเรียนรู้ร่วมกัน
(Co-Construction) โดยยึดหลักว่าไม่มีใครรู้มากกวา่ ใคร จึงต้องเรียนไปพร้อมกันเพื่อให้ค้นพบวธิ ีการแก้ไข
ปัญหาด้วยตนเอง

1. หลักการของการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching)
1) การสร้างความสัมพันธ์และความไว้วางใจ (Trust and Rapport) ระหว่างผู้ชี้แนะ กับครู

รายบุคคลหรอื กลมุ่ ครู มสี ่วนสําคัญที่ทาํ ใหก้ าร ดําเนินการชีแ้ นะเป็นไปอยา่ งราบรนื่ และมีประสิทธิภาพ
2) การเสริมพลงั อาํ นาจการชี้แนะ เป็นกระบวนการทีช่ ว่ ยใหค้ รูได้คน้ พบพลัง หรือวธิ ีการทํางานของ

ตนเอง เป็นวิธีการที่ทําให้เกิดความ ยั่งยืนและครูสามารถพึ่งพาความสามารถของตนเองได้ เป้าหมาย
ปลายทางของการชี้แนะ คือ การให้ครูสามารถพัฒนาการเรียนการสอนได้ด้วยตนเองสามารถกํากับตนเอง
(Self-Directed) ได้ในระยะแรกที่ครูยังไม่สามารถทําด้วยตนเองได้เพราะยังขาดเครื่องมือ ขาดวิธีการคิด
และกระบวนการทาํ งาน ผู้ชี้แนะจึง เข้าไปช่วยเหลอื ในระยะแรก จนกระทั่งครไู ด้พบว่าตนเองสามารถทําได้
ด้วยตนเอง

3) การทาํ งานอยา่ งเป็นระบบ (Systematic Approach) การดาํ เนนิ การอย่างเป็น ระบบ มีข้ันตอน
ที่ชัดเจน ช่วยให้ครูได้จัดระบบการ คิด การทํางาน สามารถเรียนรู้และพัฒนางานได้ดียิ่ง ขึ้น เนื่องจากการ

รายงานการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
เร่อื ง เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching)

8

ช้แี นะเปน็ กระบวนการพฒั นาวิชาชีพ ทตี่ อ่ เน่ือง ในระยะแรกครูอาจไม่คุน้ เคยกับวธิ ีการเหล่า น้ีมากนักทําให้
ผู้ชีแ้ นะจาํ เป็นต้องออกแบบกระบวนการ อยา่ งเปน็ ระบบ ท่ชี ว่ ยให้ครูไดเ้ รยี นรู้ได้ดว้ ยตนเอง

4) การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง (Ongoing Development) การชี้แนะเพื่อให้เกิดการ เรียนรู้และ
พัฒนาการเรียนการสอนได้ ใช้เวลานานใน การทําความเข้าใจและฝึกปฏิบัติให้เกิดผลตาม เป้าหมาย การ
ดําเนินการชี้แนะจึงเป็นการพัฒนาที่มี ความต่อเนื่องยาวนาน ตราบเท่าที่มีความรู้ใหม่ทาง การสอนเกิดข้ึน
มากมาย และมีประเด็นทางการสอน ที่ต้องทําความเข้าใจและนําไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การ
ดําเนินการชี้แนะก็ยังคงดําเนินการ ขนานไปกับการจัดการเรียนการสอน จนดูเหมือนเป็น งานที่ไม่อาจเร่ง
รอ้ นใหเ้ กิดผลในเวลาอันสัน้ ได้ จึง เปน็ งานท่ตี อ้ งอยเป็นศอยไป

5) การชแี้ นะแบบมีเป้าหมายหรือ จุดเน้นรว่ มกนั (Focusing) ในโลกของการพัฒนา บุคลากรครูให้
สามารถจดั การเรยี นการสอนได้น้ัน มี เรอ่ื งราวที่ซ่ึงปรบั ปรุงและพัฒนามากมายหลายจดุ ดังนั้นนักวิชาการพ่ี
เลี้ยงจึงองตกลงร่วมกันกับคุณ ครู้ว่าเป้าหมายสุดท้ายที่องการให้เกิดคืออะไร แล้ว รวมกันวางแผน
วางเป้าหมายย่อย ๆ เพ่ือไปสูเ่ ปา้ หมายนัน้

6) การชี้แนะในบริบทโรงเรียน ( Onsite Coaching) การปฏิบัติการชี้แนะมีวัตถุประสงค์ เพื่อช่วย
ให้ครสู ามารถนําความรู้ ทักษะการสอนท่ีมี อยไู่ ปใช้ในการจัดการเรียนการสอน การประยกุ ต์ใช้ ความรู้และ
ทักษะที่เกิดขึ้นในสภาพการทํางานจริง การดําเนินการชี้แนะจึงควรเกิดขึ้นในการทํางาน ในบริบทของ
โรงเรียน การดําเนินการชี้แนะเป็น การทํางานเชิงลึก เข้มข้น เป็นการช่วยให้ครูเศสียน จากความรู้ความ
เข้าใจในการสอนแบบผิวเผิน (Surface Approach) ไปสู่การทําความเข้าใจที่ลึกซึ้งมากขึ้น โดยอาศัย
กระบวนการลงไปที่ ลงมือทาํ งาน การช้ีแนะ จึงหลีกเล่ียงไม่เที่ยงเข้าไปทํางานร่วม กบั ครูในโรงเรยี น

7) การชี้แนะท่ีนําไปใช้ได้จริง (Work on Real Content) การชี้แนะในประเด็นหรือ เนื้อหาสาระที่
เป็นรูปธรรม (Being concrete) มีลักษณะเป็นพฤติกรรมที่สามารถสังเกตได้ ปฏิบัติได้จริง ช่วยให้ครู
สามารถปรับปรุงหรือพัฒนาการเรียน การสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น การที่ผู้ชี้แนะ เป็น
บคุ คลภายนอกโรงเรยี น จึงมีข้อจํากัด ตรงท่ี ไม่สามารถอยู่กับครูได้ตลอดเวลา การพบปะครูในแต่ละครั้งจึง
มีคุณค่ามาก จึงควรใช้เวลาที่จํากดั นัน้ ให้เกิดประโยชนส์ งู สุด การชี้แนะแต่ละครัง้ จึงเนน้ ไปที่การนาํ ความรู้
หรือทักษะไปใช้ได้จริง) ได้ แนวปฏิบัติที่เป็นรูปธรรม และเป็นขั้นเป็นตอน ไม่เสียเวลาไปกับการอภิปราย
หรอื พดู คยุ กันเชงิ ทฤษฎี

8) การทบทวน และสะท้อนผลการดำเนินงาน (After Action Review and Reflection) การ
สะท้อนผลการทํางาน (Reflection) เป็นวิธีการที่ ช่วยใหค้ รูได้คิดทบทวนการทํางานที่ผ่านมา สรุปเป็นแนว
ปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนคร้ังต่อไป การชแี้ นะจงึ ใชก้ ารสะท้อนแส การทาํ งานนเี้ ปน็ เคร่ืองมือสำคัญ
ในการเรียนรู้ จนได้อีกชื่อหนึ่งว่า การชี้แนะ แบบมองย้อนสะท้อนผล การทํางาน (Reflective Coaching)
การชีแ้ นะช่วยให้บคุ คลไดส้ ะท้อนความ สามารถของตน เพียหาดที่ต้องการความชว่ ยเหลือ ในการช่วยเหลือ
รายบุคคลในการนําความรู้ไปใช้ใน การทํางานและพัฒนาความสามารถของตน ไม่ใช่การสอนสิ่งใหม่
จุดพ้ืนฐานของการชีแ้ นะอยบู่ นพื้นฐาน ของความรู้หรือทกั ษะที่มีอยูแ่ ล้ว

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระ
เรือ่ ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

9

ภาพที่ 1 หลกั การนิเทศแบบชี้แนะ
ที่มา : มยุรี เจริญศริ ิ. (2558)

2. แนวคดิ ของการนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching)
เทศนิคการนิเทศแบบให้คําชี้แนะ (Coaching) เป็นการให้คําชี้แนะครู โดยผู้ให้คําชี้แนะ (Coach)

อาจเปน็ ผู้บรหิ ารสถานศึกษา ผนู้ ิเทศภายใน สามารถเปน็ ผ้ใู ห้คําชี้แนะได้ผู้ถกู ใหค้ ําชี้แนะ (Coaching) ส่วน
ใหญ่เป็นครูที่อยู่ในสถานศึกษาเดียวกัน การนิเทศแบบให้คำชี้แนะ จะเน้นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน
(Individual Performance) และพฒั นาศักยภาพ (Potential) ของครู Coaching เปน็ การสอ่ื สารอย่างหนึ่ง
ทเ่ี ปน็ ทางการและไมเ่ ปน็ ทางการ ระหว่างผบู้ รหิ ารสถานศึกษา และครู เปน็ การ ส่อื สารแบบสองทาง (TWO
way Communication) ทําให้ผู้บริหารสถานศึกษา และครูได้รว่ มกันแก้ไข ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นในการจดั
กิจกรรมการเรียนรู้ เช่น ปัญหาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียน ผู้เรียนออกกลางคัน สื่อที่ใช้ในการจัด
กจิ กรรมการ เรยี นร้ไู ม่มีคณุ ภาพ ซงึ่ การร่วมกันแก้ไขปัญหาดังกล่าว กอ่ ใหเ้ กิดความสมั พันธ์อันดรี ะหว่างผู้ให้
คาํ ชี้แนะ (Coach) และผู้ถูกให้คาํ ชแ้ี นะ (Coachee) อย่างไร ก็ตามการทจ่ี ะ Coaching ไดด้ นี นั้ ต้องมีความ
พรอ้ ม ทัง้ ผู้ให้คาํ ชแ้ี นะและผถู้ กู ให้คาํ ชี้แนะ

3. ความสําคัญของการนิเทศแบบใหค้ าํ ชแ้ี นะ (Coaching)
กระบวนการ วิธีการในการพัฒนาใน การพัฒนาครูประจําการนั้นมีหลากหลายมาก ซึ่งต่างมี

ผลกระทบตอ่ การเปลยี่ นแปลงการสอนของ ครแู ตกต่างกันไป วธิ กี ารที่ถือว่ามีประสทิ ธภิ าพและ ชว่ ยใหค้ รูได้
พัฒนาการสอนได้อย่างยั่งยืนวิธีหนึ่ง คือ กาสอนงาน เนื่องจากสามารถทําให้ครูเกิดความรู้ ทักษะ และ
สามารถนาํ ความรู้ไปใชใ้ ห้เกดิ ผลใน ทางปฏบิ ัติได้ ซ่ึงเปน็ เป้าหมายปลายทางที่มุ่งหวัง ให้เกดิ ขึ้น

Gottesman (2000 : 127) ให้ข้อมูลไว้ ว่าในการถ่ายโยงทักษะใหม่ (Transfer /Internalization
of new Skills) เมอ่ื เราใช้วิธกี ารถา่ ยโยงการเรยี นรู้ ด้วยวิธกี ารช้ีแนะแก่ ครู และผบู้ ริหาร ความรู้และทักษะ

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ
เรือ่ ง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้แี นะ (Coaching)

10
ใหม่จะมีความคงทนมากกว่าวิธีการอื่นๆ กล่าวคือ หลังรับการชี้แนะสามารถจดจําความรู้ได้ถึงร้อยละ 90
และแม้วา่ เวลาจะผา่ นไปนานระดับความรู้ ความเข้าใจกย็ งั คงอยู่ที่ระดบั รอ้ ยละ 90 ดงั นี้
ตารางที่ 1 วิธีการพฒั นาบคุ ลากร

4. ความหมายของการนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)
อัญชลี ธรรมะวิธีกุล (2552 : 1-2) ให้ความหมายของการนิเทศแบบให้คำชี้แนะ (Coaching) ไว้ว่า

การให้คําชี้แนะครู ในสถานศึกษา ซึ่งเป็นเทคนิค หนึ่งในการพัฒนาบุคลากรหรอื ครู ทั้งนี้ ผู้นิเทศแบบให้คาํ
ชแี้ นะ Coach โดยปกติ Coach สามารถเป็นได้ ทั้งผ้บู รหิ ารสถานศึกษา ผนู้ ิเทศภายใน ส่วนผู้ถูกให้คําชี้แนะ
โดยปกติจะเป็นครูที่อยู่ในสถานศึกษา เรียก ผู้ถูกสอนว่า “Coachee” การให้คําชี้แนะจัดได้ว่าเป็น
กระบวนการหนึ่งที่ผู้นิเทศใช้เพื่อเสริมสร้างและพัฒนาครู ให้มีความรู้ (Knowledge) ทักษะ (Skill) และ
คุณลักษณะเฉพาะตัว (Personal Attributes) ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ประสบผลสําเร็จตาม
เปา้ หมายทกี่ ําหนดไว้ (Result Oriented) โดยจะตอ้ งตกลงยอมรับร่วมกนั (Collaborative) ระหวา่ งผนู้ ิเทศ
และครู ทั้งนี้การนิเทศการให้คําชี้แนะจะมุ่งเน้นไปที่การพัฒนาผลการปฏิบัติงาน ของครู (Individual
Performance) ในปัจจบุ ันแมก้ ารให้คาํ ชแ้ี นะยังคงเนน้ ไปท่กี ารพัฒนาศักยภาพ (Potential) ของครู เพ่ือให้
ครูมีพัฒนาการของความรู้ ทักษะ และความสามารถเฉพาะตัว และมีศักยภาพในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ให้สงู ขน้ึ ต่อไป เพื่อความก้าวหน้าในหนา้ ท่กี ารงาน อันนำมาซง่ึ ตาํ แหนง่ ทส่ี งู ขน้ึ ตอ่ ไปในอนาคต

Coaching เป็นการสื่อสารระหว่างผู้บริหาร สถานศึกษา และครูเฟิตร่วมกันแก้ไขปัญหาต่างๆ ท่ี
เกดิ ขน้ึ ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เชน่ ปัญหาผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนต่ำกว่ามาตรฐาน ส่ือท่ีใช้
ในการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ไม่มคี ุณภาพ ซึ่งการร่วมกันแก้ไขปญั หาดงั กล่าว และยังก่อให้เกิดความสัมพนั ธ์
อันดีระหว่างผู้นิเทศและผู้ถูกสอนแบบให้คําช้ีแนะ อยา่ งไรก็ตามควรมีความพร้อมทง้ั ผู้นเิ ทศแบบให้คำช้ีแนะ
และผู้ถูกสอนแบบให้คำชแี้ นะ จึงจะเป็นการ Coaching ท่ีดี

รายงานการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
เรือ่ ง เทคนิคการนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching)

11

สรุปความหมายของ Coaching ได้ว่า คือ ผู้บริหารสถานศึกษา หรือผู้นิเทศภายใน เป็นผู้สอนแบบ
โค้ชเกี่ยวกับการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้กับครู ซึ่งจะต้องเป็นผู้ทีม่ ีความรู้ ความสามารถและมีผลงานอยูใ่ น
ระดับมาตรฐาน เน้นไปที่การพัฒนาผลการ ปฏิบัติงานและพัฒนาศักยภาพของครู ในด้านการ วางแผนการ
สอน การจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้และสอ่ื ท่ี ใชใ้ นการจดั กิจกรรม

รูปแบบการนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching)
ความสําคัญของการนิเทศ การนิเทศการศึกษาเป็นบทบาท และหน้าที่โดยตรงของ ศึกษานิเทศก์

และเป็นสิ่งจําเป็นอย่างยิ่งในการเปลี่ยนแปลง วิธีการหรือกระบวนการจัดการเรียนการ สอนของครู
(เฉลมิ ชัย พันธ์เลิศ. 2549 : 1) การช่วยเหลือครูจําเป็นต้องใช้กลมุ่ บุคคล บทบาท และกจิ กรรมท่ีหลากหลาย
เพ่อื นําพาครไู ปสจู่ ุดหมายทพี่ งึ ประสงค์

ภาพที่ 1 มิติการชว่ ยเหลอื ครูใหม้ ีพฒั นาการจดั การเรยี นการสอน
ทม่ี า : เฉลมิ ชัย พันธเ์ ลศิ . (2549)

จากแผนภาพ แสดงให้เห็นว่ามีมิติของการช่วยเหลือครูให้พัฒนาการจัดการเรียนการสอน อย่าง
น้อย 4 มิติ คือ การนิเทศ (Supervision) การเป็นพี่เลี้ยง (mentoring) การอบรม (training) และ
การชแ้ี นะ (Coaching) ท่ีผู้ท่รี ับผิดชอบงานพฒั นา ควรใช้บทบาทเหล่านใ้ี นจงั หวะทเ่ี หมาะสมเพื่อให้เกิดการ
พัฒนาที่ยัง่ ยืน ดังนี้

1) การนิเทศ เปน็ การดาํ เนนิ การโดยผู้มีประสบการณ์ในการใช้กระบวนการ วิธีการตา่ ง ๆ ในการให้
ความช่วยเหลือ อํานวยการ กํากับ ดูแล เพื่อคุณครูสามารถพัฒนาความรู้ ความสามารถได้ ตามเป้าหมาย
ขององคก์ ร

2) การเป็นพเี่ ล้ยี ง เปน็ วธิ ีการท่ีผทู้ ี่มีประสบการณใ์ ห้ความช่วยเหลือผูท้ ่ีมปี ระสบการณ์ นอ้ ยกว่า ให้
ได้รับการพฒั นาท้งั เรอื่ งวิชาชพี และ การดาํ เนินชีวิต ให้พฒั นาไปสเู่ ป้าหมายท่ีได้วางไว้ร่วมกัน

3) การอบรม เป็นวิธีการให้ความรู้ความเข้าใจในการปฏิบัติงาน โดยมีหลักสูตร และวิธีการในการ
ดําเนินการเฉพาะ ให้ไดผ้ ลตามมาตรฐานทวี่ างไว้

4) การช้ีแนะ เป็นวธิ กี ารในการพฒั นาสมรรถภาพการทํางานของคุณครู โดยเนน้ ไปที่ การทํางานให้
ไดต้ ามเปา้ หมายของงานนน้ั หรอื การช่วยให้สามารถนําความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่และ/หรือ ได้รับการอบรม
มาไปสกู่ ารปฏิบัติไดบ้ ทบาทการนเิ ทศ และการเป็นพ่เี ลย้ี ง มลี กั ษณะเป็นบทบาท ใหญ่ หรอื ท่ัวไป มีบทบาท

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอสิ ระ
เรอื่ ง เทคนคิ การนิเทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

12

ย่อยซ้อนอย่มู ากมาย ไดแ้ ก่ การประสานกับกลมุ่ บุคคลเพ่ือมาช่วยเหลือการ จดั การเรยี นการสอนของคุณครู
ประสานผู้บริหารในเรื่องนโยบาย การอํานวยความสะดวกในเรื่องต่าง ๆ และการวางระบบการทํางาน
ร่วมกันบทบาทการอบรม และการชี้แนะ มีลักษณะเป็นบทบาทย่อย ของการนิเทศและการเป็นพี่เลี้ยง
เป็นบทบาททท่ี ํางานในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของครู โดยตรง

บทบาทการนิเทศ และการอบรม เป็นการทํางานที่เน้นมาตรฐานของงานนั้น กล่าวคือมี มาตรฐาน
ไว้ แล้วดําเนินการพัฒนาให้เกิดผลตามมาตรฐานนั้น แต่ในมิติของการนิเทศและการอบรมนั้น เน้นไปที่การ
ช่วยให้ครูมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องที่นิเทศหรืออบรมเป็นหลัก และเป็นบทบาทที่ใช้กับ คุณครูกลุ่มใหญ่
หรือมจี าํ นวนมาก

บทบาทการเป็นพี่เลี้ยง และการชี้แนะ เป็นการทํางานที่เน้นตามศักยภาพหรือความสามารถ ของ
บุคคล เป็นการช่วยให้คุณครูนําความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่ หรือที่ได้รับจากการอบรมไปปฏิบัติให้ เกิดผล
ดังนั้นจึงใช้ในการพัฒนากลุ่มคนจํานวนน้อยอย่างเข้มข้น ตามประกบการทํางานอย่างใกล้ชิด เช่น สังเกต
การสอนในชั้นเรียน พิจารณาผลงานนักเรียนร่วมกันกับครู เป็นการพัฒนาในบริบทการ ทํางานในโรงเรียน
บทบาททั้งหมด มีความเกี่ยวโยงสัมพันธ์กัน การพัฒนาครู จําเป็นต้องอาศัยบทบาท ต่าง ๆ ในจังหวะที่
เหมาะสมมาใช้อย่างผสมผสานกัน โดยมีเป้าหมายร่วมกันคือ การช่วยให้เกิดผล ในทางปฏิบัติในชั้นเรียนท่ี
ยั่งยืนได้ เช่นเมื่อพบว่าอุปสรรคที่ทําให้การสอนกระบวนการคิด เกิดจาก นักเรียนมีปัญหาเรื่องสุขภาพ
อนามัยทําให้คดิ ไมไ่ ด้ดี กใ็ ชบ้ ทบาทการนเิ ทศ ประสานผทู้ เี่ ก่ยี วขอ้ งมาใช้ ความชว่ ยเหลือ หาทางแกป้ ัญหา

ต่อมาเมื่อดําเนินการชี้แนะไปสกั ระยะ พบว่าครูยังขาดความรู้ความเข้าใจที่จําเปน็ ท่ีทาํ ให้ การสอน
กระบวนการคิดยังไม่ดีนัก เช่น มีปัญหาเรื่องการใช้คําถามกระตุ้นคิด เรื่องการใช้เครื่องมือ ส่งเสริมการคิด
(thinking tools) ก็อาจมีการจัดอบรมในเรื่องเฉพาะเพิ่มเติม แล้วตามไปชี้แนะต่อ จึง เป็นวงจรที่ต่อเนื่อง
สลบั กนั ไปจนกว่าจะบรรลุเปา้ หมายทีต่ อ้ ง ดงั ภาพ

ภาพที่ 2 ทศิ ทางหรือเป้าหมายในการพัฒนา
ทมี่ า : เฉลิมชยั พันธเ์ ลศิ . (2549)

นอกจากวิธีการและบทบาทดังกล่าวแล้ว เรื่องของทิศทางหรือเป้าหมายในการพัฒนาก็มี
ความสําคัญไม่แพ้กัน ต้องมีความชัดเจน ท้าทาย แต่ไปถึงได้ ทุกคนเดินทางพร้อมกัน และฟันฝ่า อุปสรรค
ร่วมกนั

รายงานการศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ
เร่ือง เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching)

13

กระบวนการชแ้ี นะ
กระบวนการชี้แนะเป็นกระบวนการที่ช่วยให้บุคคลได้รู้จักช่วยเหลือตนเอง (coaching is a

process of helping people to help themselves) มีนักการศึกษานําเสนอกระบวนการชี้แนะที่
หลากหลาย เนื่องจากการชี้แนะมีกระบวนเฉพาะได้แก่ การชี้แนะทางปัญญา (Cognitive coaching)
การชแ้ี นะการสอน(instructional coaching) เพอื่ นช้ีแนะ (peer coaching) กระบวนการชีแ้ นะโดยท่ัวไปมี
ข้ันตอนของกระบวนการ ดังนี้

1. ขัน้ ก่อนการชี้แนะ (pre-Coaching)
ก่อนดําเนินการชี้แนะ มีการตกลงร่วมกันเกี่ยวกับ ประเด็นหรือจุดเน้นที่ต้องการชี้แนะร่วมกัน

เนื่องจากการดําเนินการชี้แนะเน้นไปที่การเชื่อมโยงความรู้ไปสู่การ ปฏิบัติจริง เป็นการทํางานเชิงลึก
(deep approach) ดังนั้นประเด็นที่ชี้แนะจึงเป็นจุดเล็ก ๆ แต่เข้มข้น ช่วยให้ เข้าใจอย่างลึกซึ้งแจ่มแจ้ง
ช่วยคลี่ปมบางประการให้เกิดผลในการปฏิบัติได้จริง ในกรณีการสอนกระบวนการคิด มีประเด็นมากมายท่ี
ต้องชว่ ยกันขยับขับเคลื่อนไปท่ลี ะประเด็น เชน่ การใชค้ าํ ถามกระตุ้นคิด การใช้กิจกรรมท่ีช่วยให้คิดได้อย่าง
หลากหลาย การใชผ้ งั กราฟกิ (graphic organizer) มาใช้ในการนาํ เสนอความคิด การชว่ ยใหน้ กั เรยี นอธบิ าย
กระบวนการคิดกระบวนการทํางานของตนเอง ซ่งึ ในประเด็นเหล่าน้ีก็ยังมีประเด็นย่อย ๆ ท่ีซ่อนอยู่มากมาย
ทั้งผู้ชี้แนะและคุณครูแต่ละคนก็ต้องวางแผนร่วมกันว่าในแต่ละครั้งที่ดําเนินการชี้แนะนั้น จะชี้แ นะลงลึก
เฉพาะในเรื่องใดเรื่องหนง่ึ เปน็ พิเศษ

2. ขัน้ การช้แี นะ (Coaching) ในขนั้ ของการชีแ้ นะประกอบดว้ ยข้นั ตอนย่อย 3 ขน้ั คือ
1) การศึกษาต้นทุนเดิม เป็นขั้นที่ผู้ชี้แนะพยายามทาความเข้าใจวิธีคิดวิธีการทํางาน และผลท่ี

เกิดขึ้นจากการทํางานของคุณครูว่าอยู่ในระดับใด เพื่อเป็นข้อมูลในการต่อยอดประสบการณ์ในระดับท่ี
เหมาะสมกบั ครูแตล่ ะคน ซ่ึงในขั้นน้ีอาจใช้วธิ กี ารตา่ ง ๆ กนั ไปตามสถานการณ์ ได้แก่

1.1) การใหค้ รูบอกเล่า อธิบายวธิ ีการทาํ งานและผลทเ่ี กดิ ข้ึน
1.2) การพิจารณารอ่ งรอยการทํางานร่วมกัน เช่น แผนจดั การเรียนรู้ ช้ินงาน ของนกั เรยี น
1.3) การสังเกตการสอนในชัน้ เรยี น
2) การให้คุณครูประเมินการทํางานของตนเอง เป็นขั้นที่ช่วยให้ครูได้ทบทวน การทํางานที่ผ่าน
มาของตนเอง โดยใช้ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรมที่ผ่านมา ได้แก่ การสอนที่เพิ่งสอนจบไปแล้ว ชิ้นงานที่นักเรียน
เพงิ่ ทําเสรจ็ เม่ือสักครู่ มาใช้ประกอบการประเมิน ขน้ั ตอนนีเ้ ป็นขั้นสาํ คัญขั้นหน่ึงที่พบว่า ครูไม่ได้ตระหนักรู้
ในสิ่งที่ตนเองสอนหรือกระทําลงไปนัก แต่การที่จัดให้มีโอกาสได้ “นึกย้อนและสะท้อนผล การทํางาน”
ช่วยให้ครไู ด้ทบทวนและไตร่ตรองวา่ ตนเองได้ใช้ความรู้ความเข้าใจไปสู่การปฏิบัติอย่างไร มีอุปสรรคปัญหา
ใดเกิดขนึ้ บ้าง คาํ ถามทมี่ กั ใช้กันในขัน้ นีม้ ี 2 คาํ ถามหลกั คอื อะไรที่ทาํ ไดด้ ี,จะใหด้ กี ว่าน้ีถา้ …
3) ขั้นต่อยอดประสบการณ์ เป็นขั้นที่ผู้ชี้แนะมีข้อมูลจากการสังเกตการณ์ ทํางานและฟังครู
อธบิ ายความคดิ ของตนเอง แล้วจึงลงมอื ตอ่ ยอดประสบการณ์ในเร่ืองเฉพาะนั้นเพิม่ เติม ซ่งึ ผูช้ ้ีแนะต้องอาศัย
ปฏิภาณในการวินิจฉยั ใหไ้ ดว้ ่าคุณครตู ้องการความช่วยเหลือในเร่ืองใด หากไมแ่ นใ่ จ กอ็ าจใช้วธิ ีการสอบถาม
ขอข้อมลู เพิม่ เติม ในข้นั ต่อยอดประสบการณ์มกั มีการดําเนินการใน 2 ลักษณะ คือ
1. เมื่อพบว่าคุณครูมีความเข้าใจที่ผิดพลาดบางประการ หรือมีปัญหา ก็จําเป็นต้องแก้ไข
ปรบั ความรู้ความเขา้ ใจใหถ้ ูกต้องและช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหา
2. เมอื่ พบวา่ คุณครูเขา้ ใจหลักการสอนดี แตย่ ังขาดประสบการณใ์ นการ ออกแบบการเรียน
การสอน ก็จาํ เป็นเพม่ิ เติมความรู้ แบ่งปันประสบการณ์

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระ
เร่อื ง เทคนิคการนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

14

3. ขน้ั สรปุ ผลการชแี้ นะ (Post-Coaching)
เป็นขั้นตอนที่ผู้ชี้แนะเปิดโอกาสให้ คุณครูได้สรุปผลการชี้แนะเพื่อให้ได้หลักการสําคัญไปปรับ

การเรียนการสอนของตนเองต่อไป มีการวางแผนที่ จะกลับมาชี้แนะร่วมกันอีกครั้งวา่ ความรู้ความเข้าใจอนั
ใหม่ที่ได้รับการการชี้แนะครั้งนี้จะเกิดผลในทางปฏิบัติเพียงใด รวมไปถึงการตกลงร่วมกันเรื่องให้ความ
ชว่ ยเหลืออื่นๆ เช่น หาเอกสารมาให้ศกึ ษา ประสานงานกบั บุคคลอนื่ ๆ แนะนําแหล่งเรียนรูเ้ พิ่มเติม เปน็ ต้น

เคร่ืองมือการชแ้ี นะ
เครื่องมือสําคัญของการชี้แนะคือ รูปแบบการใช้ภาษาแบบ ต่าง ๆ ที่ช่วยให้คุณครูเกิดการเรียนรู้

รปู แบบการใชภ้ าษาของผ้ชู ี้แนะเหล่านี้ จะเปน็ แบบอย่างให้คุณครู นาํ ไปใช้ในการชีแ้ นะตนเองได้ในภายหลัง
การใช้ภาษาในการชี้แนะ มีคุณภาพและระดับที่แตกต่างกันไป ซึ่งผู้ ชี้แนะต้องเลือกใช้ให้เหมาะสมกับ
สถานการณ์ ในสถานการณ์ที่ครูประสบปัญหาในการสอน ผู้ชี้แนะจานวน มากมักมีแนวโน้มบอกวิธีการ
แก้ปัญหาหรือให้แนวทางแก่ครูเป็นหลัก แทนที่จะช่วยให้ครูได้คิดและหาวิธีการ แก้ปัญหาด้วยตนเอง ซึ่งผู้
ชี้แนะต้องตดั สินใจเลือกโดยการถามตวั เอง จํานวน 3 คําถามคือ

1. เราควรบอกวิธกี ารแกป้ ัญหาไปเลยหรือไม่
2. เราควรร่วมมือกับคุณครูในการแก้ปัญหา ด้วยการให้ข้อมูลบางอย่าง และหาทางแก้
ร่วมกันหรือไม่
3. เราควรให้คุณครูได้เรียนรู้และแก้ปัญหาด้วยตัวเองหรือไม่ การบอกวิธีการแก้ปัญหาให้
ไปเลยกบั การปลอ่ ยให้ครูพยายามหาวิธแี ก้ปัญหาด้วยตนเองก็มีข้อดีข้อเสียตา่ งกันไป
การใช้เครื่องมือหรือรูปแบบการใช้ภาษาในการชี้แนะ มี 2 มิติ คือ มิติของการผลักดัน
(push) และมติ ิของการฉุดดึง (pull) มีการระดบั ของการผลกั ดันอยา่ งสุดขัว้ คือ การบอกความรู้ (telling) ไป
จนถึงระดับการฉุดดึงสูงสุดคือการรับฟัง (listening) ทั้งนี้วิธีการเหล่านี้เป็นการช่วยให้คุณครูได้พัฒนาการ
จัดการเรียนเรียนการสอนของ ตนเองได้ทั้งสิ้น แต่หากมีจุดเด่น และจุดด้อยของแต่ละวิธีแตกต่างกันไป
ผู้ช้แี นะจงึ เลอื กใช้ให้เหมาะสมกับ สถานการณ์ต่าง ๆ และคุณครูแต่ละคน มขี อ้ เตอื นใจว่าหากใช้มิติของการ
ผลกั ดันไดแ้ ก่ การบอก การสอน การ แนะนําเพยี งดา้ นเดยี ว ไม่ถอื ว่าเป็นการช้แี นะที่แทจ้ รงิ

ภาพท่ี 3 เครื่องมือการช้แี นะ
ทม่ี า : เฉลมิ ชยั พนั ธ์เลศิ . (2549)

รายงานการศึกษาค้นควา้ อิสระ
เรอ่ื ง เทคนิคการนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

15

กลวิธกี ารช้ีแนะ
กลวิธีในการชี้แนะ เป็นความรู้เชิงปฏิบัติ (practical knowledge) ที่ผู้ชี้แนะได้ค้นพบในการลงมือ

ปฏิบัติการชี้แนะกับคุณครูในสถานการณ์การทํางานจริง แล้วเก็บเป็นกลวิธีเฉพาะของตนไว้ใช้ใน
การ ดําเนินการชี้แนะของตนเอง หากผู้ชี้แนะได้มีเวทีแลกเปลี่ยนประสบการณ์การใช้กลวิธีในการชี้แนะ
เหลา่ น้ี อยา่ งต่อเนื่อง ก็จะชว่ ยขยายประสบการณ์การชแี้ นะใหก้ วา้ งขวางเพ่มิ มากข้นึ ดงั นี้

1. เดินทีละก้าว กินข้าวทีละคํา หมายความว่า การเดินไปสู่จุดหมาย ต้องเริ่มเดินไปทีละ
ก้าว ความสําเรจ็ จึงเกิดอยู่กับทุกก้าวทเี่ ดินไป เป้าหมายของการกินข้าวคือ การอ่มิ แต่ก็ต้องอาศัยการกินไป
ท่ลี ะคํา เหมือนการดําเนนิ การชี้แนะ เปน็ ธรรมดาท่ผี ู้ชี้แนะและคณุ ครสู ามารถต้ังเป้าหมายท่ีไปถึงร่วมกันได้
แต่การไป ถึงเปา้ หมายก็เรม่ิ จากการทาํ งานเลก็ ๆ พฒั นาไปเรื่อย ๆ

2. จับถูก ไม่จับผิด การชี้แนะเน้นไปที่การช่วยคุณครูมองหาว่าทําสิ่งใดได้ดี ถูกต้อง
เหมาะสม แล้ว แม้จะเป็นเรื่องเล็กน้อยก็ตามที เป็นวิธีการที่ช่วยให้คุณครูไม่รู้สึกอึดอัด เวลามีผู้ชี้แนะมา
ทาํ งานดว้ ย การ จับถูกทําให้คณุ ครูได้เห็นคุณคา่ ในตนเอง และอกี เหิมทจี่ ะพฒั นางานการเรียนการสอนของ
ตนเองตอ่ ไป

3. ปญั หาของใคร คนนนั้ กต็ อ้ งแก้ คุณครมู แี นวโนม้ พ่ึงพาผชู้ ้ีแนะให้แก้ไขปญั หาให้ ซึ่งหาก
ผู้ช้ีแนะตกหลุมพรางอันนี้ กต็ ้องคอยแก้ปญั หาให้คุณครูอยรู่ าํ่ ไป การชีแ้ นะทีด่ จี ึงไมร่ ับปัญหา ของ คณุ ครูเข้า
มาแก้ไขเสียเอง แตพ่ ยายามชว่ ยเหลือให้ครูค้นพบวิธกี ารแก้ปญั หาด้วยตนเอง

4. ชมสองอย่าง ชี้จดุ บกพรอ่ งหนึ่งอย่าง หากจําเปน็ ตอ้ งชี้ให้เห็นจุดบกพร่องในการทํางาน
ก็ ตอ้ งใชต้ อ่ เม่ือคุณครูและผูช้ ีแ้ นะคุ้นเคย ไวว้ างใจกนั พอสมควร ทงั้ คณุ ครยู นิ ดรี ับฟงั ข้อบกพร่องของตนเอง
อยา่ งไรก็ดผี ชู้ ้ีแนะต้องยึดหลักไม่ “ติ” มากกวา่ “ชม” จึงตอ้ งยดึ หลักวา่ ใหช้ มในประเด็นท่ีทําได้ดีอย่างน้อย
2 เรอื่ ง และชข้ี อ้ บกพร่องเพอื่ ใหป้ รับปรงุ เพยี งประเดน็ เดียวเท่านัน้

5. การถาม ไมต่ อ้ งหวงั คําตอบ การถามคาํ ถามของผชู้ ้ีแนะ ช่วยให้คุณครูได้พิจารณาอย่าง
รอบด้านมากขึ้น แบบอย่างของคําถามเหล่านี้ช่วยให้คุณครูเก็บไว้ถามตนเองได้ ดังนั้น ในบางคําถามต้อง
อาศัย เวลาใน การคิดพิจารณา ก็อาจเป็น “คําถามฝากให้คิด” ไม่จําเป็นต้องบังคับให้คุณครูต้องตอบให้ได้
ในขณะนน้ั

6. ให้การบ้าน ต้องตามมาตรวจ หลังจากเสร็จสิ้นการชี้แนะในแต่ละครั้ง จําเป็นที่จะต้อง
วางแผนร่วมกันสําหรับการชี้แนะในครั้งต่อไป คุณครูต้องนําบทเรียนที่ได้ครั้งนี้ไปปรับปรุ งการสอนของ
ตนเอง เป็นเหมือนการให้การบ้านไว้ แล้วก็กลับมาตรวจดูว่าสามารถปรับปรุงได้ดีเพียงใด เพื่อหาทางชี้แนะ
ตอ่ ไป

7. ถ้าจะบอก ต้องมีทางเลือก การบอกวิธีการแก้ปัญหาให้แก่ครูใช้ในสถานการณ์ที่มีเวลา
จา กัด หรือในกรณที ่ีครูมีความเข้าใจคลาดเคล่ือนบางประการ ผู้ช้ีแนะอาจเลอื กใชว้ ธิ ีการบอกหรือสั่ง ให้ทํา
อยา่ งไรกต็ ามในวิธที บ่ี อกหรือสงั่ นั้น ควรมีอยา่ งนอ้ ย 2 ทางเลือก เพอื่ ให้ครูสามารถตัดสินใจ เลือก ปฏิบัติให้
เหมาะสมกบั สภาพที่เหมาะสมกับตนเองมากท่สี ดุ

8. แกล้งทําเป็นไม่รู้ ผู้ชี้แนะอาจทําบทบาทของผู้ที่ไม่รู้ ไม่เข้าใจ ให้ครูช่วยอธิบายหรือ ให้
คํา แนะนาก็จะชว่ ยพัฒนาความสามารถของครูได้ดที เี ดยี ว

9. อดทนฟังให้ถึงที่สุด ในบางกรณีที่ครูอาจมีเรื่องมากมายที่อยากบอกเล่าให้ผู้ชี้แนะฟัง
หลายเรื่องอาจไม่เข้าท่า หากแต่ผู้ชี้แนะสามารถอดทนฟัง โดยไม่ตัดบทหรือ แทรกแซง ก็จะได้เข้าใจ
ความคดิ ของครูมากขน้ึ บางที่คุณครูก็อาจได้คิดทบทวนในส่งิ ท่ีตนเองพดู มาได้บ้าง

รายงานการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
เร่อื ง เทคนคิ การนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching)

16

10. เราเรียนรู้ร่วมกนั ผู้ชี้แนะไม่จําเป็นต้องรูไ้ ปเสียทุกเรื่อง ผู้ชี้แนะไม่จําเปน็ ต้องเก่งกว่า
ครู แต่ถือว่าทั้งผู้ชี้แนะและครูสามารถเรยี นรู้จากกันและกันได้เสมอ ปัญหาบางเรื่องที่ต่างไม่เข้าใจก็ต้องมา
ช่วยกนั หาแนวทางแกไ้ ขร่วมกัน

การชี้แนะเป็นกระบวนการเชิงลึก ที่ไม่อาจเรียนรู้ได้ด้วยการอ่านหรือศึกษาจากเอกสารได้เพียง
เท่านนั้ หากแต่ความรทู้ ี่แท้จริงคือ การได้ลงมือปฏิบัติการช้ีแนะจริง ๆ จงึ จะทําให้กระดาษเป้ือนหมึกท่ีท่าน
ได้อา่ นมี เกดิ ความหมายท่แี ทจ้ ริงของมันขึ้นมา

จดุ ประสงค์ของการนิเทศแบบให้คําช้ีแนะ
การนิเทศแบบใหค้ ําชแี้ นะ มีวตั ถุประสงค์ เพ่อื ชว่ ยใหค้ รูสามารถจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้กบั ผ้เู รียน

ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้นิเทศจะคอยแนะนํา ให้คําปรึกษาช่วยเหลือ ให้ครูสามารถจัดกิจกรรม
การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง นอกจากผู้นิเทศจะสอนแนะแล้วยังจะช่วยให้ครูได้วิเคราะห์ตนเองให้สามารถจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ และสามารถแก้ปัญหาอุปสรรคใน การจัด
กิจกรรมการเรียนรู้ให้หมดไป การนิเทศสอน งานจะช่วยให้ครูสามารถสะท้อนภาพการปฏิบัติงาน ของครู
เพื่อให้ครูตระหนักว่า การจัดกิจกรรมการเรียนรู้นั้น จะต้องใช้วิธีการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร
เพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ขณะเดียวกันผู้นิเทศสอน
งานจะให้ข้อมูล ความรู้ที่จําเป็น ซึ่งครูยังขาดอยู่ ดังนั้นการนิเทศสอนงานที่มีประสิทธิภาพ ไม่เพียงขึ้น อยู่
กับทักษะของผู้นิเทศ และความสามารถในการรับ (Receptiveness) ของครูเท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับ
องค์ประกอบแวดล้อมของการนิเทศ สอนงานด้วย เช่น ความชัดเจนของตัวชี้วัดความสําเร็จ ( KPI : Key
Performance Index) ความชัดเจนในเกณฑ์ การประเมินตัวชี้วัดความสําเร็จ ประสิทธิภาพของการให้
ข้อมูลย้อนกลับด้วยการนิเทศสียนงานที่มี ประสิทธิภาพ จะช่วยให้สภาพแวดล้อมการทํางานดี ด้วยการ
พูดคุยระหว่างการนิเทศสอนงาน จะช่วยให้ ครูเข้าใจดีขึ้นว่า ผู้นิเทศมีความศดหวังจากการนิเทศ อย่างไร
ทาํ ใหม้ กี ารใหข้ ้อมูลย้อนกลบอยา่ งสม่ําเสมอ และเปิดโอกาสให้ต้องคิดถึงมาตรฐานและเกณฑใ์ น การนําไปสู่
ความสําเร็จ ในขณะปฏิบัตงิ าน การนิเทศ สอนงานที่มีประสิทธิภาพ จะสัมพันธ์กับบรรยากาศของการเรยี น
ซึง่ ทง้ั สองประการน้ีจะสนบั สนนุ ซงึ่ กัน

อัญชลี ธรรมะวิธกิ ุล (2552 : 3-4) กล่าวถึง การนเิ ทศแบบใหค้ าํ ช้ีแนะวัตถุประสงค์ ดังนี้
1. ช่วยให้ครูสามารถจัดกิจกรรมการเรียน ให้กับผู้เรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งผู้นี้เทศจะคอย
แนะน” ใหค้ ําปรกึ ษาชว่ ยเหลือ ใหค้ รูสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรูอ้ ย่างตอ่ เนือ่ ง
2. ช่วยให้ครูได้วิเคราะห์ตนเองให้สามารถ จัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างมีคุณภาพ ในสภาวะ
แวดลอ้ มต่าง ๆ และสามารถแกป้ ัญหาอุปสรรคใน การจดั กิจกรรมการเรียนรู้ให้หมดไป
3. ช่วยให้ครูสามารถ สะท้อนภาพการปฏิบัติงานของครูเพื่อให้ครูตระหนักว่า การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้นั้น จะต้องให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้อย่างไร เพื่อที่จะให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีคุณภาพ จากการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ของครู ขณะเดียวกันผู้นิเทศ แบบให้ คําชี้แนะจะให้ข้อมูลความรู้ที่จําเป็น ซึ่งครูยัง
ขาดอยู่
ดังนั้นการนิเทศแบบให้คำชี้แนะ ที่มีประสิทธิภาพ ไม่เพียงขึ้นอยู่กับทักษะของผู้นิเทศ และ
ความสามารถในการรับ (Receptiveness) ของครูเท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับองค์ประกอบแวดล้อมของการ
นเิ ทศแบบใหค้ ําชีแ้ นะดว้ ย เชน่ ความชดั เจนของตัวช้วี ัดความสําเร็จ (KPI : Key Performance Index)

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอิสระ
เรอ่ื ง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

17

วธิ ดี ำเนินการศึกษา

ในการสังเคราะหง์ านวจิ ยั เทคนคิ การนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching) ในคร้ังน้ี ผู้ศึกษาเลอื กใช้ขั้นตอน

การสังเคราะหง์ านวจิ ยั ของ นงลกั ษณ์ วิรัชชยั (2542) ซ่งึ มี 5 ขน้ั ตอน ดงั น้ี

ขนั้ ที่ 1 การกำหนดหัวข้อปัญหา
การกำหนดหัวข้อปัญหาจากการศึกษาวิเคราะห์แผนพัฒนาตนเอง (ID Plan) ซึ่งจากการ

ประเมินตนเอง ประเมินโดยผู้ร่วมงาน และประเมินโดยผู้บังคับบัญชา พบว่า สมรรถนะที่มีผลการประเมิน
อยู่ในระดบั ต่ำทีส่ ดุ คือ สมรรถนะประจำสายงาน ทักษะการสงั เคราะหข์ ้อมลู อยู่ในระดับตำ่

ขั้นที่ 2 การวิเคราะห์ปญั หา
การสังเคราะห์ข้อมูล หรือการสังเคราะห์งานวิจัย เป็นทักษะที่สำคัญของศึกษานิเทศก์

ในการสังเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศเกี่ยวกับสภาพการจัดการศึกษาในบริบทต่าง ๆ และผลการวิจัย เพื่อใช้
วางแผน จัดทำแผนงานเพ่ือการนิเทศการศึกษา และจัดทำรายงานการนเิ ทศ การสังเคราะห์ข้อมูลอย่างมีระบบ
จะช่วยใหก้ ารดำเนนิ งานประสบความสำเรจ็

ขั้นท่ี 3 การสบื คน้ คัดเลอื ก และรวบรวมงานวิจัย
รวบรวมงานวิจัยเกี่ยวกับเทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) จากงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

หรืองานวิจยั ทต่ี ีพิมพ์ลงวารสารวิชาการ เอกสารจากแหลง่ ข้อมลู ต่าง ๆ รวมถึงข้อมูลจากอนิ เทอร์เน็ต ดงั น้ี

ตารางที่ 2 แสดงข้อมลู รายงานการวจิ ยั /เอกสารทเ่ี ก่ยี วข้อง

ชือ่ งานวิจยั /เอกสารท่เี กีย่ วข้อง ผวู้ จิ ยั ปี พ.ศ.
จนิ ตณ์ ธิป แกว้ ชิณ 2554
1. การนิเทศแบบชแี้ นะสะทอ้ นคดิ เพ่ือพฒั นาการจดั การเรยี นรู้แบบคละชน้ั สภุ าวดี สายรตั น์ 2554
ในโรงเรียนบ้านคำข่า
อรนชุ ชุมนมุ ดวง 2554
2. รายงานผลการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ทต่ี ำ่ กวา่ เกณฑ์มาตรฐาน สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ที่การศึกษานครนายก ธญั พร ชน่ื กลนิ่ และ 2555
โดยใชก้ ารนเิ ทศแบบสอนแนะ (Coaching) วชั รา เล่าเรียนดี 2556
เบ็ญจมาศ อนิ ทร์ฤทธ์ิ 2556
3. การศึกษาผลการพฒั นาครูเกี่ยวกบั การสอนแบบโครงงาน โดยการนเิ ทศ มหาวิทยาลัยราชภฏั
แบบชแี้ นะ (Coaching) สาํ หรับครูกลุมสาระการเรยี นรูวิทยาศาสตร นครราชสมี า
ช้ันมัธยมศกึ ษาปท่ี 2 โรงเรยี นบานสะเดา (สามัคคีวทิ ยา) สังกัดสํานักงาน
เขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาบุรรี มั ย เขต 3

4. การพฒั นารูปแบบการโคช้ เพ่อื พัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้
ของอาจารย์พยาบาล

5. การนิเทศการศกึ ษาด้วยกระบวนการสอนแนะ (Coaching) และพเ่ี ลี้ยง
(Mentoring) เพ่ือพัฒนาการจดั การเรียนรกู้ ลมุ่ สาระการเรียนรูค้ ณิตศาสตร์

6. การพฒั นาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพ่เี ลยี้ ง Coaching and
Mentoring สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษานครราชสมี า เขต 1

รายงานการศกึ ษาค้นคว้าอสิ ระ
เรื่อง เทคนคิ การนิเทศแบบช้แี นะ (Coaching)

18

ช่ืองานวิจยั /เอกสารที่เกยี่ วข้อง ผู้วิจยั ปี พ.ศ.
7. รายงานผลการวิจัยการนิเทศพฒั นาครผู ู้สอนกลุ่มสาระการเรยี นรู้ อารี แก้วสถิตวงศ์ 2556
ภาษาต่างประเทศ(ภาษาอังกฤษ) ดว้ ยเทคนคิ Coaching and Mentoring
ของโรงเรียนในสงั กัดสำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษา วชิ ยั วงษใ์ หญ่ และ 2557
สมุทรปราการ เขต 2 มารุต พัฒผล 2557
8. การโค้ชเพ่ือการรคู้ ดิ (Cognitive Coaching)
เชาวนยี ์ สายสดุ ใจ
9. ชดุ นิเทศการดำเนนิ งานโรงเรยี นปฏริ ปู การเรียนรกู้ ้าวสศู่ ตวรรษท่ี 21
เล่ม 2 การนเิ ทศเพื่อส่งเสรมิ บทบาทของโรงเรยี นปฏริ ปู การเรียนร้สู ู่ผเู้ รียน มยรุ ี เจริญศริ ิ 2558
10. การศึกษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการโคช้ และการจัดการเรยี นรู้
ของครู ทสี่ ง่ เสริมใหผ้ เู้ รยี นเกิดทกั ษะการคดิ แก้ปญั หา สมศกั ด์ิ จีเ้ พ็ชร์ 2562
11. การพฒั นาคณุ ภาพครโู ดยการนเิ ทศแบบสอนแนะและการเปน็ พ่เี ลย้ี ง
โรงเรียนมหาสวสั ดิ์ (ราษฏรบ์ ำรุง) วชิรา เครอื คำอา้ ย 2562
12. การพฒั นารูปแบบการนเิ ทศโดยใช้กระบวนการชีแ้ นะและระบบพ่ีเล้ยี ง และชวลิต ขอดศิริ
เพอ่ื สง่ เสรมิ ศกั ยภาพการจัดการเรยี นรใู้ นศตวรรษท่ี 21 สังกดั สำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน จงั หวัดเชยี งใหม่ วไิ ลภรณ์ ฤทธิคุปต์ 2562
13. การชี้แนะการสอน : แนวทางการนำไปใช้พฒั นาการจดั การเรียนการ
สอนของครู

ขน้ั ที่ 4 การวิเคราะหเ์ พ่ือสังเคราะห์ผลการวจิ ัย
ผู้รายงานสังเคราะห์ผลการวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง โดยใช้วิธีวิเคราะห์เนื้อหา

(Content analysis) ทำการสังเคราะห์ เชื่อมโยงกับแนวคิดทฤษฎี จากเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เพ่อื สรุปเป็นองคค์ วามรู้/นวัตกรรมในมติ นิ ้ัน ๆ

ข้นั ท่ี 5 การเสนอรายงานการสงั เคราะหง์ านวจิ ยั
เขยี นรายงานการศึกษาค้นควา้ การสงั เคราะหง์ านวิจัย และนำเสนอผลการสังเคราะห์

งานวิจยั

รายงานการศกึ ษาคน้ ควา้ อสิ ระ
เรอ่ื ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

19

ผลการศกึ ษา

เนื้อหาสาระ/องค์ความรู้
เน้อื หาสาระ/องคค์ วามรูเ้ กย่ี วกับเทคนคิ การนิเทศแบบชแี้ นะ (Coaching) จากการสังเคราะห์

งานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง จำนวน 13 เรื่อง ใช้การสังเคราะห์แบบการสังเคราะห์เชิงคุณลักษณะ
(Qualitative Synthesis) สังเคราะห์เนื้อหาสาระเฉพาะส่วนที่เป็นข้อค้นพบของรายงานการวิจัยด้วยวิธีการ
บรรยาย เก็บรวบรวมข้อมูลจากข้อมูลประเภท Meta-analysis คือรวบรวมข้อมูลจากรายงานการวิจัย ซึ่งมี
รายละเอียด ดงั นี้

เทคนิคการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)
Coaching เปน็ การชแ้ี นะสอนงานของผรู้ บั การนิเทศและผ้นู ิเทศ การสอนงานจะเน้นไปทกี่ ารพัฒนา

ผลการปฏิบัติงาน (Individual Performance) และพัฒนาศักยภาพ (Potential) เป็นการสื่อสารอย่างหนงึ่
ทเี่ ป็นทางการและไม่เป็นทางการระหวา่ งผนู้ ิเทศกับผ้รู บั การนิเทศเป็นการส่ือสาร แบบสองทาง (Two Ways
Communication) ได้ร่วมกันแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำงาน ก่อให้เกิดความสัมพันธ์อันดี
มแี นวคิดสำคัญ คือผนู้ ิเทศจะช่วยให้ผู้รับการนิเทศสามารถสะท้อนภาพ การปฏิบตั งิ านของตนเอง ตระหนัก
ว่าตนกำลังทำงานอะไรอยู่ และมีวิธีทำอย่างไร เพื่อเรียนรู้จากการปฏิบัติงานนั้น ขณะเดียวกันผู้นิเทศจะให้
ขอ้ มลู ความรู้ทีจ่ ำเป็น ซ่งึ ผรู้ ับการนิเทศสอนยังขาดอยู่ ผนู้ ิเทศ ซ่ึงเปน็ Coach ตอ้ งเป็นผู้รักการอ่าน รักการ
แสวงหาความรู้ และเป็นผูข้ วนขวายหาข้อมูลความรู้ใหม่ ๆ อยู่ตลอดเวลา รวมท้ังแสวงหาประสบการณ์ใหม่
ๆ เพอื่ จะไดน้ ำความรู้และประสบการณ์ท่ีได้รับมาทำหน้าท่ี บทบาทนกั ฝกึ อบรม นักพัฒนา/นักเปลี่ยนแปลง
ผู้ให้คำปรึกษา นักจิตวิทยา นักแก้ไขปัญหา นักคาดคะเน นักคิด/นักประดิษฐ์ และนักปฏิบัติ ตาม
สถานการณ์ที่แตกต่างกันไป ในการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching) มีกระบวนการสำคัญที่ผู้ศึกษาได้
สงั เคราะหจ์ ากงานวจิ ัย ดังรายละเอยี ดต่อไปน้ี

กระบวนการของการนิเทศแบบช้ีแนะ (coaching)
กระบวนการของการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (coaching) เป็นกระบวนการทชี่ ว่ ยให้บุคคลได้รู้จกั ช่วยเหลือ

ตนเอง จากการศึกษา วิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสารงานวิจัยต่าง ๆ จำนวน 14 เรื่อง มีนักวิจัยนำเสนอ
กระบวนการชีแ้ นะท่ีหลากหลาย สรปุ กระบวนการของการนิเทศแบบชีแ้ นะได้ ดังนี้

รายงานการศึกษาคน้ คว้าอสิ ระ
เรอื่ ง เทคนคิ การนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

20

ตารางท่ี 3 การสังเคราะห์กระบวนการของการนิเทศแบบชี้แนะ (coaching)
ผ้ศู กึ ษา/วจิ ยั

ชนั้ ตอน
ท่ี การนเิ ทศแบบชแ้ี นะ (coaching)
จิน ์ตณ ิธป แ ้กว ิชณ
สุภาวดี สายรัต ์น
อรนุช ุชม ุนมดวง
ธัญพร ื่ชนก ่ลิน และ
เ ัวบ็ชรญาจเมล่าาศเรีอิยนนทดีร์ฤท ์ิธ
มหาวิทยา ัลยราช ัภฏนครราชสีมา
อารี แ ้กวสถิตวงศ์
วิ ัชย วงษ์ให ่ญ และมารุต พัฒผล
เชาว ีนย์ สายสุดใจ
มยุรี เจริญศิริ
สมศัก ิ์ด จ้ีเพ็ชร์
ว ิชรา เครือคำอ้าย และชวลิต
วิขไอลดภศิรริณ์ ฤท ิธคุป ์ต

1 ข้ันวางแผน  

-การศึกษา/สำรวจสภาพปัญหา และ

ความต้องการในการพัฒนาจากสภาพจริง

-การเลอื กเทคนคิ วิธีการจัดการเรียนรู้

-การเย่ยี มชน้ั เรยี น

-การวางแผนการจดั การเรียนรู้

-การวางแผนการโค้ช/ปฏิทนิ การโค้ช

-วิเคราะห์ขอ้ มลู จัดลำดับความสำคญั

-กำหนดรปู แบบกิจกรรม

-กำหนดวัตถปุ ระสงค์และเป้าหมาย

-การกำหนดทางเลือก ตดั สินใจเลือก

-การจดั ทำขอ้ มูลสารสนเทศ

-การวางแผนการนเิ ทศและเครอ่ื งมือนิเทศ

2 ขน้ั ปฏบิ ตั ิการนเิ ทศ  

การเตรยี มการก่อนการใหค้ ำชแี้ นะ

-การประชมุ ปรกึ ษาหารือร่วมกนั

-การจัดทำข้อมูลสารสนเทศ

-การเตรยี มแผนการนเิ ทศและเคร่ืองมือ

นเิ ทศ

-การศึกษาข้อมลู เดิม

-การประเมินงานของครดู ้วยตนเอง

การดำเนนิ การใหค้ ำช้แี นะ

-การสร้างองคค์ วามรู้

-การปฏิบัตกิ ารจัดเรยี นรดู้ ้วยตนเอง

-การสงั เกตชัน้ เรยี น/กจิ กรรม

ในห้องเรยี น

รายงานการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
เร่อื ง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้แี นะ (Coaching)

21

ตารางที่ 3 (ต่อ) ผ้ศู กึ ษา/วจิ ยั

ชน้ั ตอน จิน ์ตณ ิธป แ ้กว ิชณ
ที่ การนเิ ทศแบบชแ้ี นะ (coaching) สุภาวดี สายรัต ์น
อรนุช ุชม ุนมดวง
ธัญพร ื่ชนก ่ลิน และ
เ ัวบ็ชรญาจเมล่าาศเรี ิอยนนทดีร์ฤท ์ิธ
มหาวิทยา ัลยราช ัภฏนครราชสีมา
อารี แ ้กวสถิตวงศ์
วิ ัชย วงษ์ให ่ญ และมารุต พัฒผล
เชาว ีนย์ สายสุดใจ
มยุรี เจริญศิริ
สมศัก ิ์ด จ้ีเพ็ชร์
ว ิชรา เครือคำอ้าย และชวลิต
วิขไอลดภศิรริณ์ ฤท ิธคุป ์ต

การสรุปผลการให้คำชแ้ี นะ 
-การตอ่ ยอดประสบการณ์ 
-การทำ AAR หรอื การตรวจสอบ

ผลหลงั การปฏบิ ตั ิงาน
-การสรปุ ผลการให้คำชแี้ นะ
-การวางแผนการใหค้ ำชแ้ี นะครัง้ ต่อไป
-การสะท้อนผล
-การสะทอ้ นคดิ
-การอภปิ รายร่วมกนั

3 ขนั้ ประเมินผลการนเิ ทศ
-การประเมนิ ผลการโคช้ (Evaluation)
-การประเมินผลกอ่ นการโคช้
-การประเมนิ ผลระหว่างการโคช้
-การประเมินผลหลังสิน้ สุดการโค้ช
-สรปุ และเผยแพรค่ วามรู้
-ติดตามผลการพัฒนา

จากตารางที่ 3 กระบวนการของการนิเทศแบบชี้แนะ (coaching) สรุปรายละเอียดกระบวนการ
ของการนิเทศแบบชแี้ นะ (coaching) เพอ่ื นำไปใช้ในการวางแผนการนิเทศ ประกอบดว้ ย

1) ขั้นวางแผนการนเิ ทศ
2) ขน้ั ปฏบิ ัติการนเิ ทศ

2.1) การเตรยี มการก่อนการใหค้ ำชี้แนะ
2.2) การดำเนนิ การใหค้ ำชแี้ นะ
2.3) การสรุปผลการใหค้ ำชี้แนะ
3) ขนั้ ประเมินผลการนเิ ทศ

รายงานการศึกษาคน้ ควา้ อสิ ระ
เร่ือง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching)

22

การดำเนินงานแต่ละข้ันตอน มดี งั น้ี
ขน้ั ตอนที่ 1 การวางแผนการนิเทศ
การวางแผนการนิเทศ เป็นขั้นตอนที่กำหนดไว้อย่างมีระบบ เพื่อให้บรรลุเป้าหมาย หรือ
วตั ถปุ ระสงค์ท่ตี อ้ งการภายใตเ้ งอื่ นไขและข้อมูลในการประกอบการตดั สินใจ ซึง่ มีขน้ั ตอนการปฏิบัติ ดงั น้ี
1. การศึกษาและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศของสถานศึกษาเพื่อใช้ในกระบวนการให้คำชี้แนะ
ปัจจุบันข้อมูลสารสนเทศมีความจำเป็นอย่างย่งิ การมีขอ้ มูลและระบบสารสนเทศท่ดี ี ถกู ตอ้ งเป็นปัจจุบัน จะทำให้
ตัดสินใจได้ถูกต้อง แมน่ ยำ ทนั เหตกุ ารณ์มากขึ้น โดยเฉพาะในการวางแผนการศึกษา และการยกระดับคุณภาพ
การศึกษา ข้อมูลสารสนเทศจะใช้เป็นเครื่องมือในการบริหารจัดการโดยมีเป้าหมายการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษาของผู้เรียนให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ข้อมูลและระบบสารสนเทศที่ดีควรครอบคลุม
องค์ประกอบพ้ืนฐานของการจดั การศึกษา และต้องมีการจัดเก็บอย่างเป็นระบบ งา่ ยตอ่ การนำไปใช้อันจะส่งผล
ให้เกดิ ประโยชนส์ งู สุดตามนโยบายการจัดการศึกษา ซ่งึ อาจแบง่ ไดด้ ังน้ี
1.1 ข้อมูลและสารสนเทศพื้นฐานของสถานศึกษา ได้แก่ ข้อมูลทั่วไปของสถานศึกษาและชุมชน
อาคารเรียน อาคารประกอบ และสิ่งอำนวยความสะดวกที่มีอยู่ในสถานศึกษา เช่น ห้องเรียน
ห้องปฏิบัติการ วัสดุ อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด ตลอดถึงแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษา
เปน็ ตน้
1.2 ข้อมูลและสารสนเทศที่เกยี่ วกับผู้เรียน ผเู้ รยี นเป็นองค์ประกอบท่สี ำคญั ของสถานศึกษา การ
เก็บรวบรวมข้อมูลของผู้เรียนรายบุคคล เช่น ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คือ NT/O-NET แล้วยังต้องเก็บ
รวบรวมข้อมูลเก่ียวกับด้านภูมหิ ลังทางครอบครัวและชมุ ชนท่นี กั เรียนอาศยั อยู่
1.3 ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวกับครูและการจดั การเรียนการสอน เช่น จำนวนครู ชื่อ คุณวุฒิ
การศึกษา ตำแหน่งหน้าที่ วิชาที่สอน ผลงานทางวิชาการ การจัดแผนการเรียน/ชั้นเรียน อุปกรณ์การสอน
แหลง่ ข้อมลู เรยี นรู้ ระเบยี นสะสม ตารางสอน และผลการปฏบิ ัติงานของครู ขอ้ มลู ในดา้ นกระบวนการเรียนการ
สอน ได้แก่ ลักษณะของวิธีการสอน ตารางสอน การมีส่วนร่วมของนักเรียน การใช้ตำราเรียน สื่อการสอน การ
ประเมินผลการเรียนการสอน การรายงานผลการเรียนการสอนซ่อมเสริม วิธีและการใช้เครื่องมือประเมิน
การวางแผนการวัดและประเมินผลการเรียนนำไปพัฒนาผู้เรียน เปน็ ต้น
1.4 ข้อมูลและสารสนเทศที่เกี่ยวกับการบริหารงานวิชาการ ซึ่งจัดเป็นหัวใจของงานด้าน
การศึกษา ผู้ปกครอง ชุมชนและหน่วยงานต่าง ๆ ให้ความสนใจและต้องการทราบข้อมูลที่ถูกต้องรวดเร็ว
เชอื่ ถือได้ เชน่ หลกั สตู ร แผนการสอน คมู่ ือ การพัฒนาหลักสูตรการสำรวจความต้องการของชมุ ชน และการ
ใชต้ ำราเรียนของครูและนักเรียน การจดั ทำคลงั ขอ้ มูล คลังขอ้ สอบทเี่ ปน็ ระบบและเปน็ ปจั จบุ นั เปน็ ต้น
2. สำรวจและประเมินความต้องการของครู โดยการสนทนาซักถาม เก็บข้อมูลในชั้นเรียนดูจาก
ผลงานนกั เรียน เปน็ ต้น
3. จัดลำดบั ความสำคญั ของปญั หาและความต้องการ
4. วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา และจัดลำดับความสำคัญของสาเหตุ กำหนดทางเลือกในการ
แก้ปญั หาและการดำเนินการตามความต้องการ

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ
เรือ่ ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

23

5. วางแผนการนเิ ทศและเครือ่ งมือการนเิ ทศ
การวางแผนเป็นงานที่สำคัญ และจำเป็นต่อความสำเร็จของงานที่จะปฏิบัติเพราะว่า ถ้ามีการ

วางแผนดี มคี วามรดั กุม และสามารถนำไปปฏิบตั ิไดน้ ั้นเท่ากบั งานน้ันประสบผลสำเร็จไปแล้วคร่ึงหน่ึง การ
วางแผนการนิเทศจึงเป็นขั้นตอนที่จะนำเอาผลมาวิเคราะห์ หรือหาทางเลือกมากำหนดวัตถุประสงค์
เปา้ หมายในการปฏบิ ัติงาน กิจกรรมท่จี ะต้องปฏิบัติและรายละเอียดต่าง ๆ ให้ชัดเจนในแผนการนิเทศอาจมี
องค์ประกอบต่าง ๆ ได้แก่ วัน/เดือน/ปี จุดประสงค์การนิเทศ เรื่อง/สาระการนิเทศ กิจกรรมสื่อ/เครื่องมือ
นิเทศ แนวทางการติดตาม/ประเมินผล ผ้รู บั การนเิ ทศ

สอื่ และเครอื่ งมือการนเิ ทศเป็นส่ิงท่ีจะช่วยให้การนิเทศมปี ระสทิ ธภิ าพย่ิงขึ้นและเป็นส่ิงที่จะช่วย
เก็บรายละเอียดที่ผู้รับการนิเทศไม่สามารถแสดงออกมาได้ และสามารถเก็บข้อมูล นำมาเปรียบเทียบผลที่
เกิดขึ้น เพื่อจะได้เป็นแนวทางในการพัฒนาการศึกษา และสิ่งที่ทำให้มีความเข้าใจตรงกันระหว่างผู้นิเทศ
และผรู้ ับการนเิ ทศ และเป็นส่ิงสำคัญทจ่ี ะช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพในการนเิ ทศ ใหบ้ รรลุวัตถุประสงคท์ ่ีต้องการ
ได้อีกด้วย เครือ่ งมอื การนิเทศ จำแนกตามลักษณะใชง้ านได้ 2 ชนดิ คือ

1) เครื่องมอื สำหรบั ตรวจสอบคณุ ภาพการศกึ ษา เชน่
1.1 แบบทดสอบ เป็นเครื่องมือที่จัดทำขึ้นเพื่อตรวจสอบความพร้อมความรู้พื้นฐานด้านการ
เรยี นของนักเรียน หรอื ทดสอบครูผ้สู อนเกีย่ วกบั หลกั สตู รการเรยี นการสอน
1.2 แบบสอบถาม แบบสำรวจ แบบประเมิน เป็นเครื่องมือที่ใช้รวบรวมข้อมูล และ
รายละเอียดที่ต้องการ เช่น ข้อมูลส่วนตัว ความคิดเห็น เจตคติ ซึ่งอาจใช้สอบถามครูผู้สอน และบุคลากรท่ี
เกย่ี วขอ้ ง
1.3 แบบสังเกต เป็นเครื่องมือที่ใช้สังเกตการสอนของครู ใช้สังเกตการจัดกิจกรรมการเรียน
การสอนของครผู สู้ อน
2) เครื่องมือสำหรับส่งเสริมคุณภาพการศึกษา ใช้ในการนิเทศการศึกษาเพื่อพัฒนาด้านการ
เรียนการสอน ผู้นิเทศจำเป็นต้องใช้เครื่องมือ เพื่อให้ผู้รับการนิเทศมองเห็นทางเลือกที่เหมาะสมกับตน
ปรับปรุงแก้ไขปัญหาการทำงานของตนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น เช่น เอกสารหลักสูตร เอกสารเสริมการ
เรียนการสอน เอกสารคมู่ อื ครู เป็นต้น
ในการสรา้ งเครื่องมือการนิเทศ ควรคำนึงถึงหลักการตา่ ง ๆ ได้แก่
1. ตัดสินใจว่าจะเลือกใช้เครื่องมือใดบ้าง โดยพิจารณาจากข้อมูลการศึกษาสภาพปัจจุบัน
กลุ่มเป้าหมายที่ให้ข้อมูล ปัญหา และความต้องการว่ามีปัญหาเรื่องใด ควรปรับปรุงแก้ไขอย่างไร ปัญหามี
สาเหตุมาจากอะไร แลว้ จึงเลอื กเคร่ืองมอื ใหเ้ หมาะสมกบั ความต้องการ
2. ศึกษารายละเอียดของเครื่องมือ ที่พิจารณาเลือกไว้ในข้อแรกว่ามีรายละเอียดปลีกย่อย
จดุ เดน่ จุดด้อยอะไร
3. ดำเนินการสร้างเครื่องมือ โดยมีเกณฑ์ว่าต้องตรวจสอบได้ ตามมาตรฐาน และต้อง
คำนึงถึงเรื่องต่าง ๆ ได้แก่ กำหนดวัตถุประสงค์ กำหนดขอบข่าย/กรอบเนื้อหา การดำเนินการ
เก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการนำข้อมูลไปใช้/การรายงานผล การทดลองใช้เครื่องมือ
ทุกชนิดที่สร้างขึ้นทุกครั้ง ก่อนนำไปใช้ต้องนำไปทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่างเพื่อหาข้อบกพร่อง และการ
ประเมนิ ผล การใช้เครอื่ งมอื ควรคำนึงถงึ การนำผลที่ได้ไปปรบั ปรงุ พัฒนางาน

รายงานการศึกษาค้นควา้ อสิ ระ
เร่ือง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

24

ขัน้ ตอนที่ 2 การปฏิบัตกิ ารนิเทศ
การปฏิบัติการนิเทศการศึกษาเป็นการทำงานร่วมกันระหว่างผู้บริหารสถานศึกษา ครูและศึกษานิ
เทศ์ ซ่ึงในการปฏบิ ัตกิ ารนิเทศ ผูน้ ิเทศจะต้องนำหลักการนเิ ทศ เทคนิค ทักษะ สื่อ และเครื่องมือนิเทศมาใช้
ให้เหมาะสมกับสถานการณ์และบุคลากรผู้รับการนิเทศ เพื่อให้การปฏิบัติการนิเทศดำเนินไปด้วยความ
เรียบรอ้ ย ผู้นเิ ทศควรดำเนินการนิเทศ ดังนี้
2.1 การเตรียมการก่อนการให้คำชี้แนะ

1) การศึกษาตน้ ทุนเดิม เป็นขน้ั ที่ศึกษานิเทศก์หรือผู้ให้คำช้ีแนะทำความเข้าใจวิธคี ิด วธิ ีการทำงาน
และผลที่เกิดขึ้นจากการทำงานของคุณครูว่าอยู่ในระดับใด เพื่อเป็นข้อมูลในการต่อยอดประสบการณ์ในระดับท่ี
เหมาะสมกับครูแต่ละคน ซงึ่ ในขั้นนี้อาจใช้วิธีการต่าง ๆ กนั ไปตามสถานการณ์ ไดแ้ ก่ การให้ครบู อกเล่า อธิบาย
วิธีการทำงานและผลที่เกิดขึ้น การพิจารณาร่องรอยการทำงานร่วมกัน เช่น แผนการสอน ชิ้นงานของ
นกั เรียน และการสงั เกตการสอนในช้ันเรียน

2) สร้างความสมั พันธ์ระหวา่ งครูและผ้นู ิเทศ ใหม้ ีทศั นคตแิ ละความรู้สึกท่ีดีต่อกัน เข้าใจซ่ึงกัน
และกันแลว้

3) จัดเตรียมและซกั ซอ้ มความเข้าใจ เกย่ี วกบั วิธกี าร กจิ กรรมการนิเทศ ส่ือนิเทศ และ
เครือ่ งมือนิเทศ องค์ความรใู้ นการนำไปใช้ในการช้แี นะ

2.2 การดำเนินการให้คำชี้แนะ
การดำเนินการนิเทศแบบชี้แนะ เป็นการปฏิบัติเพื่อให้ได้ความต้องการหรือเป้าหมาย

ท่ีวางไว้ ซง่ึ มรี ายละเอียดดังน้ี
1) ประชุมก่อนการสงั เกต (Pre-Observation Conference) ไดแ้ ก่ การทบทวนแผนการ

จัดการเรียนรู้ กำหนดประเด็นการสงั เกตและบนั ทึก และเลือกเคร่ืองมือสังเกตการสอน
2) ทบทวนแผนการสอนของครู
3) ครแู ละศึกษานิเทศกท์ ำการตกลงในประเดน็ ทีจ่ ะสังเกตการสอนร่วมกนั ได้แก่

การสรา้ งบรรยากาศที่ดี การทำความเข้าใจในแผนการสอน การระบปุ ระเด็นที่จะสังเกตการสอน
วิธีการเกบ็ รวบรวมข้อมลู

4) ดำเนนิ การใหค้ ำช้ีแนะ ซ่ึงสามารถทำได้หลายวิธตี ามสถานการณ์ บรบิ ท เป้าหมายท่ีกำหนด
ไว้ ผูน้ เิ ทศสามารถเลือกใช้กจิ กรรมในการดำเนนิ การช้ีแนะ ดงั นี้

4.1) การให้ความรู้ เป็นการถ่ายทอดความรู้ ความเข้าใจของผ้นู ิเทศไปสู่รับการนิเทศ ซง่ึ
ผู้นิเทศอาจให้ความรู้แก่ผู้รับการนิเทศในรูปแบบต่าง ๆ ได้แก่ การบรรยาย (Lecturing) เป็นการถ่ายทอด
ความรู้ทใ่ี ชเ้ พียงการพูดและการฟงั เท่านนั้ การบรรยายโดยใช้ส่ือประกอบ (Visualized Lecturing) เปน็ การ
บรรยายที่ใช้สื่อเข้ามาช่วย เช่น สไลด์ แผนภูมิ แผนภาพ สื่อนิเทศ ฯลฯ การบรรยายเป็นกลุ่ม ( Panel
presenting) เป็นการให้ข้อมูลเป็นกลุ่มที่มีจุดเน้นที่การให้ข้อมูลตามแนวความคิดหรือแลกเปลี่ยนความ
คดิ เหน็ ซง่ึ กันและกนั การให้ดูภาพยนตรห์ รอื โทรทศั น์ (Viewing film and television) เปน็ การใชเ้ คร่ืองมือ
ที่สื่อทางสายตา ได้แก่ ภาพยนตร์ โทรทัศน์ วิดีโอเทป การฟังคำบรรยายจากเทป วิทยุ และเครื่อง
บันทึกเสียง (Listening to tape, radio recordings) เปน็ การใชเ้ ครื่องบันทึกเพ่ือนำเสนอแนวความคิดของ
บุคคลหน่งึ ไปสูผ่ ้ฟู ังคนอ่ืน ซึง่ ผนู้ เิ ทศสามารถเลอื กใช้ใหเ้ หมาะสมกบั กลมุ่ เปา้ หมาย

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ
เร่ือง เทคนิคการนเิ ทศแบบชแี้ นะ (Coaching)

25

4.2) การสงั เกตการสอน
การสังเกตการสอน เป็นการที่ผู้นิเทศจะลงมือสังเกตการสอน เพื่อที่จะเก็บ

รวบรวมขอ้ มลู นำไปวิเคราะหร์ ว่ มกบั ครู ขอ้ มูลจะเกบ็ และรวบรวมโดยวิธีการท่ีถูกต้องเหมาะสม อาจจะเป็น
วิเคราะห์ที่มีจุดศูนย์กลางอยู่ที่ปัญหาที่ได้ชี้แนะไว้ก่อนล่วงหน้า หรืออาจจะเป็นปัญหาที่เพิ่งเกิดข้ึน
อย่างกะทันหันจากข้อมูลที่ได้มาใหม่ ซึ่งเป็นสิ่งสำคัญอย่างยิ่งที่ข้อมูลนั้นจะต้องเป็นข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง มี
ความเที่ยงตรงแม่นยำและมีความสมบูรณ์แบบ ที่สะท้อนให้เห็นเหมือนสิ่งที่เกิดขึ้นจริง ผู้นิเทศสังเกต
การสอนในขณะที่ทำการสอน โดยใช้เครื่องมือเพื่อบันทึกหลักฐาน หรือเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นระหว่างที่ครูทำ
การสอน สำหรับประเด็นในการสังเกต เช่น การใช้คำถาม การจัดการในชั้นเรียน การจัดกิจกรรม
การเรยี นการสอน ปฏสิ ัมพนั ธ์ระหวา่ งครูและนกั เรยี น สือ่ และแหล่งเรยี นรู้ การวดั และประเมนิ ผล

2.3 การสรปุ ผลการใหค้ ำชแ้ี นะ
1) การใหค้ รูประเมินการทำงาน/การสอนของตนเอง เป็นขั้นท่ีช่วยให้ครูได้ทบทวนการทำงาน/

การสอนที่ผ่านมาของตนเอง โดยใช้ตัวอย่างที่เป็นรูปธรรม เช่น การสอนที่เพิ่งสอนจบไปแล้ว ชิ้นงานที่
นักเรียน ทำเสร็จมาใช้ประกอบการประเมนิ จัดให้ครูมีโอกาสได้ “นึกย้อนและสะท้อนผลการทำงาน” ช่วย
ให้ครูได้ทบทวนและไตร่ตรองว่าตนเองได้ใช้ความรู้ ความเข้าใจไปสู่การปฏิบัติอย่างไร มีอุปสรรคปัญหาใด
เกดิ ขนึ้ บ้าง คำถามทม่ี กั ใชก้ ันในขนั้ น้มี ี 2 คำถามหลกั คือ “อะไรทีท่ ำไดด้ ี..” “จะให้ดีกวา่ น้ี ถา้ ...”

2) ขั้นต่อยอดประสบการณ์ เป็นขั้นที่ศึกษานิเทศก์หรือผู้ให้คำชี้แนะมีข้อมูลจากการสังเกต การ
ทำงานและฟังครูอธิบายความคิดของตนเอง แล้วจงึ ลงมือต่อยอดประสบการณ์ในเร่ืองเฉพาะนั้นเพิ่มเติม ซึ่ง
ศกึ ษานเิ ทศก์หรือผู้ช้แี นะต้องอาศยั ปฏภิ าณในการวินิจฉยั ให้ได้ว่า ครูตอ้ งการความช่วยเหลือในเรื่องใด หาก
ไม่แน่ใจก็อาจใช้วิธีการสอบถามขอข้อมูลเพิ่มเติม ในขั้นต่อยอดประสบการณ์มักมีการดำเนินการใน 2
ลกั ษณะ ดงั นี้

2.1) เมอ่ื พบวา่ คุณครูมคี วามเข้าใจที่ผิดพลาดบางประการ หรือมีปญั หา กจ็ ำเป็นต้องแก้ไข
ปรับความรูค้ วามเขา้ ใจใหถ้ ูกตอ้ งและชว่ ยเหลือในการแกไ้ ขปญั หา

2.2) เมื่อพบว่าคุณครูเข้าใจหลักการสอนดี แต่ยังขาดประสบการณ์ในการออกแบบการ
เรยี นการสอน ก็จำเป็นเพ่ิมเตมิ ความรู้ แบง่ ปนั ประสบการณ์

2.3) การทำ AAR หรือการตรวจสอบผลหลงั การปฏบิ ัติงาน
AAR ย่อมาจากคำว่า After Action Review ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหนึ่งที่ใช้ในการ

ทบทวนความรูท้ ่ไี ดห้ ลังจากการให้คำช้ีแนะ (Coaching) เสรจ็ สน้ิ แต่ละครง้ั เนน้ การแสดงความคิดเห็นอย่าง
เป็นอิสระ ไม่มีถูก–ผิด เป็นการทบทวนเพื่อแลกเปลี่ยนประสบการณ์ เพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้น หรือไม่ให้เกิด
ปัญหาขึ้นอีก ในขณะเดียวกันก็คงไว้ซึ่งวิธีการที่ดีที่สุด โดยศึกษานิเทศก์หรือผู้ให้คำชี้แนะควรกระตุ้นให้ครู
ตอบคำถามให้กบั ตวั เอง ได้แก่ สิ่งทคี่ าดว่าจะไดร้ ับจากการนเิ ทศ คอื อะไรสิง่ ทีเ่ กดิ ขึ้นจริง คอื อะไร ทำไมสิ่งท่ี
คาดหวังกับสิ่งที่เกิดขึ้นจริงจึงแตกต่างกัน เพราะเหตุใด และสิ่งที่ได้เรียนรู้และวิธีการลดหรือแก้ไขความ
แตกต่างคืออะไร ในการทำ AAR ควรคำนึงถึงหลักสำคัญ ได้แก่ ควรทำ AAR ทันทีหลังจากจบสิ้นการให้คำ
ชี้แนะ ไม่มีการกล่าวโทษ ซ้ำเติม ตอกย้ำซึ่งกันและกัน โดยให้มีบรรยากาศเป็นกันเอง คอยอำนวยความ
สะดวก กระตุ้น ตั้งคำถามให้ครู ผู้บริหารสถานศึกษาได้แสดงความคิดเห็นข้อเสนอแนะของตน ควรถาม
ตัวเองว่าสิ่งที่ได้รับคอื อะไร หันกลับมาดูว่าส่ิงที่เกิดขึ้นจริงคืออะไรความแตกต่างคืออะไร ทำไมจึงแตกต่าง

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ
เรื่อง เทคนคิ การนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

26

กัน และจดบันทึกเพื่อเตือนความจำว่าวิธีการใดบ้าง ท่ีศึกษานิเทศก์หรือผู้ให้คำชี้แนะได้เคยนำมาแก้ปัญหา
แลว้

2.4) การวางแผนการให้คำชี้แนะครั้งต่อไป การให้คำชี้แนะของศึกษานิเทศก์หรือผู้ให้คำ
ชี้แนะเพียงครั้งเดียวไม่สามารถบรรลุผลได้ ดังนั้นจำเป็นตอ้ งวางแผนการใหค้ ำชีแ้ นะในครั้งต่อไปร่วมกับครู
ผู้บริหารสถานศึกษา เพื่อเชื่อมโยงต่อยอดการจัดการเรยี นรู้ในแตล่ ะเรื่องตามบริบทของสถานศึกษา เพื่อให้
เกิดผลสำเร็จที่เป็นรูปธรรม ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพและยกระดับคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาใหส้ งู ขน้ึ มีคณุ ภาพตามมาตรฐานการศกึ ษา

ขัน้ ตอนท่ี 3 การประเมินผลการนเิ ทศ
การประเมินผลการนิเทศ เป็นขั้นตอนท่ีมีความสำคัญยิง่ ในการควบคุมและพัฒนาคุณภาพการ

จัดการศึกษาผู้นิเทศควรสร้างข้อตกลงร่วมกันในการกำหนดเกณฑ์การประเมินผลซึ่งการประเมินผล
ควรจะประเมินระหว่างการ ดำเนินงานเป็นระยะ ๆ เพื่อการพัฒนางานให้บรรลุวัตถุประสงค์และ
ควรประเมินผลเมื่อสิ้นสุดโครงการเพื่อดู ผลผลิตและผลลัพธ์ที่เกิดขึ้นว่าสนองตามข้อกำหนด เป้าหมาย
และตัวชี้วัดหรือไม่ซึ่งจะทำให้ผู้นิเทศและผู้รับการนิเทศมีข้อมูลเพื่อการพัฒนางานอย่างต่อเนื่องทำให้การ
ดำเนินงานมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งสามารถประเมินผลจากระดับการรับรู้ในเนื้อหา สาระ รายละเอียดของ
วธิ กี ารจัดการเรยี นรู้ ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ของครู การใชส้ ่ือ/แหล่งเรยี นรู้ ปัญหา อุปสรรค และ
ข้อเสนอแนะ ทั้งนี้เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพัฒนาต่อไป เช่น การวางแผนการพัฒนาคุณภาพ
การศึกษา การกำหนดสภาพความสำเร็จของการพัฒนาไว้อย่างต่อเนื่อง รวมถึงการนำเสนอผลการ
ปฏิบตั งิ านทเี่ ปน็ เลศิ (Best Practices) ของครแู ละสถานศกึ ษานำเสนอและเผยแพร่ต่อไป

การนำไปพฒั นางาน/การเชื่อมโยงประยุกต์ใช้

จากการสังเคราะห์งานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้อง เกี่ยวกับเทคนิคการนิเทศแบบ
ชี้แนะ (Coaching) ผู้รายงานได้นำผลการสังเคราะห์งานวิจัย และเอกสารที่เกี่ยวข้องไปประยุกต์ใช้ในการ
จัดทำแผนการนิเทศ เรื่อง การจัดการเรียนการรู้วิทยาการคำนวณ (Computing Science) โดยการนิเทศ
แบบชี้แนะ (Coaching) พฒั นาครผู สู้ อนวทิ ยาการคำนวณ จำนวน 2 คน โรงเรียนอนุบาลพิจิตร อำเภอเมือง
จงั หวัดพิจติ ร สงั กัดสำนกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาพิจติ ร เขต 1 ประกอบดว้ ย

1) ขน้ั วางแผนการนิเทศ
2) ขั้นปฏิบตั กิ ารนเิ ทศ

2.1) การเตรียมการกอ่ นการให้คำชแี้ นะ
2.2) การดำเนินการให้คำชีแ้ นะ
2.3) ข้นั สรปุ ผลการใหค้ ำชแี้ นะ
3) ขัน้ ประเมนิ ผลการนิเทศ ดังนี้

รายงานการศึกษาค้นคว้าอิสระ
เรอื่ ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชแี้ นะ (Coaching)

27

ขน้ั ตอนที่ 1 การวางแผนการนิเทศ
1. ศึกษาและรวบรวมข้อมูลและสารสนเทศของโรงเรียนอุนบาลพิจิตร เกี่ยวกับหลักสูตร

บริบท จุดเด่น จุดที่ควรพัฒนา จากรายงาน SAR ของโรงเรียน และศึกษาข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้
วิทยาการคำนวณ ระดับชั้น ป.1 ป.2 ป.4 และ ป.5 ความต้องการในการพัฒนาการจัดการเรียนการสอน
วิทยาการคำนวณของครู สนทนาซักถามครู ผู้บรหิ าร และการเยีย่ มชั้นเรยี น

2. จัดลำดบั ความสำคญั ของปัญหาและความต้องการ
3. วางแผนการนิเทศ สอื่ การนเิ ทศ และเครอ่ื งมอื การนิเทศ ประกอบดว้ ย

3.1 แผนการนิเทศ เรื่อง การจัดการเรียนการรู้วิทยาการคำนวณ (Computing
Science) โดยการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)

3.2 แนวทางการจัดการเรยี นรู้วทิ ยาการคำนวณ โดยการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)
3.3 เคร่ืองมือนเิ ทศ

ขัน้ ตอนท่ี 2 การปฏบิ ตั กิ ารนเิ ทศ
2.1 การเตรยี มการก่อนการใหค้ ำชแี้ นะ
1) การศกึ ษาความรเู้ ดิมของครู โดยสังเกตจากแผนการจัดการเรยี นรู้ และการสังเกตการ

จัดการเรยี นรู้ในช้ันเรยี น พดู คยุ สอบถามกบั ครูผู้สอน
2) สร้างความสัมพันธ์ ความเป็นกันเองระหวา่ งครูและผู้นิเทศ
3) ซักซ้อมความเขา้ ใจเก่ยี วกับกจิ กรรมการนิเทศ สอื่ นิเทศ และเครือ่ งมือนเิ ทศ
4. ประสานงาน นดั หมายวันเวลาในการนิเทศกบั ผู้บรหิ ารและครูผู้สอน

2.2 การดำเนินการให้คำชแี้ นะ
1) ประชุมก่อนการสังเกต เพื่อทบทวนแผนการจัดการเรียนรู้ กำหนดประเด็น

การสังเกต และบนั ทกึ
2) ดำเนนิ การให้คำช้ีแนะ โดยการใหค้ วามรู้ และให้ตัวอยา่ งแผนการจัดการเรยี นรู้ที่

เปน็ ต้นแบบการจดั การเรียนรู้วทิ ยาการคำนวณ และการสงั เกตการสอน
2.3 การสรปุ ผลการใหค้ ำชแ้ี นะ
1) การให้ครปู ระเมินการทำงาน/การจัดการเรยี นรู้ของตนเอง
2) ต่อยอดประสบการณ์ โดยศึกษานิเทศก์ให้ข้อมูลจากการสังเกตการจัดการเรียนรู้

การรบั ฟงั ครอู ธิบายความคดิ ของตนเอง เพ่มิ เติมความรู้ และแบง่ ปนั ประสบการณ์
3) การทำ AAR หรอื การตรวจสอบผลหลังการปฏบิ ตั ิงาน
4) การวางแผนการใหค้ ำชีแ้ นะต่อไป

ขน้ั ตอนท่ี 3 การประเมินผลการนิเทศ
ประเมินผลจากระดับการรับรู้ในเนื้อหาสาระ รายละเอียดของวิธีการจัดการเรียนรู้

ความสามารถในการจดั การเรียนรู้ของครู การใช้สื่อ/แหลง่ เรยี นรู้ ปญั หา อปุ สรรค และขอ้ เสนอแนะ

รายงานการศึกษาค้นควา้ อสิ ระ
เร่ือง เทคนิคการนิเทศแบบชีแ้ นะ (Coaching)

28

ผลท่ีเกิดข้นึ

1. จากการนิเทศการจัดการเรียนการรู้วิทยาการคำนวณ (Computing Science) โดยการนิเทศแบบ
ชแี้ นะ (Coaching) กบั ครูผูส้ อนวิทยาการคำนวณ โรงเรยี นอนุบาลพิจิตร พบวา่ ครมู คี วามรูค้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกับ
แผนการจัดการเรยี นรู้ และสามารถจดั การเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 1, 2, 4 และ 5 ได้ตาม
แนวทางการจดั การเรยี นรู้ท่ีหลกั สูตรกำหนด

2. นักเรียนได้รับการพัฒนาด้านทักษะการคิด ตามแนวทางการจัดการเรียนรู้วิทยาการคำนวณ ใน
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1, 2, 4 และ 5 ทำให้นักเรียนมีผลการประเมินบรรลุตามจุดประสงค์การเรียนรู้ที่
กำหนดไว้

3. ผู้นิเทศมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถวางแผนการนิเทศ กำหนดการนิเทศ และสร้างเครื่องมือ
การนิเทศฝึกปฏิบัติการนิเทศ บันทึกการนิเทศ ฝึกการนิเทศโดยใช้เทคนิคการนิเทศแบบชี้แนะ (Coaching)
ทำให้เกิดประสบการณก์ ารนเิ ทศทด่ี ี และเป็นแนวทางในปฏบิ ตั ิการนเิ ทศและพัฒนาการนิเทศต่อไป

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอสิ ระ
เร่ือง เทคนคิ การนิเทศแบบชแ้ี นะ (Coaching)

29

บรรณานุกรม

คณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ, สาํ นักงาน. (2545). พระราชบญั ญตั ิการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542
และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับท่ี 2) พ.ศ.2545. กรงุ เทพฯ : พรกิ หวานกราฟฟิค.

จนั ทรเ์ พ็ญ เช้ือพานชิ และคณะ (2531). งานวิจยั และการวเิ คราะหแ์ ละสังเคราะห์. บัณฑติ วทิ ยาลยั
จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

จินต์ณธิป แกว้ ชิณ. (2554). การนเิ ทศแบบช้ีแนะสะท้อนคิดเพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรแู้ บบคละชน้ั
ในโรงเรยี นบ้านคำข่า. สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2.

เชาวนยี ์ สายสุดใจ. (2557). ชุดนเิ ทศการดำเนนิ งานโรงเรยี นปฏิรปู การเรียนรู้ก้าวสศู่ ตวรรษท่ี 21 เล่ม 2
การนเิ ทศเพ่ือส่งเสรมิ บทบาทของโรงเรยี นปฏิรูปการเรยี นร้สู ู่ผ้เู รียน. สำนักงานเขตพื้นท่ี
การศกึ ษาประถมศกึ ษาราชบุรี เขต 2.

เฉลมิ ชยั พนั ธเ์ ลศิ . (2549). การพัฒนากระบวนการเสริมสมรรถภาพการชี้แนะของนกั วชิ าการ พีเ่ ล้ยี งโดย
ใช้การเรียนรู้แบบเน้นประสบการณ์ในการอบรมโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์
ดษุ ฎบี ัณฑิต สาขาวิชาหลักสตู รและการสอน คณะครศุ าสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลัย.

ธญั พร ช่นื กล่ิน และวชั รา เล่าเรยี นด.ี (2555). การพฒั นารูปแบบการโค้ชเพื่อพฒั นาสมรรถนะ
การจดั การเรียนรู้ของอาจารยพ์ ยาบาล. วารสารศิลปากรศกึ ษาศาสตร์วจิ ัย. ปที ่ี 4
ฉบบั ที่ 1 (มกราคม-มถิ ุนายน 2555).

นงลักษณ์ วิรชั ชัย. (2542). การวิเคราะห์อภิมาน (Meta-analysis). กรุงเทพมหานคร. นิชินแอดเวอร์
ไทซงิ่ กร๊ปุ .

เบญ็ จมาศ อนิ ทรฤ์ ทธ.ิ์ (2556). การนเิ ทศการศึกษาดว้ ยกระบวนการสอนแนะ (Coaching)
และพี่เลี้ยง (Mentoring) เพือ่ พัฒนาการจดั การเรียนรู้กลมุ่ สาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์
ครผู ้สู อนในโครงการยกระดับคณุ ภาพครทู ้งั ระบบตามศกั ยภาพ โดยใช้กระบวนการสร้าง
ระบบพี่เลี้ยง Coaching and Mentoring. สิงหบ์ ุรี : สำนกั งานเขตพืน้ ท่ีการศึกษา
ประถมศกึ ษาสิงหบ์ ุรี.

มยุรี เจรญิ ศิร.ิ (2558). การศกึ ษารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะการโค้ชและการจดั การเรยี นรู้ของครู ท่ี
ส่งเสรมิ ใหผ้ เู้ รียนเกิดทกั ษะการคดิ แก้ปัญหา. วารสารศกึ ษาศาสตร์ มหาวิทยาลยั ศลิ ปากร ปที ่ี 13
ฉบบั ที่ 1 (มิถนุ ายน 2558-ตุลาคม 2558).

วชริ า เครอื คำอา้ ย และชวลติ ขอดศริ .ิ (2562). การพฒั นารปู แบบการนเิ ทศโดยใช้กระบวนการชีแ้ นะและ
ระบบพ่เี ลี้ยง เพื่อสง่ เสริมศักยภาพการจัดการเรยี นร้ใู นศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน จงั หวดั เชยี งใหม่. วารสารสมาคมนกั วิจัย ปีที่ 24 ฉบบั ท่ี 1
มกราคม – เมษายน 2562.

วิชยั วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2557). การโค้ชเพอ่ื การรคู้ ิด (Cognitive Coaching). กรุงเทพฯ :
จรัลสนทิ วงศก์ ารพิมพ.์

รายงานการศกึ ษาคน้ คว้าอิสระ
เรอื่ ง เทคนคิ การนเิ ทศแบบชี้แนะ (Coaching)

30

บรรณานกุ รม (ต่อ)

วิไลภรณ์ ฤทธิคปุ ต์. (2562). การช้แี นะการสอน : แนวทางการนำไปใช้พัฒนาการจดั การเรยี นการสอน
ของครู. มหาวิทยาลยั ราชภัฏนครราชสมี า. (2556). รายงานการวิจยั การพัฒนาครโู ดยใช้

กระบวนการ
สรา้ งระบบพเี่ ลี้ยง Coaching and Mentoring สานกั งานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศึกษา

นครราชสมี า เขต 1. นครราชสมี า : มหาวทิ ยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

ศริ ิยพาุ พลสู วุ รรณ. (2541) การศึกษาประสทิ ธภิ าพของสอ่ื การสอนโดยการวเิ คราะห์อภิมาน.
ปรญิ ญานิพนธก์ ารศึกษาดุษฎีบัณฑติ บัณฑติ วิทยาลยั มหาวิทยาลยั ศรนี รนิ ทรวโิ รฒ.

สมศักด์ิ จีเ้ พ็ชร์. (2562). การพฒั นาคณุ ภาพครูโดยการนิเทศแบบสอนแนะและการเป็นพเ่ี ลี้ยง โรงเรยี น
มหาสวสั ดิ์ (ราษฏรบ์ ำรุง). คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สภุ าวดี สายรัตน.์ (2554). รายงานผลการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา
ที่ตำ่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน สงั กัดสำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษานครนายก โดยใชก้ ารนิเทศ
แบบสอนแนะ (Coaching). นครนายก : สำนกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษานครนายก.

สุวิมล วอ่ งวาณิช. (2545). เคล็ดลับการทำวิจยั ในชนั้ เรียน. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์อกั ษรไทย.

อรนุช ชมุ นมุ ดวง. (2554). การศกึ ษาผลการพัฒนาครเู กี่ยวกบั การสอนแบบโครงงาน โดยการนเิ ทศ
แบบชี้แนะ (Coaching) สําหรบั ครูกลุมสาระการเรียนร้วู ทิ ยาศาสตร ช้นั มธั ยมศึกษาปที่ 2

โรงเรยี นบานสะเดา (สามคั ควี ิทยา) สังกดั สาํ นักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย
เขต 3. บุรรี มั ย์ : สำนกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาบรุ ีรมั ย เขต 3.

อัญชลี ธรรมะวิธกี ลุ . (2552). ความรเู้ บือ้ งต้นเกยี่ วกับการนิเทศการศึกษา. (ออนไลน์). สืบคน้ เมอ่ื วนั ท่ี 31

มกราคม 2563 จาก https://panchalee.wordpress.com/2009/03/30/supervision.
อารี แกว้ สถิตวงศ์. (2556). รายงานผลการวิจัยการนิเทศพัฒนาครผู ้สู อนกลุ่มสาระการเรยี นรู้

ภาษาตา่ งประเทศ (ภาษาอังกฤษ) ด้วยเทคนคิ Coaching and Mentoring ของโรงเรียน
ในสงั กัดสำนักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศกึ ษาสมุทรปราการ เขต 2. สมทุ รปราการ :
สำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 2.
อทุ ุมพร จามรมาน. (2531). การสงั เคราะหง์ านวจิ ยั : เชงิ ปริมาณ. กรุงเทพมหานคร :
โรงพิมพจ์ ุฬาลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั .

Cooper, H. and Lindsay, J.J. (1997). “Research Systhesis and Meta- Analysis”.

In Bickman, L. and Rog, D.J. (eds.), Handbook of Applied Social Research Methods.
California : Sage Publication.

Glass, G.V., McGaw, B. and Smith, M.L. (1981). Meta-Analysis in Social Research.
Beverly Hills: Sage Publications.

Gottesman, B.L., & Jennings, J.O. (2000). Peer Coching for Educators. Technimic

Publishing Co. Inc.

รายงานการศกึ ษาค้นควา้ อสิ ระ
เร่อื ง เทคนคิ การนิเทศแบบชแ้ี นะ (Coaching)

31

รายงานการศึกษาค้นคว้าอสิ ระ
เรือ่ ง เทคนิคการนเิ ทศแบบช้ีแนะ (Coaching)


Click to View FlipBook Version