The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by laoongdao.soong-nern, 2022-12-01 05:10:02

Important disease of Corn Disease

Important disease of Corn Disease

โรคขา วโพด (Corn Disease) และการปอ งกันกาํ จดั

แผนกโรคพืชวทิ ยา ฝา ยวิจยั และพัฒนา บรษิ ัทศรแดงเมลด็ พนั ธุ
(update:1-12-2022)

https://plantix.net/en/library/plant-diseases/100160/phaeosphaeria-leaf-spot

Are you a plant disease expert?

โรคราน้าํ คา ง (Downy mildew)
สาเหตุ : เช้ือราชั้นต่ํา Peronosclerospora sorghi
ความสาํ คญั / วงจรการเกดิ โรคและการระบาด: อากาศชื้นเย็น ฤดหู นาว ถายทอดโรคผา นทางเมลด็ พนั ธุ

https://www.opsmoac.go.th/nongbualamphu-warning-preview-402991791076

ลกั ษณะอาการ และเชอ้ื สาเหตุ

(Peronosclerospora spp.), Ginting et al., 2020)

สายพันธุเชื้อ

P. sorghi
P. maydis
P. philippinensis

แหลงเชอื้ การแพรร ะบาดของโรครานํา้ คาง

● เชอ้ื โรคติดไปกับเมลด็ พนั ธุ https://www.semanticscholar.org/paper/Downy-mildew-disease-of-pearl-millet-Singh-King/d15b012177fe51
● เชื้อโรคอยูในดนิ โดย a9f6f149f8dbccc46836b4e6d5

เฉพาะแหลงที่เคยมีการ
ระบาด

● เชอื้ โรคกระจายไปกบั น้ํา
อากาศ ปลวิ ไปกับลม

การจัดการโรคราน้าํ คา ง

การใชสารเคมี

การเคลือบ (seed coating) หรือแชเมล็ดขา วโพดดวยสารเคมี เพือ่ กาํ จดั เชื้อทีเ่ มลด็ และปองกันเช้ือในดนิ เขา ทําลายกลา

● ไดเมโทมอรฟ (Dimethomorph) 50% WP กลุม 40

○ ใช 5-10 กรมั สารออกฤทธ์ิตอ เมล็ดหนึง่ กโิ ลกรัม คลกุ หรอื เคลอื บเมลด็ (Rungruang et al., 2010)

การใชส ารเคมีฉีดพน เม่ือตน ขาวโพดอายไุ ดประมาณ 10-14 วันหลงั เพาะ และใชตอ เนอ่ื ง สลับกลุมสารเคมี โดยเฉพาะใน
พ้ืนที่ ทเ่ี คยพบการระบาด

● ไดเมโทมอรฟ (Dimethomorph) 50% WP กลุม 40
● เมทาแลกซลิ 35 (Metalaxyl 35) ชนดิ ดูดซมึ กลุม 4
● ไซมอกซานลิ (cymoxanil) + แมนโคเซบ (mancozeb) กลุม 27 + M3
● อที าบอกแซม (Ethaboxam) ชนดิ ดูดซมึ กลุม 22
● ฟอสอีทิล-อลูมิเนยี ม (fosetyl-aluminium) กลุม 33

การลดแหลงเพาะเช้อื

โรคใบไหมแ ผลใหญ
(Northern Corn Leaf
Blight (NCLB))

สาเหตุ : เชือ้ ราช้ันสงู
Exserohilum turcicum

วงจรการเกดิ โรคและการ
ระบาด: อากาศช้นื เยน็
ฤดหู นาว

โรคใบไหมแผลเลก็ (Southern Corn Leaf Blight (SCLB))
สาเหตุ : เชอ้ื ราชน้ั สงู (Bipolaris maydis)
วงจรการเกิดโรคและการระบาด: อากาศรอนช้นื

โรคราสนิม (Southern rust) Susceptible
สาเหตุ: เชอ้ื ราชั้นสงู Puccinia polysora
ความสําคญั /วงจรการเกิดโรคและการระบาด: รอ นช้นื ฤดูฝน

Resistant

โรคใบดา งจุดเหลอื ง (MCMD)
สาเหตุ: เชื้อไวรัส Maize Chlorotic mottle virus (MCMV)
ความสําคัญ/วงจรการเกิดโรคและการระบาด: ถา ยทอดไดโ ดยวิธกี ล (ดนิ วัสดปุ ลกู แมลงปากกัด และ เพลี้ยไฟ) , เปน
seed-borne และ ถายทอดผา นทางเมล็ดพนั ธุ
โรคจะรุนแรงมากข้ึนหากเขาทาํ ลายรว มกับเชือ้ ไวรัสชนิดอ่ืน เชน SCMV และกอใหเ กดิ อาการรุนแรงใบไหม

Susceptible Resistant Hybrids

Maize lethal necrosis disease (MLND) (credit: Dr.L.M Suresh, CMMYT-Africa)
https://www.cimmyt.org/

โรคใบดางเขยี ว (SCMD)
สาเหตุ: เชื้อไวรสั Sugarcane Mosaic Virus (SCMV)
ความสําคัญ/วงจรการเกิดโรคและการระบาด: ถา ยทอดโดยมีเพลีย้ ออ นเปน พาหะ, เปน
seed-borne และ ถา ยทอดผา นทางเมลด็ พันธุ (seed transmitted)

(Regina et al, 2017)

https://www.researchgate.net/publication/320806435_Reaction_of_sug
arcane_genotypes_to_strains_of_the_Sugarcane_mosaic_virus

โรคลําตน เนา Bacterial Stalk Rot
สาเหตุ: เชื้อแบคทเี รยี Pectobacterium
spp. (syn. Erwinia carotovora )
ความสาํ คัญ/วงจรการเกิดโรคและการ
ระบาด : รอนชื้น อบอาว ตนฤดฝู น

โรคลําตน เนา ฝกเนาแหง Fusarium stalk rot / Ear rot/ Sheath rot
สาเหตุ: เชื้อรา Fusarium miniliform, Fusarium spp.
ความสาํ คญั /วงจรการเกิดโรคและการระบาด : รอนชื้น อบอา ว ฤดูฝน

https://www.nature.com/article
s/s41598-021-82463-2

โรคโคนเนา (Pythium Stalk Rot)
สาเหตุ: เชอ้ื ราตํ่า Pythium spp.
ความสาํ คัญ/วงจรการเกดิ โรคและการระบาด : ฤดฝู น นํ้าขงั แปลง

โรคอุบตั ใิ หมและโรคเกดิ ขนึ้ เปน ครั้งคราว
(New Imerging Diseases in Thailand)

(in-house diagnosis by HGR-EWTH)

โรคใบจดุ เฟอโี อสเฟยเรยี (PHAEOSPHAERIA LEAF SPOT (PLS)
สาเหตุ: เช้อื รา Phaeosphaeria maydis
ความสําคญั /วงจรการเกดิ โรคและการระบาด : รอนชน้ื อบอาว ตน ฤดูฝน, คลา ยอาการ toxic จากสารกําจดั วัชพชื

โรคใบจุดโซเนท ลีฟ สปอต (Zonate Leaf Spot)
สาเหตุ: เชอ้ื รา Gloeocercospora sorghi ( syn.Microdochium sorghi)
ความสําคัญ/วงจรการเกดิ โรคและการระบาด : รอ นช้นื อบอา ว ฤดูฝน คลา ยโรค Anthracnose lef spot

https://www.ipmimages.org/browse/detail.cfm?imgnum=5485056#

โรคใบจดุ แอสโคไชตา ( Ascochyta Leaf spot)
สาเหตุ: เช้อื รา Ascochyta spp.; A. zeae, A. maydis or A. zeina ( Syn.; perfect stage Didymella exitialis )
ความสาํ คัญ/วงจรการเกิดโรคและการระบาด : รอ นชื้น อบอา ว ฤดฝู น

Damage: The Ascochyta fungi seldom purplish to chocolate brown spot
cause extensive damage. It is minor
important, sporadic and rarely severe.
Symptoms:
Individual leaf spots are purplish to
chocolate brown. The lesions may later
enlarge and merge with their centers
fading to tan and finally straw colored as
the girdled leaf dies. Speck-sized,
yellow-brown, rust brown, brick red, or
black fungus fruiting bodies (pycnidia) form
in the bleached areas of dead leaves
Codition:
The Ascochyta fungi attack corn, grasses
during much of the growing season when
humidity and atmospheric moisture are
high or when irrigations and mowing are
frequent.

Location: FLP
Disease: Ascochyta leaf spot
Causal: Ascochyta spp.; A. zeae, A. maydis or A. zeina ( Telemorph ; Didymella exitialis )

Pycnidia Pycnidium & conidia Link Accochyta Leaf Spot

Conidia

โรคขาดธาตุอาหารใน
ขา วโพด

ธาตุอาหารจาํ นวนอยางนอ ย 17 ชนดิ จาํ เปน ตอการเจริญเตบิ โตของพืช

กลุม 1: พชื ไดร บั จากอากาศและนํา้ ไดแก คารบอน (C) ไฮโดรเจน (H) และ ออกซเิ จน (O)

กลุม 2: พชื ไดร บั จากดนิ โดยพืชดดู ซมึ มาใชในรปู ของสารละลาย

กลุม 2.1 ธาตุอาหารหลกั ไดแก ไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรสั (P) และโพแทสเซยี ม (K)

กลุม 2.2 ธาตอุ าหารรอง และธาตุเสริม เชน แคลเซียม(Ca) แมกนีเซยี ม (Mg) โบรอน (B)
เหล็ก(Fe) กาํ มะถนั (S) แมงกานสี (Mn) ทองแดง(Cu) สงั กะส(ี Zn) คลอรนี (Cl) โมลบิ ดินัม(Mo)
นกิ เกิล(Ni) โซเดียม(Na) ซิลิคอน(Si) โคบอลต(Co) ซีลเี นียม(Se) และอลมู เิ นียม(Al)

การขาดธาตุไนโตรเจน (N)

อาการ

● ใบแกแสดงอาการเหลืองกอ น
● เริม่ จากปลายในลา งเหลอื งแลว

ลามไปตามเสนกลางใบ
● อัตราการเจริญเตบิ โตชา
● ตนเลก็ กวาปกติ ขาวโพดแกเ รว็
● เมลด็ เล็ก และจาํ นวนลดลง



อาการขาดธาตไุ นโตรเจนรว มกบั โรคโคนเนาจากเช้อื ราพิเทียม (Pythium spp.)

● มกั พบในพื้นท่ปี ลูกทมี่ นี า้ํ ขัง พบในฤดู
ฝนดนิ มคี วามช้นื สงู ตอ เนอื่ ง และ
สภาพดนิ คอ นขางเปน กรด

● ใบลา งเหลือง สมํ่าเสมอ และตน เห่ยี ว
● อาจพบรากเนา และเสนใยเชอื้ รา

บริเวณโคนตน

การจัดการ
● เตรยี มแปลง ปรับสภาพดินใหเปนกลาง

ดวยปูนขาว ปูนโดโลไมต
● ใชส ารชวี ภณั ฑ เชน ไตรโครเดอรม า
● ใหป ุย N เม่อื พืชเริ่มฟนตัว และดูแล

ตามโปรแกรมการปลูกขา วโพด

การใสป ุย ไนโตรเจน (N) ในขา วโพดตามลักษณะเน้ือดิน

ประเภทดิน 14 หลังปลกู 25-30 วนั หลงั ปลกู 40-45 วนั หลังปลูก
ดนิ เหนยี ว 16-20-0 21-0-0 21-0-0
ดินรว นปนทราย
(50 กก./ไร) (50 กก./ไร) (50 กก./ไร)
ดนิ ทราย
15-15-15 46-0-0 (ยเู รีย) 46-0-0

(25-30 กก./ไร) (25-30 กก./ไร) (25-30 กก./ไร)

21-0-0 21-0-0 หรือ 46-0-0 21-0-0 หรอื 46-0-0

(50 กก./ไร) (80 กก./ไร), (44 กก./ไร) (80 กก./ไร), (44 กก./ไร)

การขาดธาตุฟอสฟอรสั (P)

อาการ

● แสดงอาการท่ใี บแกกอน
● ขอบใบเปน สมี วง
● ระบบรากไมพัฒนา
● หากขาดธาตุกอนออกดอก

ทําใหอ อกดอกชากวาปกติ
● จาํ นวนดอกผลและเมล็ด

นอ ยลง ติดเมลด็ ไมสมบูรณ
เมลด็ ลบี
● ลําตนและฝก โคง งอ

Source:
https://www.powerag.com/deficiencies/phosphorus-deficiency-corn/

การแกไ ข

● ไมควรปลอยใหด นิ แหง หรือมีน้ําขังมากเกินไป ควรมีรองระบายนํ้า
● หลกี เล่ียงการปลูกขาวโพดชว งทมี่ ีอากาศหนาวเย็น
● หลีกเล่ยี งการปลูกขา วโพดในท่ดี ินทราย ดนิ กรดจดั ดา งจดั

การใสป ยุ

● ใสปุยทริปเปล ชปุ เปอรฟ อสเฟต (P2O5)( สตู ร 0-46-0) หรอื สูตร 7-47-4

https://www.doa.go.th/fc/nakhonsawan/?p=3966

การขาดธาตโุ พแทสเซียม (K)

อาการ

● แสดงอาการทีใ่ บแกกอ น
● ขอบใบ และขอบปลายใบไหม

ทาํ ไมจงึ พบอาการนี้ แมจะใหปยุ K แลว ?

เน่อื งจาก ปยุ K ถกู ชะลางไปจากดนิ ไดง า ย เชนเดียวกับ
ปุย N โดยเฉพาะในดินทรายจดั

การใสปุยขาวโพดท่ปี ลูกในดินทรายจดั แนะนาํ ใหแ บง ใส
หลายๆคร้ัง จะทาํ ใหประสิทธิภาพการใชป ุยดกี วา การใส
จาํ นวนมากครั้งเดียว

Source: https://www.powerag.com/deficiencies/potassium-deficiency-corn/

ชนดิ ของปุย โพแทสเซยี ม ปรมิ าณธาตโุ พแทสเซยี ม สูตร หมายเหตุ
ระบุเปน เปอรเ ซนต (%) โดยนํา้ หนักของ
ปยุ โพแทสเซียม 0-0-60 แมป ุย
โพแทสเซียมออกไซด (K2O) 0-0-50 ปยุ หวาน
โพแทสเซยี มคลอไรด (KCl) ผลติ ในรปู ธาตุ
โพแทสเซยี มซัลเฟต (K2SO4) 60
โพแทสเซยี มแมกนีเซยี มซลั เฟต รอง
(K2SO4.2MgSO4) 50
โพแทสเซยี มไนเตรต (KNO3)
โมโนโพแทสเซยี มฟอสเฟต (KH2PO4) 22

46 13-0-46
34 0-52-34

อาการ การขาดธาตแุ มกนเี ซยี ม (Mg)

● แสดงอาการทีใ่ บ อาการขาดธาตฟุ อสฟอรสั และแมกนีเซียม
แกก อน
https://commons.wikimedia.org/wiki/File:Maize_of_magnesium_defici
● เน้อื ใบเหลือง แต ency,_symptoms_on_leaves.jpg

เสน ใบเขียวยังเขยี ว

การขาดธาตุเหลก็ (Fe)

มักพบในดนิ ดา ง ดนิ ปนู ดินแนนทบึ ดนิ ทีม่ ฟี อสฟอรัสมากเกินไป (ฟอสฟอรสั ไปทาํ ใหเ หลก็ ตกตะกอนใน

รูปของเหล็กฟอสเฟต พืชไมสามารถใชป ระโยชนได)

อาการ

● พชื แสดงอาการท่ีใบออ นหรอื ยอดกอน
● เน้ือใบเหลืองซดี เปน แถบขนานกับเสนใบทย่ี ังเขียวปกติ
● ถาขาดรนุ แรงจะเหน็ เปน สขี าวซีดทงั้ ตน

การแกไ ข https://extension.colostate.edu/topic-areas/agriculture/zi
nc-and-iron-deficiencies-0-545/
● แกทาํ ใหดินรว นซยุ
● ฉีดพน สารประกอบเหล็กฟอสเฟต หรือเหลก็ คเี ลตในรปู

ของ Fe-EDTA

หนอนกระทูขา วโพดลายจดุ (Fall armyworm)

Reference: https://www.doa.go.th/leka/?p=2882
https://www.kaset1009.com/th9

วงจรชีวิต และการเขาทาํ ลาย

หนอนกระทขู าวโพดลายจดุ (Fall armyworm)

ช่ือวิทยาศาสตร : Spodoptera frugiperda
รูปรางลักษณะและวงจรชีวติ : วงจรชวี ิตของหนอนกระทูข า วโพดลายจุด ใชเวลา 30-40 วัน
เม่ือผสมพันธแุ ลว ผเี ส้ือเพศเมยี จะวางไขใ นเวลากลางคนื โดยวางไขเ ปนกลมุ ประมาณ
100-200 ฟอง มขี นปกคลุมไข ผีเสื้อเพศเมียหนง่ึ ตัววางไขไดป ระมาณ 1,500-2,000 ฟอง
ระยะไข 2-3 วัน หนอนมี 6 วยั ระยะหนอน 14-22 วัน หนอนทีโ่ ตเตม็ ทีม่ ีขนาดลาํ ตวั ยาว
3.2-4.0 เซนติเมตร จะทง้ิ ตัวลงดนิ เพอื่ เขา ดักแด ระยะดักแด 7-13 วัน จงึ เปนตัวเตม็ วยั มี
ชวี ติ 10-21 วนั
การเขาทาํ ลาย : ตัวหนอนจะกดั กินใบ ฝก เกสรตวั ผู ไหม และเจาะเปลอื กหมุ ฝกเขา ไปกดั กนิ
ภายในฝก
ลกั ษณะการเขาทําลาย : ผเี สื้อหนอนกระทูขาวโพดลายจดุ เร่มิ วางไขบนตน ขาวโพด ต้ังแต
ขา วโพดงอก อายุ 3-4 วัน หลังจากฟก จากไข หนอนขนาดเล็กจะรวมกลุมกดั กินผวิ ใบ เรม่ิ
เหน็ รอยทําลายสขี าวทผี่ วิ ใบเม่ือขา วโพดอายุ 6-7 วัน (10-11 วันหลังปลกู ) จนกระท่งั ออกฝก
โดยกัดกนิ ยอดและใบขา วโพด ทาํ ใหตน ออนตาย ตนไมเจริญเติบโต ฝก ไมสมบูรณ
พืชอาศัย:

● ขาวโพด
● ขา ว
● ขาวฟา ง
● ออย
● พืชผัก และอน่ื ๆ

การควบคุมและจัดการหนอนกระทลู ายจดุ

การคลกุ เมลด็ กอ นปลกู
● คลุกเมล็ดดว ยสารไซแอนทรานลิ ิโพรล 20% SC (IRAC กลุม 28)

อัตรา 20 ซซี ีเมลด็ พนั ธุ 1 กิโลกรมั

การปอ งกันดวยสารชีวภัณฑ กรณยี งั ไมพ บการระบาด หรอื พบหนอนขนาดเล็กทีเ่ พ่ิงฟก จากไข
● เช้ือแบคทเี รียบาซิลลสั ทรู งิ จิเอนซสิ สายพันธไุ อซาไว หรือ สายพนั ธุเคอรสตาก้ี ชนดิ ผงหรือน้ํา อตั รา
80 กรมั หรือมลิ ลิลติ ร ตอ น้ํา 20 ลิตร พนทกุ 4-7 วนั (IRAC กลุม 11A)
● เชอื้ ไวรัส NPV

ชวงทต่ี อ งมกี ารปอ งกนั กาํ จัดหนอนกระทูขา วโพด
คือระยะต้งั แตขาวโพดงอกจนถงึ อายปุ ระมาณ
30-43 วนั เนอื่ งจากเปนชว งทีม่ กี ารระบาดสูงทีส่ ุด
และเปนชว งทขี่ า วโพดฟน ตัวได

ขอมูล : กรมวชิ าการเกษตร

การควบคมุ และจดั การหนอนกระทลู ายจุด

การใชส ารเคมีพนทางใบ กรณีพบการระบาด

- อิมาเมกตินเบนโซเอท 1.92% EC อัตรา 20 มลิ ลิลิตร ตอ นา้ํ 20 ลติ ร (กลมุ 6)
- อมิ าเมกตินเบนโซเอท 5% WG อัตรา 10 กรมั ตอนาํ้ 20 ลิตร (กลุม 6)

- สไปนโี ทแรม 12% SC อัตรา 20 มลิ ลิลติ ร ตอนํา้ 20 ลิตร (กลมุ 5)
- สไปนีโทแรม 25% WG อตั รา 10 กรัม ตอ นํา้ 20 ลิตร (กลมุ 5)

- คลอรฟ น าเพอร 10% SC อตั รา 30 มิลลิลิตร ตอนาํ้ 20 ลิตร (กลมุ 13)
- อินดอกซาคารบ 15% SC อตั รา 30 มลิ ลิลติ ร ตอน้ํา 20 ลติ ร (กลุม 22)
- เมทอกซีฟโ นไซด + สารสไปนโี ทแรม 30% + 6% SC อตั รา 30 มิลลลิ ติ ร/นํ้า 20 ลติ ร (กลุม 18+5)

- คลอแรนทรานิลโิ พรล 5.17% SC อตั รา 30 มลิ ลลิ ิตร/น้าํ 20 ลติ ร (กลมุ 28)
- ฟลเู บนไดอะไมด 20% WG อัตรา 10 กรมั ตอ นา้ํ 20 ลติ ร (กลมุ 28)

!!! ใหพ น สารฆาแมลงทุก 7 วนั ตดิ ตอ กัน 2-4 คร้ัง และ
ตองสลับกลมุ สารทุก 30 วัน เพอื่ ลดความตา นทานสาร
ปอ งกนั กําจดั ศัตรูพชื

ขอมลู : กรมวชิ าการเกษตร

LINK

https://www.doa.go.th/fc/nakhonsawan/?p=1332#:~:t
ext=%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0
%B8%99%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0
%E0%B8%97%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8
%82%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0
%B9%82%E0%B8%9E%E0%B8%94%E0%B8%A5
%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%88%E0%B8
%B8%E0%B8%94%20(Fall%20armyworm%20%3A
%20Spodoptera%20frugiperda%20JE%20Smith,%E
0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%B4%E0%B9%88
%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%9A%E0%B8
%A3%E0%B8%B0%E0%B8%9A%E0%B8%B2%E0
%B8%94%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%9B
%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8
%97%E0%B8%A8%E0%B9%84%E0%B8%97%E0
%B8%A2

https://www.doa.go.th/leka/?p=2882


Click to View FlipBook Version