The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

๕.๒ เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการประเมิน
๑) แบบประเมินใบงาน
๒) แบบสงั เกตพฤติกรรมการท�ำ งานของผ้เู รียนเปน็ รายบคุ คล
๕.๓ เกณฑ์การตดั สนิ
นักเรียนได้คะแนนระดบั ดีขน้ึ ไป ถือว่า ผ่าน
๖. บันทึกหลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

44 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๗. ภาคผนวก

ใบงาน
เร่ือง ทำ�การบา้ น/ชน้ิ งาน มีทงั้ ข้อดี และข้อเสยี

ชอื่ ....................................................สกลุ ....................................................ช้ัน................ เลขท…ี่ …..
โรงเรยี น ....................................................................................

ค�ำ ช้ีแจง ใหน้ กั เรียนเขยี นผังมโนทศั น์ผลดีและผลเสยี เกี่ยวกับการท�ำ การบ้าน/ช้นิ งาน

ผลดี
ท�ำ การบ้าน/ชน้ิ งานเอง

ผลเสยี
ไมท่ �ำ การบา้ น/ชน้ิ งานเอง

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ 45

แบบประเมินใบงาน

เร่อื ง .......................................................................... ชนั้ …….............
วันท่ี.....................เดอื น........................................................พ.ศ. ..................................

ที่ ประเด็นคะแนน ความต้งั ใจ ความ เสร็จตาม รวม ระดับ
ชื่อ - สกุล ปฏบิ ัติงาน ถูกตอ้ ง กำ�หนด ๑๕ คุณภาพ
๕ คะแนน ๕ คะแนน ๕ คะแนน คะแนน

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

๑๐.

รวม

เกณฑ์การประเมนิ และระดบั คณุ ภาพ
คะแนน ๑๓ - ๑๕ คะแนน หมายถึง ดมี าก
คะแนน ๙ - ๑๒ คะแนน หมายถงึ ดี
คะแนน ๕ - ๘ คะแนน หมายถงึ พอใช้
คะแนน ๑ - ๔ คะแนน หมายถงึ ปรบั ปรุง

จ�ำ นวนคนที่ผา่ นระดบั คณุ ภาพ......................คน รอ้ ยละ...............
จำ�นวนคนทีไ่ ม่ผา่ นระดบั คุณภาพ..................คน รอ้ ยละ...............

ลงชือ่ ................................................ผปู้ ระเมนิ
(...............................................)

46 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งานของผู้เรียนเปน็ รายบคุ คล

ที่ พฤตกิ รรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ฟัง การท�ำ งาน หมายเหตุ
ความสนใจ ความคิดเหน็ คำ�ถาม ความคดิ เห็น ทไ่ี ดร้ บั
มอบหมาย

ชื่อ-สกุล ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

เกณฑก์ ารวดั ผล
ให้คะแนนระดบั คณุ ภาพของแตล่ ะกล่มุ ดงั นี้
ดมี าก = ๔ สนใจฟงั ไมห่ ลับ ไม่พูดคุยในชัน้ มีค�ำ ถามที่ดี ตอบค�ำ ถามถกู ต้อง
ทำ�งานส่งครบตรงเวลา
ดี = ๓ การแสดงออกอยู่ในเกณฑป์ ระมาณ ๗๐%
ปานกลาง = ๒ การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ ๕๐%
ปรับปรุง = ๑ เข้าชั้นเรียน แตก่ ารแสดงออกน้อยมาก สง่ งานไมค่ รบ ไม่ตรงเวลา

(ลงชือ่ ) .......................................................ผูส้ งั เกต
(.....................................................)
.............../................./....................

ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 47

แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๒ ช่วั โมง

หน่วยที่ ๒ ชือ่ หนว่ ย ความละอายและความไม่ทนต่อการทจุ รติ
ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒
แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ ๒ เรื่อง การลงโทษทางสงั คมในระดบั ประเทศ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั ความละอาย และความไม่ทนตอ่ การทุจรติ
๑.๒ ปฏบิ ัตติ นเป็นผูล้ ะอาย และไมท่ นต่อการทุจริตทุกรูปแบบ
๑.๓ ตระหนกั และเห็นความส�ำ คญั ของการต่อต้าน และปอ้ งกันการทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรียนสามารถ
๒.๑ นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเข้าใจเกยี่ วกบั การลงโทษทางสังคม
๒.๒ นกั เรียนสามารถคดิ วิเคราะหถ์ ึงผลที่ไดร้ บั จากการลงโทษทางสงั คมในระดบั ประเทศ
๒.๓ นักเรียนตระหนัก และเหน็ ความส�ำ คญั ของการลงโทษทางสังคม
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การลงโทษทางสงั คมในระดบั ประเทศ
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
๑) ความสามารถในการคดิ
- ทกั ษะการสังเกต
- ทักษะการระบุ
๒) ความสามารถในการส่อื สาร
(ฟงั พูด อา่ น เขียน)
๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
(วเิ คราะห์ จดั กลมุ่ สรปุ )
๓.๓ คุณลักษณะทพี่ ึงประสงค์/ค่านิยม
๑) ซื่อสัตย์ เสยี สละ อดทน มีอดุ มการณใ์ นสิ่งทด่ี ีงามเพอื่ สว่ นรวม
๒) มรี ะเบยี บวนิ ยั เคารพกฎหมาย ผู้นอ้ ยรู้จกั การเคารพผู้ใหญ่
๓) มคี วามเขม้ แขง็ ทง้ั รา่ งกาย และจติ ใจไมย่ อมแพต้ อ่ อ�ำนาจฝา่ ยตำ�่ หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย
เกรงกลัวตอ่ บาปตามหลักของศาสนา

48 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๔. กิจกรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้
ชัว่ โมงท่ี ๑ - ๒
๑) ครสู อบถามนกั เรยี นด้วยประเด็นคำ�ถาม สังคมคืออะไร แลว้ บันทึกคำ�ตอบของนักเรียน
บนกระดานพรอ้ มท้งั อธิบายความหมาย
๒) สนทนา อภปิ ราย รว่ มกนั เกย่ี วกบั หากสงั คมไมป่ ฏบิ ตั ติ ามปญั หาทางสงั คม จะมแี นวทาง
แก้ไขเพอ่ื การควบคุมและสรา้ งบทลงโทษทางสังคม
๓) สนทนา อภิปราย ในประเด็น การลงโทษทางสังคมในระดับประเทศกระทำ�ด้วย
วธิ กี ารใดบา้ ง
๔) ครูกระตุ้นให้นักเรียนเกิดตระหนักและเห็นความสำ�คัญและผลที่ได้รับจากการลงโทษ
ทางสังคม
๕) ให้นักเรียนแต่งคำ�ขวญั รณรงค์ เร่อื ง บทลงโทษทางสงั คม
๔.๒ สือ่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
๑) กระดาษชารต์
๒) สี
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมิน
๑) การแต่งค�ำ ขวัญ
๒) สังเกตพฤติกรรมการท�ำ งานของผ้เู รยี นเปน็ รายบคุ คล
๕.๒ เครอื่ งมอื ที่ใช้ในการประเมนิ
๑) แบบประเมนิ การแต่งคำ�ขวญั
๒) แบบสังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานของผเู้ รยี นเปน็ รายบคุ คล
๕.๓ เกณฑก์ ารตดิ สนิ
นกั เรยี นไดร้ ะดับดขี นึ้ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บันทึกหลังสอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 49

๗. ภาคผนวก

แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำ งานของผเู้ รียนเป็นรายบคุ คล

ท่ี พฤติกรรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ฟงั การท�ำ งาน หมายเหตุ
ความสนใจ ความคิดเห็น ค�ำ ถาม ความคิดเหน็ ทไ่ี ดร้ บั
มอบหมาย

ชือ่ -สกลุ ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

เกณฑก์ ารวัดผล
ใหค้ ะแนนระดบั คณุ ภาพของแต่ละกล่มุ ดังนี้
ดีมาก = ๔ สนใจฟงั ไม่หลบั ไมพ่ ูดคยุ ในช้นั มีคำ�ถามทด่ี ี ตอบคำ�ถามถกู ตอ้ ง
ทำ�งานสง่ ครบตรงเวลา
ดี = ๓ การแสดงออกอยใู่ นเกณฑป์ ระมาณ ๗๐%
ปานกลาง = ๒ การแสดงออกอย่ใู นเกณฑป์ ระมาณ ๕๐%
ปรับปรุง = ๑ เข้าชัน้ เรยี น แต่การแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไมค่ รบ ไม่ตรงเวลา

ลงชือ่ ................................................ผูป้ ระเมนิ
(..............................................)
.............../................./..............

50 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”

แบบประเมินการแต่งค�ำ ขวญั

ค�ำ ชี้แจง ใสเ่ คร่อื งหมาย  ตรงกบั พฤตกิ รรมของนักเรยี นตามรายการทส่ี งั เกต

รายการประเมิน

ช่อื -สกลุ เน้อื หาสาระ การใช้ อักขรวิธี ความคดิ ความสะอาด รวมคะแนน
๓ คะแนน ภาษา ๓ คะแนน สรา้ งสรรค์ เรียบรอ้ ย ๑๕ คะแนน
๓ คะแนน ๓ คะแนน ๓ คะแนน

รวม

ระดบั ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 51

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ประเดน็ การประเมนิ พฤตกิ รรม/ระดับคะแนน
เนอื้ หาสาระ
การใชภ้ าษา ๓๒๑

อักขรวธิ ี ถกู ต้องชดั เจน ถูกต้องชดั เจน ไมช่ ัดเจนและน่าสนใจ
ความคิดสรา้ งสรรค์ นา่ สนใจมาก นา่ สนใจพอใช้

ความสะอาดเรียบร้อย ใชภ้ าษาถอ้ ยค�ำ ได้ถูกต้อง ใชภ้ าษาถอ้ ยค�ำ ไดถ้ ูกตอ้ ง ใชภ้ าษาถ้อยคำ�บกพร่อง
ตามหลกั วชิ าการ แต่ไม่เปน็ ไปตามหลัก อยบู่ า้ ง
วชิ าการ

ถกู ต้องตามอักขรวิธที กุ คำ� ไมถ่ กู ต้องตามอกั ขรวธิ ี ไมถ่ ูกต้องตามอักขรวธิ ี
๑ - ๒ คำ� ๓ ค�ำ ข้ึนไป

มคี วามคดิ สรา้ งสรรค์ มีความคิดสรา้ งสรรค์ มกี ารปรับปรงุ การอ่าน
ในการอา่ นที่แปลกใหม่ ในการอ่านแตกตา่ งจาก จากการอา่ นทั่วไป
ไม่เหมือนใคร คนทัว่ ไป และสร้างสรรคเ์ พมิ่ เตมิ
ใหด้ ขี ้นึ เลก็ นอ้ ย

สะอาดไม่มีรอยขดู ขีด สะอาดไมม่ รี อยขีดฆา่ สะอาดไมม่ รี อยขดี ฆา่
ฆ่า และรอบคอบ มีรอยลบ ๑ - ๒ แห่ง มีรอยมากกว่า ๒ แห่ง

52 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกนั การทจุ ริต”

แผนการจดั การเรยี นรู้
หน่วยท่ี ๒ ชอ่ื หนว่ ย ความละอายและความไมท่ นต่อทจุ รติ
ชนั้ มัธยมศึกษาปที ี่ ๒
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๓ เร่อื ง กรณตี ัวอย่างเกย่ี วกบั ความละอาย เวลา ๔ ช่ัวโมง
และความไมท่ นต่อการทจุ รติ ของกลุ่มประเทศอาเซียน

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับความละอาย และความไม่ทนตอ่ การทจุ ริต
๑.๒ ปฏบิ ัติตนเปน็ ผู้ละอาย และไม่ทนตอ่ การทุจรติ ทุกรปู แบบ
๑.๓ ตระหนัก และเห็นความสำ�คญั ของการตอ่ ตา้ น และปอ้ งกันการทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นกั เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจเกี่ยวกับความไม่ทน และความละอายตอ่ การทุจริต
๒.๒ นกั เรยี นสามารถคดิ วเิ คราะหถ์ งึ ผลเสยี จากการทจุ รติ จากกรณตี วั อยา่ งเกย่ี วกบั ความละอาย
และความไม่ทนต่อการทุจรติ ของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น
๒.๓ นักเรียนตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจริตในระดับ
กลุม่ ประเทศอาเซยี น
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
กรณีตวั อย่างเกยี่ วกับความละอายและความไม่ทนตอ่ การทุจรติ ของกลมุ่ ประเทศอาเซยี น
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) ความสามารถในการคดิ
๑. ทกั ษะการสังเกต
๒. ทักษะการระบุ
๒) ความสามารถในการสื่อสาร
(ฟัง พูด อ่าน เขียน)
๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ
(วเิ คราะห์ จดั กล่มุ สรปุ )
๓.๓ คณุ ลักษณะท่ีพงึ ประสงค์/คา่ นิยม
๑) ใฝห่ าความรู้ หม่ันศกึ ษาเลา่ เรียนทั้งทางตรง และทางอ้อม
๒) มีสตริ ้ตู วั รูค้ ดิ รทู้ �ำ รู้ปฏิบตั ติ ามพระราชด�ำ รสั ของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอย่หู วั
๓) มคี วามเขม้ แขง็ ทงั้ รา่ งกายและจติ ใจไมย่ อมแพต้ อ่ อ�ำนาจฝา่ ยตำ�่ หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย
เกรงกลัวตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา

ระดบั ช้ันมัธยมศกึ ษาปีที่ ๒ 53

๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขนั้ ตอนการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ ๑ - ๒
๑) ชมคลปิ วดี โี อ เรอ่ื ง จบั เดก็ ใชอ้ ปุ กรณโ์ กงขอ้ สอบแพทย์ มหาวทิ ยาลยั รงั สติ | ๐๙-๐๕-๕๙ |
ชัดทันข่าว ฮอลิเดย์ | ThairathTV โดยท่ีมาของคลิปวีดีโอ https://www.youtube.com/
watch?v=xrUiXZ๖jhVg
๒) สนทนา อภปิ ราย รว่ มกนั หลงั รบั ชมคลปิ วดี โี อ เรอื่ ง จบั เดก็ ใชอ้ ปุ กรณโ์ กงขอ้ สอบแพทย์
มหาวิทยาลัยรังสิต โดยช้ีให้เห็นถึงผลเสียท่ีเกิดจากการทุจริตในการสอบและความรับผิดชอบที่ต้องรับ
จากผลของการกระทำ�ผิดจากการทุจริตในการสอบ
๓) สนทนา อภปิ ราย เพือ่ ชี้ใหน้ กั เรยี นได้ เลง็ เห็น และตระหนกั ถึงการทุจรติ เป็นสง่ิ ท่ไี มด่ ี
ไมจ่ �ำ เป็นต้องลอกขอ้ สอบ แตม่ วี ิธกี ารทจี่ ะสอบใหไ้ ดค้ ะแนนหลายวธิ ี โดยอาจใชป้ ระเดน็ ตอ่ ไปนี้
 นกั เรียนมคี วามคดิ เหน็ อยา่ งไรกบั เหตกุ ารณ์การลอกขอ้ สอบ
 นักเรียนคิดว่าสาเหตุใดบ้างที่ทำ�ให้ลอกข้อสอบ และจะแก้ปัญหาน้ันอย่างไร
(ครพู ยายามช้ีใหเ้ ห็นว่าการลอกข้อสอบไมด่ ี)
๔) แจกใบงาน เร่อื ง ร้สู ึกอย่างไรกับขา่ วน้ี
ช่วั โมงท่ี ๓ - ๔
๕) สนทนา อภิปราย โดยครูเป็นผู้ท่ีกระตุ้นให้นักเรียนเกิดตระหนักและเห็นความสำ�คัญ
ของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทจุ รติ โดยการเรม่ิ จากการไม่ลอกข้อสอบ
๖) ครูเชื่อมโยงโดยนำ�บทความทางวิชาการ ปัญหาการคอรัปชันของกลุ่มประเทศอาเซียน
(สำ�นกั วชิ าการส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาผแู้ ทนราษฎร http://wwwparliament.go.th
๗) กระตุ้นให้นักเรียนเกิดความตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการต่อต้านและป้องกัน
การทจุ รติ
๔.๒ ส่อื การเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้
๑) คลปิ วีดีโอ เรือ่ ง จับเด็กใช้อปุ กรณ์โกงขอ้ สอบแพทย์ ม.รังสติ | ๐๙-๐๕-๕๙ | ชดั ทันขา่ ว
ฮอลเิ ดย์ | ThairathTV ที่มาของคลิปวดี โี อ https://www.youtube.com/watch?v=xrUiXZ๖jhVg
๒) ใบงาน เร่อื ง รสู้ ึกอย่างไรกับข่าวน้ี
๓) กระดาษชาร์ต
๔) บทความทางวิชาการ ปัญหาการคอรัปชันของกลุ่มประเทศอาเซียน (สำ�นักวิชาการ
ส�ำ นกั งานเลขาธิการสภาผ้แู ทนราษฎร http://wwwparliament.go.th
54 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) สงั เกตพฤติกรรมการทำ�งานของผู้เรยี นเป็นรายบคุ คล
๒) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกลุม่
๓) การน�ำ เสนอผลงาน
๔) ใบงาน เรือ่ ง รู้สึกอยา่ งไรกับข่าวนี้
๕.๒ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการประเมิน
๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานของผู้เรียนเปน็ รายบุคคล
๒) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกล่มุ
๓) แบบบนั ทกึ การนำ�เสนอผลงาน
๔) แบบประเมนิ ใบงาน
๕.๓ เกณฑก์ ารตดิ สิน
นกั เรยี นไดร้ ะดับดีขึ้นไปถอื ว่า ผ่าน
๖. บนั ทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครูผู้สอน
(...............................................)

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 55

๗. ภาคผนวก

แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานของผ้เู รียนเปน็ รายบุคคล

ท่ี พฤติกรรม การแสดง การตอบ การยอมรบั ฟงั การทำ�งาน หมายเหตุ
ความสนใจ ความคิดเห็น ค�ำ ถาม ความคิดเห็น ทไ่ี ดร้ บั
มอบหมาย

ชอ่ื -สกุล ๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑๔๓๒๑

เกณฑก์ ารวัดผล
ดีมาก = ๔ สนใจฟัง ไมห่ ลบั ไมพ่ ดู คยุ ในชนั้ มีค�ำ ถามทดี่ ี ตอบคำ�ถามถูกต้อง
ทำ�งานส่งครบตรงเวลา
ดี = ๓ การแสดงออกอยูใ่ นเกณฑ์ประมาณ ๗๐%
ปานกลาง = ๒ การแสดงออกอยู่ในเกณฑ์ประมาณ ๕๐%
ปรับปรงุ = ๑ เขา้ ชัน้ เรียน แตก่ ารแสดงออกนอ้ ยมาก ส่งงานไม่ครบ ไม่ตรงเวลา

ลงช่ือ................................................ผปู้ ระเมนิ
(..............................................)
.............../................./..............

56 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”

แบบประเมินพฤติกรรมการทำ�งานกลมุ่

กลมุ่ ..........................................................................................................
สมาชิกในกลมุ่ ๑. ......................................................................
๒. ......................................................................
๓. ......................................................................
๔. ......................................................................
๕. ......................................................................
๖. ......................................................................

ค�ำ ช้แี จง ใหน้ กั เรยี นใสเ่ ครื่องหมาย  ในช่องทต่ี รงกับความเปน็ จรงิ

พฤติกรรมทีส่ งั เกต ๓ คะแนน ๑

๑. มีสว่ นรว่ มในการแสดงความคดิ เหน็
๒. มีความกระตอื รือร้นในการท�ำ งาน
๓. รับผิดชอบในงานทีไ่ ด้รบั มอบหมาย
๔. มีขนั้ ตอนในการท�ำ งานอยา่ งเปน็ ระบบ
๕. ใช้เวลาในการท�ำ งานอยา่ งเหมาะสม

รวม

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมท่ีทำ�เป็นประจ�ำ ให้ ๓ คะแนน
พฤติกรรมที่ท�ำ เป็นบางครงั้ ให้ ๒ คะแนน
พฤตกิ รรมทท่ี ำ�น้อยครั้ง ให้ ๑ คะแนน

เกณฑ์การใหค้ ะแนน

ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ

๑๓ - ๑๕ ดี
๘ - ๑๒ ปานกลาง
๕-๗ ปรบั ปรุง

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ 57

ใบงาน
เร่ือง รสู้ ึกอย่างไรกับภาพต่อไปนี้

ช่อื ....................................................สกุล....................................................ชั้น................เลขท.่ี .........
โรงเรยี น ...........................................................................................

ค�ำ ช้แี จง ใหน้ ักเรียนดภู าพและวเิ คราะห์ว่าภาพดงั กลา่ วเกิดผลเสียอย่างไร มีวธิ ีการแกไ้ ขอย่างไร

ผลเสีย คือ ..............................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
วธิ ีการแก้ไข
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
ผลเสีย คอื ..............................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
วธิ กี ารแกไ้ ข
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................
ผลเสยี คือ ..............................................................
................................................................................
................................................................................
................................................................................
วธิ ีการแกไ้ ข
...............................................................................
...............................................................................
...............................................................................

58 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

ปญั หาการคอรร์ ปั ชนั ของกลุม่ ประเทศอาเซียน

โชคสขุ กรกิตติชัย
วิทยากรช�ำ นาญการพิเศษ
กลมุ่ งานบริการวชิ าการ ๑ ส�ำ นักวิชาการ
ปัญหาการคอร์รัปชันถือเป็นปัญหาหลักท่ีเป็นอุปสรรคส�ำคัญต่อการพัฒนาของประเทศสมาชิก
ส่วนใหญ่ในอาเซียน จากผลการจัดอันดับของหน่วยงาน Transparency International (TI) ซึ่งเป็น
หนว่ ยงานอสิ ระระหวา่ งประเทศทดี่ �ำเนนิ การประเมนิ ผลการรบั รกู้ ารคอรร์ ปั ชนั ของประเทศตา่ ง ๆ ทวั่ โลก
อย่างต่อเน่ืองโดยได้มีการจัดท�ำดัชนีการรับรู้การคอร์รัปชัน (Corruption Perception Index : CPI)
ซงึ่ เปน็ ดชั นที ไ่ี ดร้ บั การยอมรบั จากทวั่ โลกวา่ สามารถใชเ้ ปรยี บเทยี บระดบั การรบั รกู้ ารคอรร์ ปั ชนั ของภาครฐั
ในประเทศต่าง ๆ ไดเ้ ปน็ อย่างดี โดยเมอ่ื วนั ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๕๙ ที่ผา่ นมาหน่วยงาน Transparency
International (TI) ได้มีการเปิดเผยผลดัชนีการรับรู้การคอร์รัปชันที่กรุงเบอร์ลิน ประเทศสาธารณรัฐ
เยอรมนี ซ่งึ เป็นการน�ำเสนอผลการวดั ดัชนี และการจัดอนั ดบั ของปี ๒๕๕๘ (ค.ศ. ๒๐๑๕) ครั้งที่ ๒๑
โดยเป็นการน�ำเสนอดัชนีและอันดับของประเทศท่ีเข้าร่วมการประเมินจ�ำนวน ๑๖๘ ประเทศท่ัวโลก
ซึ่งวิธีการวัดระดับการรับรู้การคอร์รัปชันของภาครัฐในแต่ละประเทศนั้น น�ำมาจากผลการส�ำรวจ
ซึ่งประกอบไปด้วยการประเมินจากผู้เชี่ยวชาญและความคิดเห็นของนักธุรกิจ โดยค่าดัชนีนั้น
จะเริ่มต้ังแต่ ๐ แสดงถึงระดับการรับรู้การคอร์รัปชันท่ีสูงท่ีสุดจนถึง ๑๐๐ แสดงถึงระดับการรับรู้
การคอรร์ ัปชันทตี่ �่ำทสี่ ุด
จากภาพรวมของผลการศกึ ษา พบวา่ ประเทศสว่ นใหญ่ ๒ ใน ๓ ของโลก มดี ชั นกี ารรบั รทู้ ตี่ ำ่� กวา่ ๕๐
ซ่ึงสามารถสะท้อนถึงปัญหาการคอร์รัปชันท่ียังคงมีอยู่ท่ัวโลก การจะต่อสู้กับปัญหาการคอร์รัปชัน
ได้นั้น จ�ำเป็นต้องอาศัยความร่วมมือจากทุกฝ่าย ส�ำหรับประเทศในกลุ่มอาเซียนน้ันก็มีปัญหาในเร่ือง
การคอรร์ ปั ชนั ซงึ่ เปน็ อปุ สรรคส�ำคญั ตอ่ การพฒั นาประเทศ โดยดไู ดจ้ ากผลดชั นกี ารรบั รกู้ ารคอรร์ ปั ชนั ของ
ประเทศในกลมุ่ อาเซยี น (ยกเวน้ ประเทศบรไู นดารสุ ซาลาม ซง่ึ ไมไ่ ดเ้ ขา้ รว่ มการประเมนิ ) ดงั ผลการศกึ ษา
ทไ่ี ด้แสดงในตาราง ต่อไปนี้

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ 59

พ.ศ. ๒๕๕๗ (ค.ศ. ๒๐๑๔) พ.ศ. ๒๕๕๘ (ค.ศ. ๒๐๑๕)

อนั ดับ ประเทศ ดัชนี อันดบั ประเทศ ดัชนี
ของประเทศ (๑๐๐) ของประเทศ (๑๐๐)
(๑๗๕ ประเทศ) (๑๖๘ ประเทศ)
๘๕
๗ สิงคโปร์ ๘๔ ๘ สิงคโปร์ ๕๐
๓๘
๕๐ มาเลเซีย ๕๒ ๕๔ มาเลเซีย ๓๖
๓๕
๘๕ ฟิลปิ ปนิ ส์ ๓๘ ๗๖ ไทย ๓๑
๒๕
๘๕ ไทย ๓๘ ๘๘ อินโดนีเซยี ๒๒
๒๑
๑๐๗ อนิ โดนเี ซยี ๓๔ ๙๕ ฟิลิปปินส์

๑๑๙ เวยี ดนาม ๓๑ ๑๑๒ เวียดนาม

๑๔๕ ลาว ๒๕ ๑๓๙ ลาว

๑๕๖ กัมพูชา ๒๑ ๑๔๗ เมียนมา (พม่า)

๑๕๖ เมียนมา (พมา่ ) ๒๑ ๑๕๐ กมั พชู า

แหล่งท่ีมา : องค์กรโปร่งใสนานาชาติ (ค.ศ. ๒๐๑๔ และ ค.ศ. ๒๐๑๕)

จากตาราง จะพบวา่ ประเทศสว่ นใหญใ่ นอาเซยี นมคี า่ ดชั นอี ยใู่ นระดบั ตำ่� โดยตำ่� กวา่ ๕๐ ทกุ ประเทศ
ยกเว้นประเทศสงิ คโปร์ และประเทศมาเลเซีย โดยประเทศสิงคโปรไ์ ด้รับการจัดอนั ดบั ที่ ๘ ซง่ึ ถือวา่ เปน็
อนั ดบั ตน้ ๆ ของการประเมนิ ขณะทป่ี ระเทศมาเลเซยี อยทู่ อ่ี นั ดบั ท่ี ๕๔ ตามมาดว้ ยประเทศไทย ประเทศ
อินโดนีเซยี ประเทศฟลิ ิปปนิ ส์ ซึง่ อยูท่ ่ีอนั ดบั ๗๖, ๘๘ และ ๙๕ ตามล�ำดบั ขณะทปี่ ระเทศเวยี ดนาม
ประเทศลาว ประเทศเมยี นมา (พมา่ ) และประเทศกมั พชู า มคี า่ ดชั นที ต่ี ำ่� มาก โดยไดอ้ นั ดบั ที่ ๑๑๒, ๑๓๙,
๑๔๗ และ ๑๕๐ ตามล�ำดบั (ศศวิ ิมล วรณุ ศิริ ปวณี วัฒน์, ๒๕๕๙) ซง่ึ สะท้อนถึงปัญหาการคอรร์ ัปชัน
ท่ยี งั คงอยู่ในระดับสงู
ในกลุ่มประเทศ CLMV (คือ กลุ่มประเทศที่มีศักยภาพดี ประกอบด้วย ประเทศกัมพูชา
ประเทศลาว ประเทศเมียนมา (พม่า) และประเทศเวียดนาม ซึ่งเป็นประเทศในกลุ่ม ASEAN ที่มี
แนวโน้มเศรษฐกิจโตต่อเน่ือง และยังมีแร่ธาตุทรัพยากรอุดมสมบูรณ์ และยังมีค่าจ้างแรงงานไม่สูง
โดยกลมุ่ ประเทศ CLMV จงึ เปน็ ประเทศทมี่ ีคนสนใจเขา้ ไปลงทุนการผลิต และการตลาด) (กลุ่มประเทศ
CLMV ใน ASEAN, ม.ป.ป.)
นอกจากนั้น หากเปรียบเทียบผลการจัดอันดับปี ๒๕๕๗ กับปี ๒๕๕๘ พบว่า ประเทศไทย
ประเทศอนิ โดนเี ซยี ประเทศเวยี ดนามประเทศลาวและประเทศเมยี นมา (พมา่ )มอี นั ดบั ทดี่ ขี นึ้ อยา่ งไรกต็ าม
หากพจิ ารณาจากคา่ ดชั นพี บวา่ ไมไ่ ดม้ คี วามแตกตา่ งจากปี ๒๕๕๗ มากนกั กลมุ่ ประเทศอาเซยี นจงึ ยงั คง
เป็นกล่มุ ประเทศทม่ี ีความหลากหลายของระดบั การคอรร์ ปั ชนั โดยทีผ่ า่ นมาอาเซียนเปน็ ภูมภิ าคทไ่ี ดร้ ับ
ความสนใจอย่างมากในประเด็นท่ีอาเซียนเองมีความหลากหลายของระดับเศรษฐกิจ การเจริญเติบโต
ของประเทศ ขณะเดยี วกันปญั หาการคอร์รปั ชนั ก็ยงั คงเป็นปัญหาเร้อื รงั ท่ีประเทศสมาชกิ ส่วนใหญย่ ังคง

60 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การป้องกันการทุจริต”

เผชญิ อยู่ (ศศวิ มิ ล วรณุ ศริ ิ ปวณี วฒั น,์ ๒๕๕๙) ตวั อยา่ งเชน่ ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ นบั เปน็ ประเทศทม่ี ปี ญั หา
การคอร์รัปชันรุนแรงโดยเฉพาะการคอร์รัปชันของกลุ่มผู้น�ำประเทศในอดีต ซ่ึงผู้น�ำบางท่านท่ีเคยเป็น
ความหวงั ของคนฟลิ ปิ ปนิ ส์ แตก่ ย็ งั ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หาคอรร์ ปั ชนั เชน่ กนั การคอรร์ ปั ชนั เปน็ ตวั บอ่ นท�ำลาย
การพัฒนาเศรษฐกิจของฟิลิปปินส์เป็นอย่างมากจากประเทศท่ีคาดหมายว่า น่าจะพัฒนาได้เร็วที่สุด
หลังสงครามโลกครั้งที่ ๒ สงบลง กลับกลายเป็นว่าฟิลิปปินส์เป็นประเทศที่พัฒนาได้เชื่องช้ามาก
อันเน่ืองมาจากการคอร์รัปชันของหน่วยงานภาครัฐจ�ำนวนมากน่ันเอง ประเทศอินโดนีเซีย ก็เป็นอีก
ประเทศหนึ่งท่ีมีปัญหาการคอร์รัปชันเร้ือรังมาช้านาน มีการสร้างวัฒนธรรมการคอร์รัปชันในหมู่ทหาร
และนักการเมืองจนท�ำให้นักลงทุนต่างชาติที่ต้องการเข้าไปลงทุนในอินโดนีเซียต้องเตรียมบวก
คา่ ตน้ ทนุ ใตโ้ ตะ๊ เวลาตดิ ตอ่ ท�ำธรุ กจิ ในเกาะชวา แมว้ า่ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงการปกครอง หลงั วกิ ฤตการณ์
ทางเศรษฐกจิ แตร่ ฐั บาลทเ่ี ขา้ มาใหมก่ ด็ เู หมอื นวา่ ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาคอรร์ ปั ชนั ในประเทศทม่ี ศี กั ยภาพ
สูงในการพัฒนาอย่างอินโดนีเซียได้ ถึงแม้อินโดนีเซียจะมีการจัดตั้ง “องค์การปราบปรามคอร์รัปชัน”
หรอื Corruption Eradication Commission แต่กด็ เู หมอื นวา่ ยงั ไมส่ ามารถแกป้ ญั หาการคอร์รปั ชนั ได้
เนอ่ื งจากนกั การเมอื งบางกลมุ่ ยงั คงปกปอ้ งผลประโยชนข์ องตนเอง และแสวงหาผลประโยชนส์ ว่ นตวั บน
ต�ำแหน่งหน้าท่ีได้เข้าไปแทรกแซง การท�ำงานขององค์กรดังกล่าว ทั้งฟิลิปปินส์ และอินโดนีเซียจึงเป็น
ตวั อยา่ งทดี่ ที สี่ ะทอ้ นปญั หา การฉอ้ ฉลอ�ำนาจหรอื PowerCorruptของเหลา่ ผนู้ �ำประเทศประเทศเวยี ดนาม
เป็นประเทศท่ีได้รับการจับตามองมากที่สุดในอาเซียน เน่ืองจากมีอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ค่อนข้างสูง อย่างไรก็ดี ระดับค่า CPI ปี ๒๕๕๘ มีเพียง ๓๑ คะแนน สะท้อนให้เห็นถึงความโปร่งใส
ของรัฐบาลพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามในสายตาของประชาชนในประเทศว่ายังอยู่ในระดับต�่ำ
เช่นกัน ประเทศมาเลเซีย ตลอดระยะเวลาท่ีพรรคอัมโนครองอ�ำนาจภายใต้การน�ำของนายกรัฐมนตรี
นายมหาเธร์ มูฮัมหมดั จนกระทั่งนายนาจบิ ราซกั ก์ มาเลเซียไดพ้ ัฒนาประเทศขึ้นมาเป็นเบอร์ ๒ ของ
อาเซยี น นอกเหนอื จากความเขม้ แขง็ ของรฐั บาลแลว้ เหตผุ ลส�ำคญั ประการหนงึ่ ทท่ี �ำใหม้ าเลเซยี สามารถ
พฒั นาขนึ้ มาไดร้ วดเรว็ คอื การเอาจรงิ เอาจงั กบั การปราบปรามปญั หาการทจุ รติ โดยเฉพาะการบงั คบั ใช้
กฎหมายทีร่ ุนแรงกับเหลา่ เจ้าหนา้ ทร่ี ฐั ทฉ่ี ้อโกงทัง้ หลาย (ตามไปดู ! ปัญหาคอร์รปั ชันในอาเซียน ปญั หา
ทแ่ี กไ้ มต่ ก, ๒๕๕๖) ประเทศไทย โดยรฐั บาลไทยชุดปัจจบุ ัน (คณะรัฐบาลพลเอก ประยุทธ์ จนั ทรโ์ อชา)
ได้ให้ความส�ำคัญเก่ียวกับนโยบายการต่อต้านคอร์รัปชัน โดยเป็นนโยบายหน่ึงที่รัฐบาลให้ความส�ำคัญ
เป็นล�ำดับต้น ๆ นอกจากน้ันแล้ว องค์กรธุรกิจภาคเอกชนก็ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการช่วยก�ำจัดปัญหา
การคอร์รัปชันในประเทศโดยได้มีการร่วมกับภาครัฐ และภาคส่วนอื่น ๆ ดังน้ัน ความพยายามในการ
แก้ไขปัญหาการคอรร์ ัปชัน จงึ เปน็ สิง่ ส�ำคญั ทีก่ ลุ่มประเทศอาเซยี น มิอาจละเลยได้ โดยอาเซยี นเองก็ได้
ตระหนักถึงปัญหา และมีแนวนโยบายในการแก้ไขทั้งในระดับประเทศและระดับภูมิภาค ต่อมาได้มี
การลงนามบนั ทกึ ความเขา้ ใจรว่ มกนั เพอ่ื ตอ่ ตา้ นคอรร์ ปั ชนั ตงั้ แตป่ ี ๒๕๔๗ (ค.ศ. ๒๐๐๔) โดยกลมุ่ ประเทศ
อาเซียนได้ร่วมมือกันก่อต้ังหน่วยงานช่ือว่า “South-East Asian Parties Against Corruption
(SEA-PAC)” และมสี ญั ลกั ษณข์ องหนว่ ยงาน ดงั นี้ ๔ สญั ลกั ษณข์ อง South - East Asian Parties Against
Corruption SEA-PAC จาก http://www.seapac.org/?page_id=๓๙๗๑ โดยหน่วยงานดังกล่าว
เป็นหน่วยงานท่ีจะช่วยสร้างกลไกในการป้องกันและการต่อต้านการคอร์รัปชันในภูมิภาคเอเชีย
ตะวนั ออกเฉียงใต้ (South East Asia) ซึ่งเป็นการรวมตวั ของหนว่ ยงานตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ของประเทศ

ระดบั ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 61

สมาชิกอาเซียน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างความมั่นคงเข้มแข็งในความร่วมมือ เพื่อต่อต้านการ
ทุจริตระหว่างประเทศสมาชิก รวมทั้งการเพ่ิมขีดความสามารถในการปฏิบัติงานตลอดจนศักยภาพ
ของเจ้าหนา้ ท่แี ละยงั เป็นศูนย์กลางประสานงานระหวา่ งกนั (ป.ป.ช. จัดการประชุม SEA-PAC ครง้ั ท่ี ๗
ผนกึ ก�ำลงั สมาชกิ อาเซยี นตา้ นการทจุ รติ เพม่ิ ความเขม้ แขง็ ในภมู ภิ าค, ๒๕๕๔)ซงึ่ ปจั จบุ นั มสี มาชกิ ๑๐องคก์ ร
จาก ๑๐ ประเทศ ไดแ้ ก่
๑. Anti-Corruption Bureau ประเทศบรูไนดารสุ ซาลาม
๒. Anti-Corruption Unit ประเทศกมั พชู า
๓. Corruption Eradication Commission ประเทศอินโดนเี ซยี
๔. State Inspection and Anti-Corruption Authority ประเทศลาว
๕. Malaysian Anti-Corruption Commission ประเทศมาเลเซีย
๖. Anti-Corruption Commission ประเทศเมียนมา (พมา่ )
๗. Office of the Ombudsman ประเทศฟลิ ิปปินส์
๘. Corruption Practices Investigation Bureau ประเทศสิงคโปร์
๙. National Anti-Corruption Commission ประเทศไทย
๑๐. The Government Inspectorate ประเทศเวียดนาม
สัญลกั ษณ์ขององคก์ ร ๑๐ องคก์ รจาก ๑๐ ประเทศ จาก http://www.sea-pac.org/หน่วยงาน
ดังกล่าวข้างต้นได้มีการประชุมครั้งแรกเมื่อเดือนเมษายน ปี ๒๕๔๘ ซึ่งเป็นการจัดประชุม ว่าด้วย
การป้องกันและต่อต้านการทุจริตในภูมภิ าคอาเซียน (๑th SEA-PAC : ๑th Annual Meeting of Parties
to the Memorandum of Understanding on Prevention and Combating Corruption)
ณ กรงุ มะนลิ า ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ โดยมผี แู้ ทนจากประเทศในกลมุ่ ภมู ภิ าคเอเชยี ตะวนั ออกเฉยี งใตจ้ �ำ นวน
๖ ประเทศ เข้าร่วมประชุม คือประเทศกัมพูชา ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศลาว ประเทศสิงคโปร์
ประเทศไทย และประเทศฟิลิปปินส์ ซึ่งถือเป็นประเทศสมาชิกผู้ก่อต้ังองค์กร “South - East Asian
Parties Against Corruption (SEA - PAC)” โดยประเทศไทยเคยเป็นเจ้าภาพในการจัดประชุมดัง
กลา่ ว เม่ือปี ๒๕๕๔ โดยสำ�นักงานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (ส�ำ นกั งาน
ป.ป.ช.) เป็นผู้จัดการประชุม ซ่ึงเป็นการประชุมครั้งท่ี ๗ โดยเป็นการประชุมว่าด้วยการป้องกัน
และต่อตา้ นการทุจรติ ในภูมิภาคอาเซยี น (๗th SEA-PAC : ๗th Annual Meeting of Parties to the
Memorandum of Understanding on Prevention and Combating Corruption) ระหว่าง
วนั ที่ ๒๐ - ๒๒ ธนั วาคม ๒๕๕๔ ณ โรงแรมเชอราตนั แกรนด์ สขุ มุ วทิ กรงุ เทพมหานคร โดยมผี แู้ ทนระดบั สงู
ของหน่วยงานปราบปรามการทุจริตเข้าร่วมประชุม ๙ ประเทศ ได้แก่ ประเทศบรูไนดารุสซาลาม
ประเทศกัมพชู า ประเทศอนิ โดนเี ซีย ประเทศลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟลิ ปิ ปนิ ส์ ประเทศสิงคโปร์
ประเทศไทยและประเทศเวยี ดนาม โดยการประชมุ คร้งั นมี้ ีสาระสำ�คญั คอื การหารอื แนวทางการดำ�เนนิ
การตามกรอบความรว่ มมอื ของบนั ทกึ ความเขา้ ใจระหวา่ งกนั วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และตอ่ ตา้ นการทจุ รติ ใน
ภมู ภิ าคอาเซยี นรวมถงึ ความรว่ มมอื ระหวา่ งหนว่ ยงานในเรอ่ื งการประสานงานคดที จุ รติ ตลอดจนผลกั ดนั
ให้กลุ่มความร่วมมือของหน่วยงานต่อต้านการทุจริตอาเซียนน้ีเป็นท่ีรู้จักและยอมรับในเวทีความร่วมมือ
ระหว่างประเทศมากข้ึน (การปอ้ งกนั และการต่อต้านการทุจริต, ๒๕๕๔) และในเดอื นธันวาคม ๒๕๕๙
62 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกันการทจุ รติ ”

นจี้ ะเป็นการประชมุ ครัง้ ท่ี ๑๒ ระหว่างวันท่ี ๑๔ - ๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๙ ณ โรงแรม The Thingaha
เมือง Nay Pyi Taw ประเทศเมียนมา (พมา่ ) ซง่ึ จะเปน็ เจ้าภาพการจัดประชุมคร้งั นี้ (๑๒th Meeting of
Parties to the Memorandum of Understanding on Preventing and Combating Corruption-
Southeast Asia Parties Against Corruption (๑๒th SEAPAC, ๒๐๑๖)
บทสรปุ และข้อเสนอแนะของผ้ศู กึ ษา
ปญั หาการคอรร์ ปั ชนั ถอื เปน็ ปญั หาใหญท่ ก่ี ลมุ่ ประเทศอาเซยี นมคี วามพยายามในการแกไ้ ขปญั หา
ดังกล่าว ซึ่งกลุ่มประเทศอาเซียนเองก็ได้ตระหนักถึงปัญหา และมีแนวนโยบายในการแก้ไขทั้งในระดับ
ประเทศและระดบั ภมู ภิ าค ดงั นน้ั ประเทศสมาชกิ อาเซยี นสว่ นใหญย่ งั ตอ้ งเผชญิ กบั ปญั หา การคอรร์ ปั ชนั
ซึ่งส่งผลกระทบต่อการพัฒนาของประเทศ และภูมิภาคเป็นอย่างยิ่ง หากพิจารณาศักยภาพการพัฒนา
ทางเศรษฐกจิ ของประเทศสมาชกิ อาเซยี นนนั้ จะเหน็ ไดว้ า่ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นสว่ นใหญม่ คี วามสามารถ
ในการแข่งขันทางเศรษฐกิจสูงในเวทโี ลก แต่ปัญหาการคอร์รปั ชนั กลบั เป็นต้นเหตุส�ำ คัญทที่ �ำ ให้ประเทศ
สมาชิกหลายประเทศ ไม่สามารถพัฒนาไปได้เท่าท่ีควร ประเด็นสำ�คัญซ่ึงนำ�มาสู่ปัญหาการคอร์รัปชัน
ที่หลายประเทศในอาเซียนต้องเผชิญ คือ “ผู้นำ� และผู้มีอำ�นาจในบ้านเมือง” ต่างแสวงหาประโยชน์
ให้กลุ่มและพวกพ้องตนเองมากกว่าเห็นแก่ประโยชน์ของประเทศเป็นหลัก แม้ว่าผู้นำ�ของอาเซียนเอง
จะตระหนักถึงปัญหาการคอร์รัปชัน และพยายามหาทางแก้ไขร่วมกัน โดยได้มีการลงนามบันทึกความ
เขา้ ใจร่วมกันเพอ่ื ตอ่ ตา้ นคอรร์ ัปชันเม่อื ปี ๒๕๔๗ แต่ก็ยังไม่ได้มีการออกกฎระเบียบ หรือนโยบายใด ๆ
ร่วมกันออกมาอย่างเป็นรูปธรรม เนื่องจากแต่ละประเทศยังต้องรักษาผลประโยชน์ของประเทศตน
การลงนามในขอ้ ตกลงใดๆ อาจสง่ ผลกระทบตอ่ ความมน่ั คงของประเทศตนเองในภายหลงั ได้ อกี ประเดน็
ท่สี �ำ คัญ คือ ความอ่อนแอขององค์กรภาครฐั ในการจัดการกบั ปญั หาการคอรร์ ปั ชัน ถงึ แมจ้ ะมกี ารจดั ตั้ง
องค์กรต่อต้านคอร์รัปชันข้ึนก็ยังคงมีผู้มีอำ�นาจเข้าไปแทรกแซงกระบวนการทำ�งานขององค์กรเหล่านั้น
ทำ�ให้องค์กรที่จัดต้ังขึ้นไม่สามารถปฏิบัติงานได้เต็มท่ี นอกจากน้ีกฎหมายและกระบวนการลงโทษ
ในประเทศอาเซียนบางประเทศยังไม่จริงจังเพียงพอ ผู้กระทำ�ผิดบางคนเมื่อถูกลงโทษแล้ว
แต่ต่อมาศาลอาจลดโทษให้ จนในท่ีสุดก็ได้รับการปล่อยตัวไป ดังน้ัน หากจะแก้ปัญหาการคอร์รัปชัน
ในกลมุ่ ประเทศอาเซยี นใหเ้ หน็ เป็นรปู ธรรมแล้ว อาจตอ้ งอาศัยความรว่ มมอื ระหว่างประเทศสมาชกิ มิใช่
แค่เพียงประเทศใดประเทศหนึ่งจัดการกันเอง อาเซียนควรจัดให้มีนโยบายต่อต้านการคอร์รัปชันเป็น
วาระเร่งด่วนภายใต้เสาที่หนึ่ง หรือเสาการเมืองและความมั่นคงของประชาคมอาเซียนเพ่ือให้เกิดการ
ผลกั ดนั อยา่ งแทจ้ รงิ โดยผมู้ สี ว่ นเกยี่ วขอ้ งในการจดั ท�ำ ขอ้ ตกลงดา้ นการเมอื งและความมน่ั คง ควรตอ้ งมา
พูดคุยกันอย่างจริงจัง เพ่ือให้เกิดข้อตกลงร่วมกันที่สามารถนำ�ไปปฏิบัติได้จริง อาจมีการจัดต้ังองค์กร
เพ่ือความร่วมมือต่อต้านการคอร์รัปชันภายใต้อาเซียน หรือสร้างความร่วมมือเพ่ือการสอบสวนกรณี
การคอรร์ ปั ชันต่าง ๆ หากสถานการณ์นนั้ เกย่ี วข้องกบั ประเทศสมาชิกหลายประเทศ เป็นต้น นอกจากน้ี
สถานการณ์การคอร์รัปชัน ในภูมิภาคน้ัน ยังเป็นตัวบ่อนทำ�ลายเศรษฐกิจของกลุ่มประเทศอาเซียน
โดยรวม และยังมีส่วนในการทำ�ลายระบอบประชาธิปไตยของประเทศสมาชิกอีกด้วย จึงเป็นประเด็น
ที่น่าสนใจว่า ภูมิภาคอาเซียนจะจัดการกับปัญหาการคอร์รัปชันร่วมกันอย่างไร เพื่อสร้างความม่ันคง
ทางดา้ นการเมืองและเศรษฐกิจของภูมิภาคในการแข่งขนั บนเวทีโลกต่อไปในอนาคต

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 63

บรรณานกุ รม

ภาษาไทย
การป้องกนั และการตอ่ ต้านการทุจรติ . (๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๔). สบื ค้น ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก
http://aseanwatch.org/๒๐๑๑/๑๒/๒๔/%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๘%B๒%E๐%B๘%A๓%
E๐%B๘%๙B%E๐%B๙%๘๙%E๐%B๘%AD%E๐%B๘%๘๗%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๘%B๑%E๐
%B๘%๙๙%E๐%B๙%๘๑%E๐%B๘%A๕%E๐%B๘%B๐%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๘%B๒%E๐%B
๘%A๓%E๐%B๘%๙๕%E๐%B๙%๘๘%E๐%B๘%AD%E๐%B๘%๙๕%E๐%B๙%๘๙%E๐%B๘
%B๒/
กลุ่มประเทศ CLMV ใน ASEAN. (ม.ป.ป.). สืบคน้ ๒๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จากhttp://cia.sut.ac.th/
ASEANInformation/pdf/CLMV-in-ASEAN.pdf
ตามไปดู ! ปญั หาคอร์รปั ชนั ในอาเซยี น ปญั หาที่แกไ้ มต่ ก. (๓ พฤษภาคม ๒๕๕๖). สืบค้น ๒๑ ตุลาคม
๒๕๕๙ จาก http://www.mfa.go.th/asean/th/news/๒๓๖๙/๓๕๐๒๒%E๐%B๘%๙๕%E๐%B๘
%B๒%E๐%B๘%A๑%E๐%B๙%๘๔%E๐%B๘%๙B%E๐%B๘%๙๔%E๐%B๘%B๙-!-%E๐%B๘
%๙B%E๐%B๘%B๑%E๐%B๘%๘D%E๐%B๘%AB%E๐%B๘%B๒%E๐%B๘%๘๔%E๐%B๘%
AD%E๐%B๘%A๓%E๐%B๙%๘C%E๐%B๘%A๓%E๐%B๘%B๑%E๐%B๘%๙B%E๐%B๘%๘A
%E๐%B๘%B๑%E๐%B๙%๘๘%E๐%B๘%๙๙%E๐%B๙%๘๓%E๐%B๘%๙๙%E๐%B๘%AD%
E๐%B๘%B๒%E๐%B๙%๘๐%E๐%B๘%๘B%E๐%B๘%B๕%E๐%B๘%A๒%E๐%B๘%๙๙%E๐
%B๘%๙B%E๐%B๘%B๑%E๐%B๘%๘D%E๐%B๘%AB%E๐%B๘%B๒%E๐%B๘%๙๗%E๐%
B๘%B๕%E๐%B๙%๘๘%E๐%B๙%๘๑%E๐%B๘%๘๑%E๐%B๙%๘๙%E๐%B๙%๘๔%E๐%B
๘%A๑%E๐%B๙%๘๘.html
ป.ป.ช. จัดการประชุม SEA-PAC ครั้งท่ี ๗ ผนึกกำ�ลังสมาชิกอาเซียนต้านการทุจริต เพ่ิมความ
เขม้ แขง็ ในภมู ภิ าค. (๒๕๕๔). สบื คน้ ๑๐ ตลุ าคม ๒๕๕๙ จาก https://www.nacc.go.th/ewt_dl_link.
php?nid=๗๒๕๗
ศศวิ มิ ล วรณุ ศริ ิ ปวณี วฒั น.์ (๑๙ เมษายน ๒๕๕๙). ดชั นกี ารรบั รกู้ ารคอรร์ ปั ชนั ของอาเซยี น. สบื คน้ ๒๐
ตุลาคม ๒๕๕๙ จาก http://www.aseanthai.net/ewt_news.php?nid=๕๕๔๗&filename=index
ภาษาต่างประเทศ ๑๒th Meeting of Parties to the Memorandum of Understanding on
Preventing and Combating Corruption- Southeast Asia Parties Against Corruption
(๑๒th SEA-PAC). (๒๐๑๖). Retrieved December ๒๐๑๖ from http://www.seapac.org/?
page_id=๕๙๐๖

64 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

หน่วยท่ี ๓

STRONG : จติ พอเพียงต้านทจุ รติ

แผนการจดั การเรียนรู้
หนว่ ยที่ ๓ ชอื่ หนว่ ย STRONG : จิตพอเพยี งต้านทจุ รติ
ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒
แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี ๑ เรอ่ื ง การประกอบอาชพี โดยใชว้ สั ดทุ ้องถ่นิ ตามหลัก เวลา ๑๐ ช่ัวโมง
STRONG : จิตพอเพยี ง ต้านทุจรติ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจ STRONG : จิตพอเพยี งต้านทุจริต
๑.๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ผทู้ ่ี STRONG : จิตพอเพียงต้านทจุ รติ
๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำ คัญของการต่อต้าน และปอ้ งกนั การทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ เลือกใช้วัสดุท้องถ่ิน อุปกรณ์ และเครื่องมือท่ีเหมาะสมกับงาน และประหยัดตามหลัก
STRONG : จติ พอเพียงตา้ นทจุ รติ
๒.๒ นักเรียนตระหนักถึงแนวทางการประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุท้องถิ่นตามหลัก STRONG :
จติ พอเพียงตา้ นทจุ ริต
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
การประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุท้องถิ่นการประกอบอาชีพโดยใช้วัสดุท้องถ่ินตามหลัก
STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ ริต
๑) การท�ำนำ�้ ยาลา้ งจาน
๒) การนวดแผนโบราณ
๓) การซอ่ มรถจักรยาน
๔) การปุ๋ยชีวภาพ
๕) การให้บริการโฮมสเตย์
๔. ขัน้ ตอนการเรียนรู้
๔.๑ ข้นั ตอนการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ ๑ - ๒
๑) ครแู บง่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ จ�ำ นวน ๕ กลมุ่ ศกึ ษาใบความรู้ “กรณขี อง พล.ต.ท.พงศพ์ ฒั น์
ฉายาพันธ์ุ” ให้ช่วยกันเขียนแสดงความคิดถึงส่ิงท่ีเกิดข้ึนสะท้อนปัญหาในหลายด้านของสังคมไทย
ลงในใบงานที่ ๑ เร่ือง จิตพอเพียงต้านการทุจริต จากนั้นนักเรียนตัวแทนกลุ่มออกมานำ�เสนอครูเปิด
คลปิ วดิ โี อ “ชวี ติ พอเพยี ง ตามรอยพอ่ ” ใหน้ กั เรยี นดจู ากนน้ั ใหน้ กั เรยี นเขยี นแสดงความรถู้ งึ วธิ กี ารใชช้ วี ติ
แบบพอเพียงว่าควรท�ำ อะไรบ้าง จากนัน้ ให้นักเรยี นออกมาพดู หน้าชน้ั เรยี น

ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 65

๒) ครูและนักเรียนช่วยกันสรุปข้อคิดที่ได้จากการอ่านข่าว และนักเรียนสามารถแยกแยะ
พฤติกรรมท่แี สดงถงึ ความทจุ ริต
๓) ครเู ปดิ คลปิ วดี โี อ “ชวี ติ พอเพยี ง ตามรอยพอ่ ” ใหน้ กั เรยี นดจู ากนน้ั ใหน้ กั เรยี นเขยี นแสดง
ความรู้ถึงวธิ ีการใชช้ ีวติ แบบพอเพียงว่าควรท�ำ อะไรบ้าง จากน้นั ใหน้ ักเรียนออกมาพดู หนา้ ชัน้ เรียน
๔) ครูอธิบายความหมายของความพอเพยี ง พอประมาณ มเี หตุผล การเดนิ สายกลางตาม
แนวพระราชดำ�รัส
๕) ครเู ชอื่ มโยงความพอเพยี งการประกอบอาชพี โดยใชว้ สั ดทุ อ้ งถน่ิ ตามหลกั หลกั STRONG :
จิตพอเพยี งตา้ นทจุ ริต โดยก�ำหนด ๕ กล่มุ อาชพี ไดแ้ ก่ ๑) การท�ำน้ำ� ยาลา้ งจาน ๒) การนวดแผนโบราณ
๓) การซ่อมรถจักรยาน ๔) การท�ำปุ๋ยชีวภาพ และ ๕) การให้บริการโฮมสเตย์ โดยให้แต่ละกลุ่ม
ระดมความคิดลงในกระดาษ
๖) นักเรียนแบ่งกลุ่มรับผิดชอบตามหัวข้อการใช้วัสดุท้องถิ่นการประกอบอาชีพการท�ำ
นำ�้ ยาลา้ งจาน จ�ำนวน ๕ กล่มุ
๗) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ ลงในกระดาษชารต์ ตามหลกั STRONG : จติ พอเพยี ง
ต้านทจุ รติ
๘) ครใู หน้ ักเรยี นออกมานำ�เสนอหน้าชน้ั เรยี นพรอ้ มทงั้ ใหข้ ้อเสนอแนะ
ช่ัวโมงท่ี ๓ - ๔
๑) นักเรียนแบ่งกลุ่มรับผิดชอบตามหัวข้อการใช้วัสดุท้องถ่ินการประกอบอาชีพการนวด
แผนโบราณ จ�ำ นวน ๕ กลมุ่
๒) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ ลงในกระดาษชารต์ ตามหลกั STRONG : จติ พอเพยี ง
ต้านทจุ ริต
๓) ครูใหน้ กั เรียนออกมานำ�เสนอหน้าชั้นเรียนพรอ้ มท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะ
ชวั่ โมงท่ี ๕ - ๖
๑) นักเรียนแบ่งกลุ่มรับผิดชอบตามหัวข้อการใช้วัสดุท้องถิ่น การประกอบอาชีพการซ่อม
รถจักรยาน จำ�นวน ๕ กล่มุ
๒) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ ลงในกระดาษชารต์ ตามหลกั STRONG : จติ พอเพยี ง
ตา้ นทุจรติ
๓) ครูให้นักเรยี นออกมานำ�เสนอหนา้ ชั้นเรยี นพร้อมท้งั ใหข้ อ้ เสนอแนะ
ช่วั โมงที่ ๗ - ๘
๑) นักเรียนแบ่งกลุ่มรับผิดชอบตามหัวข้อการใช้วัสดุท้องถ่ินการประกอบอาชีพการทำ�ปุ๋ย
ชีวภาพ จำ�นวน ๕ กลุม่
๒) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ ลงในกระดาษชารต์ ตามหลกั STRONG : จติ พอเพยี ง
ต่อต้านทุจริต
๓) ครใู หน้ ักเรียนออกมาน�ำ เสนอหนา้ ช้ันเรียนพร้อมท้ังให้ข้อเสนอแนะ
66 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกนั การทุจริต”

ช่ัวโมงที่ ๙ - ๑๐
๑) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ รบั ผดิ ชอบตามหวั ขอ้ การใชว้ สั ดทุ อ้ งถนิ่ การประกอบอาชพี การใหบ้ รกิ าร
โฮมสเตย์ จ�ำ นวน ๕ กลมุ่
๒) ใหน้ กั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ระดมความคดิ ลงในกระดาษชารต์ ตามหลกั STRONG : จติ พอเพยี ง
ตา้ นทจุ รติ
๓) ครูใหน้ ักเรยี นออกมาน�ำ เสนอหน้าชน้ั เรยี นพรอ้ มท้ังใหข้ ้อเสนอแนะ
๔.๒ สอ่ื การเรียนร/ู้ แหล่งการเรียนรู้
๑) ใบความรู้ เรอื่ ง ข่าวการทจุ รติ “พล.ต.ท.พงศพ์ ัฒน์ ฉายาพนั ธ์ุ”
๒) ใบงานท่ี ๑ เร่อื ง จิตพอพียงต้านทุจริต
๓) คลปิ วดิ ีโอ “ชวี ิตพอเพียงตามรอยพอ่ ” (ส�ำ นักข่าวไทย อสมท.)
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมิน
๑) สังเกตพฤตกิ รรมการปฏิบัติงานของนักเรยี นแตล่ ะกลมุ่
๒) ตรวจผลงานบนั ทกึ การวเิ คราะห์ข่าว ของแตล่ ะกลุ่ม
๓) สงั เกตพฤตกิ รรมการน�ำ เสนอผลงานของแต่ละกล่มุ
๔) ตรวจใบงานสรุปผลพฤติกรรมการทจุ รติ โดยไม่พอเพียง
๕) การแตง่ คำ�ขวญั
๕.๒ เครือ่ งมือทใี่ ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัตงิ านของนักเรยี นในการเขา้ ร่วมกลุม่
๒) แบบบนั ทกึ การให้คะแนนการวิเคราะห์ขา่ ว ของแตล่ ะกลุม่
๓) แบบประเมนิ การน�ำ เสนอผลงานของแตล่ ะกลมุ่
๔) แบบประเมินการแต่งคำ�ขวญั
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ
๑) เกณฑ์การประเมนิ กิจกรรม
๒) เกณฑก์ ารประเมินกจิ กรรมวิธีน�ำ เสนอผลงานของแตล่ ะกลุ่ม
๖. บันทกึ หลังสอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงชือ่ ................................................ ครผู ้สู อน
(...............................................)

ระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ 67

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เรื่อง ขา่ ว การทจุ ริต “พลต�ำ รวจโทพงศพ์ ัฒน์ ฉายาพนั ธ์ุ”

ศาลแพง่ พพิ ากษาสง่ั ริบทรัพย์กว่า ๑,๐๐๐ รายการ รวม ๒๕ ล้านบาทเศษ “พล.ต.ท.พงศ์พัฒน์
ฉายาพันธ์ุ” อดีต ผบช.ก. ตกเปน็ ของแผ่นดนิ
ศาลแพ่ง รชั ดา อ่านคำ�พพิ ากษา ในคดีท่ี พนกั งานอยั การ ยน่ื คำ�รอ้ งขอให้ศาลมีค�ำ สงั่ ริบทรพั ย์สนิ
พล.ต.ท.พงศพ์ ฒั น์ ฉายาพนั ธุ์ อดตี ผบช.ก. รวม ๑,๐๑๔ รายการ มลู คา่ กวา่ ๒๕ ลา้ นบาท พรอ้ มดอกเบย้ี
ให้ตกเปน็ ของแผ่นดิน ตาม พ.ร.บ.ปอ้ งกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. ๒๕๔๒ กรณสี บื เนือ่ งจาก
พล.ต.ท.พงศ์พัฒน์ กับพวกมีพฤติการณ์กระทำ�ผิดเกี่ยวกับตำ�แหน่งหน้าท่ีราชการและความผิดเกี่ยวกับ
การพนนั โดยขณะด�ำ รงต�ำ แหนง่ เปน็ ผบช.ก. ไดร้ ว่ มกบั พวก เรยี กรอ้ งเงนิ จากขา้ ราชการต�ำ รวจทข่ี อแตง่ ตง้ั
โยกย้ายต�ำ แหนง่ สำ�คญั รายละ ๓,๐๐๐,๐๐๐ - ๕,๐๐๐,๐๐๐ ลา้ นบาท เมอ่ื ได้รบั แตง่ ตง้ั แลว้ ต้องน�ำ เงิน
สง่ ให้ พล.ต.ท.พงศ์พัฒน์ เปน็ รายเดือน ๆ ละ ๑๐,๐๐๐ - ๒,๐๐๐,๐๐๐ บาท
นอกจากนี้ พล.ต.ท.พงศ์พัฒน์ กับพวก ร่วมกันเรียกรับผลประโยชน์จากผู้ประกอบธุรกิจ
ค้าน้�ำมันเถื่อนทางน�้ำ เป็นเงินเดือนละ ๒,๐๐๐,๐๐๐ - ๕,๐๐๐,๐๐๐ ล้านบาท และยังร่วมกับพวก
เช่าสถานบรกิ ารอาบอบนวดโคลอนเซ่ เพ่ือเปดิ บ่อนการพนันถวั่ ครอบ
ตอ่ มา พล.ต.ท.พงศพ์ ฒั น์ ถกู ศาลพพิ ากษาลงโทษในคดอี าญา ในหลายขอ้ หา โดยอยั การยน่ื ค�ำ รอ้ ง
ขอให้ศาลแพ่ง มีค�ำ สั่งยึดทรพั ย์ พล.ต.ท.พงศพ์ ฒั น์ จำ�นวน ๑,๐๑๔ รายการ พรอ้ มดอกเบย้ี ใหต้ กเป็น
ของแผน่ ดนิ ซงึ่ ไม่มีผู้ใดคดั คา้ น
ศาลพเิ คราะหแ์ ลว้ เหน็ วา่ พล.ต.ท.พงศพ์ ฒั น์ รบั ราชการต�ำ รวจ มรี ายไดจ้ ากเงนิ เดอื นทางราชการ
อกี ท้ังไม่มหี ลกั ฐานมาแสดงว่ามรี ายไดพ้ เิ ศษ
อย่างอ่ืน แต่กลับมีทรัพยส์ นิ ต่าง ๆ เป็นจำ�นวนมาก โดยทรพั ย์สิน ๑,๐๑๔ รายการ มมี ลู คา่ ถงึ
๒๕ ลา้ นบาทเศษ โดยไมส่ ามารถแสดงถงึ การไดม้ าโดยชอบของทรพั ยส์ นิ ดงั กลา่ วได้ จงึ รบั ฟงั ไดว้ า่ ทรพั ยส์ นิ
ตามรายการข้างต้น เป็นทรัพย์สินที่เก่ียวข้องกับการกระทำ�ความผิด จึงมีคำ�สั่งให้ทรัพย์สินดังกล่าว
ตกเป็นของแผน่ ดิน
68 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทุจริต”

ใบงานที่ ๑
เร่อื ง จติ พอเพยี งต้านการทจุ ริต

พฤติกรรมที่ทจุ รติ
โดยไม่มคี วามพอเพียง

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 69

แบบบนั ทกึ พฤติกรรมการทำ�งานกลมุ่

กล่มุ ท่ี (ชอ่ื กลุ่ม) ..........................................................................................................
สมาชกิ ในกล่มุ
๑. ......................................................................
๒. ......................................................................
๓. ......................................................................
๔. ......................................................................
๕. ......................................................................

คำ�ช้ีแจง ให้นกั เรียนใสเ่ ครอื่ งหมาย  ในช่องทต่ี รงกับความเปน็ จริง

พฤติกรรมทสี่ งั เกต ๓ คะแนน ๑

๑. มีความสามคั คแี ละมีส่วนรว่ มในการแสดงความคดิ เห็น
๒. มีความกระตือรอื รน้ ในการทำ�งาน
๓. รับผดิ ชอบในงานที่ได้รบั มอบหมาย
๔. มขี น้ั ตอนในการท�ำ งานอยา่ งเปน็ ระบบ
๕. ใช้เวลาในการท�ำ งานอยา่ งเหมาะสม
๖. ความซ่ือสตั ย์สจุ ริต ในการท�ำ งานดว้ ยตนเอง

รวม

เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน
พฤตกิ รรมท่ีทำ�เปน็ ประจำ�ให้ ๓ คะแนน
พฤติกรรมที่ท�ำ เปน็ บางครัง้ ให้ ๒ คะแนน
พฤตกิ รรมที่ท�ำ นอ้ ยครั้งให ้ ๑ คะแนน

70 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

เกณฑก์ ารให้คะแนนผลงาน

รายการประเมิน ๔ คะแนน ๑
๓๒

๑. ผลงานตรงกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคลอ้ งกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่ สอดคลอ้ ง
จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ จุดประสงค์ จดุ ประสงค์ กบั จุดประสงค์
ทีก่ �ำ หนด ทกุ ประเดน็ เป็นส่วนใหญ่ บางประเด็น

๒. ผลงานมคี วาม เน้ือหาสาระ เน้ือหาสาระ เน้ือหาสาระ เนื้อหาสาระ
ถกู ตอ้ งสมบูรณ์ ของผลงานถกู ตอ้ ง ของผลงานถูกตอ้ ง ของผลงานถูกตอ้ ง ของผลงานไมถ่ ูกต้อง
เป็นสว่ นใหญ่ เปน็ บางประเดน็ เปน็ สว่ นใหญ่
ครบถ้วน

๓. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วามคิด ผลงานมีความคิด ผลงานมีความ ผลงานไมน่ ่าสนใจ
คิดสรา้ งสรรค์ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรค์ แตย่ งั นา่ สนใจ แต่ยังไมม่ ี ไมม่ ีความคิด
แปลกใหม่ ไมเ่ ปน็ ระบบ ความคดิ สร้างสรรค์ สรา้ งสรรคแ์ ปลกใหม่
และเป็นระบบ แปลกใหม่

๔. ผลงานมคี วาม ผลงานมคี วาม ผลงานสว่ นใหญ่ ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่
เปน็ ระเบยี บ เปน็ ระเบยี บ มคี วามเป็นระเบียบ ระเบียบ แตม่ ขี อ้ ไมเ่ ป็นระเบยี บและ
แสดงออกถงึ แต่ยังมขี อ้ บกพร่อง บกพรอ่ งบางสว่ น มีข้อบกพรอ่ ง
ความประณตี เล็กนอ้ ย

๕. ผลงานเสรจ็ ส่งผลงานตามเวลา สง่ ผลงานช้ากวา่ เวลา ส่งผลงานช้ากวา่ เวลา ส่งผลงานชา้ กว่าเวลา
ตามเวลาทก่ี ำ�หนด ท่กี �ำ หนด ทีก่ �ำ หนด ๑ - ๒ วนั ทก่ี ำ�หนด ๓ - ๕ วนั ทกี่ ำ�หนด เกิน ๕ วัน

ขนึ้ ไป

เกณฑ์การตัดสนิ คุณภาพ

ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ

๑๗ - ๒๐ ดมี าก
๑๓ - ๑๖ ดี
๙ - ๑๒
๕-๘ พอใช้
ปรบั ปรุง

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ 71

แบบประเมินการน�ำ เสนองาน

ช่ือ/กลมุ่ หัวข้อ

ความชัดเจน
ในการ
ข้อ การเตรยี ม ตอบข้อ น�ำ เสนอ ตอบข้อ มีความ
ผูน้ ำ�เสนองาน ความพร้อม สงสัยไดต้ รง สามารถ สงสยั ได้ตรง พอเพยี ง
มองเห็น ไมท่ จุ ริต
ประเดน็ ประเดน็

ได้ชัดเจน

๑.

๒.

๓.

๔.

๕.

๖.

๗.

๘.

๙.

เกณฑ์การตดั สนิ คุณภาพ
คะแนน ๙ - ๑๐ ระดับคณุ ภาพ ๔ หมายถึง ดีมาก
คะแนน ๗ - ๘ ระดบั คณุ ภาพ ๓ หมายถงึ ดี
คะแนน ๕ - ๖ ระดับคุณภาพ ๒ หมายถงึ พอใช้
คะแนน ๐ - ๔ ระดบั คณุ ภาพ ๑ หมายถงึ ปรบั ปรุง

เกณฑก์ ารผา่ น ตง้ั แต่ระดับคุณภาพพอใช้ขึ้นไป
สรปุ  ผ่าน  ไมผ่ า่ น

ลงช่ือ........................................................ผู้ประเมิน
(.....................................................)

72 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การป้องกันการทจุ ริต”

หน่วยท่ี ๔

พลเมอื งกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สังคม

แผนการจัดการเรยี นรู้ เวลา ๓ ช่วั โมง

หนว่ ยท่ี ๔ ช่ือหน่วย พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๑ เรอ่ื ง องค์ประกอบของการศกึ ษาความเปน็ พลเมือง

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเข้าใจเก่ยี วกับพลเมอื งและมคี วามรบั ผดิ ชอบต่อสงั คม
๑.๒ ปฏิบตั ติ นตามหนา้ ทพี่ ลเมอื งและมีความรับผิดชอบตอ่ สังคม
๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำ คญั ของการตอ่ ต้านและป้องกันการทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ นกั เรียนอธบิ ายองคป์ ระกอบของการศกึ ษาความเป็นพลเมือง
๒.๒ นกั เรยี นบอกวธิ กี ารปฏบิ ตั ติ นตามสทิ ธิ เสรภี าพ และหนา้ ทท่ี ร่ี บั ผดิ ชอบของตนเองและผอู้ น่ื ได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) องค์ประกอบของการศึกษาความเป็นพลเมือง
- ความรบั ผิดชอบทางสงั คม
- ความเก่ียวพันกบั ชุมชน
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) ความสามารถในการสือ่ สาร
๒) ความสามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
๓.๓ คณุ ลักษณะทพี่ ึงประสงค์/ค่านิยม
ความมีวินยั
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ข้ันตอนการเรยี นรู้
ชั่วโมงท่ี ๑ – ๒
๑) ครูชีแ้ จงจุดประสงค์การเรยี นรใู้ ห้นกั เรยี นทราบ
๒) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ กล่มุ ละ ๕-๖ คน (ตามความเหมาะสม)
๓) มอบหมายให้สมาชิกภายในกลุ่ม คัดเลือก ประธาน รองประธาน เลขานุการฯ
ตามกระบวนการกลุ่ม

ระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 73

๔) แต่ละกลุ่มต้ังช่ือกลุ่ม โดยครูสังเกตกระบวนการกลุ่ม ในประเด็นการยอมรับฟัง
ความคดิ เหน็ ของสมาชิกภายในกลุ่ม
๕) เมอ่ื ไดช้ ่อื กลุ่มแต่ละกลมุ่ นำ�เสนอ ชือ่ กลมุ่ ทลี ะกลุ่มจนครบ
๖) ครู นักเรียน ร่วมกันสนทนา อภิปรายกระบวนการที่ได้มาซึ่งชื่อกลุ่มแต่ละกลุ่ม โดย
ครูช้ีแนะให้นักเรียน พบว่า การยอมรับฟังความคิดเห็นของสมาชิกภายในกลุ่มจากน้ันสืบค้นเก่ียวกับ
องคป์ ระกอบของการศกึ ษาความเปน็ พลเมอื งในประเดน็ ความรบั ผดิ ชอบทางสงั คมและความเกยี่ วพนั กบั
ชุมชน โดยเขียนสรุปความรู้ลงในกระดาษชารต์
ชว่ั โมงท่ี ๓
๑) สนทนาอภิปรายเก่ยี วกบั “ความรบั ผิดชอบทางสงั คมและความเกี่ยวพนั กับชมุ ชน”
๒) ครตู ดิ กระดาษชาร์ต หนา้ ชนั้ เรียน เพอ่ื แสดงผลงานของนกั เรยี น
๓) สนทนาอภปิ รายสรปุ องคป์ ระกอบของการศึกษาความเป็นพลเมือง พรอ้ มทั้งเชอ่ื มโยง
การน�ำ ความรไู้ ปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจ�ำ วนั เรอื่ ง ความรบั ผดิ ชอบทางสงั คมและความเกยี่ วพนั กบั ชมุ ชน
๔.๒ สื่อการเรียนรู้/แหล่งการเรยี นรู้
กระดาษชารต์
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
- การสงั เกต
๕.๒ เครือ่ งมือทใ่ี ช้ในการประเมนิ
- แบบประเมินการทำ�งานกลุม่
๕.๓ เกณฑ์การตดั สิน
- ผูเ้ รียนผา่ นเกณฑก์ ารประเมินการท�ำ งานกลมุ่ ๑๗ คะแนน ข้ึนไป
๖. บนั ทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครูผสู้ อน
(...............................................)

74 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพม่ิ เติม การปอ้ งกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

แบบประเมนิ การทำ�งานเปน็ กลุ่ม

กลุ่มที่……………....ชน้ั ………………………...เรือ่ ง……………………………..……………………………...............
ผปู้ ระเมนิ  ครผู สู้ อน  นกั เรยี น  อนื่ ๆ
ค�ำ ชีแ้ จง เม่ือผู้ประเมินอ่านข้อความแต่ละข้อแล้วให้ตอบในเรื่องที่ตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน
มากทีส่ ุดคอื
- ไมป่ ฏิบัติเลยให้ใส่ เครือ่ งหมายลงในช่องคะแนน ๑
- ปฏบิ ตั ิเพียงเล็กน้อยใหใ้ ส่ เคร่ืองหมายลงในช่องคะแนน ๒
- ปฏบิ ตั เิ ป็นครง้ั คราวใหใ้ ส่เครือ่ งหมาย  ลงในชอ่ งคะแนน ๓
- ปฏิบตั บิ ่อยๆให้ใสเ่ ครื่องหมาย  ลงในชอ่ งคะแนน ๔
- ปฏิบตั เิ ปน็ ประจำ�ใหใ้ ส่เครอื่ งหมาย  ลงในช่องคะแนน ๕

พฤตกิ รรมที่ตอ้ งประเมิน ๕ ๔๓ ๒ ๑

๑. การวางแผนการทำ�งานร่วมกัน
๒. การแบ่งหน้าทร่ี ับผดิ ชอบในกลมุ่
๓. การให้ความรว่ มมือของสมาชกิ
๔. การยอมรบั ฟงั ความคิดเหน็ ของผูอ้ นื่
และการแสดงความคิดเหน็
๕. การแก้ปญั หาภายในกลุ่ม

รวม

เกณฑก์ ารประเมนิ
ไดค้ ะแนน ๑๗ คะแนนขึน้ ไป ถือว่าผา่ นเกณฑ์การประเมิน ผา่ น

ลงช่อื ................................................ ประเมิน
(...............................................)

ระดบั ช้นั มธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ 75

แบบประเมินผลการสนทนา

กลุ่มท่ี…………….....ชัน้ ……………………… เรอื่ ง……………………………..………………………….................…..

ผู้ประเมิน  ครผู สู้ อน  นกั เรยี น  อืน่ ๆ

ที่ รายการประเมนิ คะแนนที่ได้ เกณฑก์ ารประเมิน

๑ เนื้อหา (๔ คะแนน) คะแนน ๔ มคี รบทุกขอ้
๑. เนื้อหาครบถ้วนสมบรู ณ์ คะแนน ๓ มี ๓ ขอ้ ขาด ๑ ขอ้
๒. เนอื้ หาถูกต้อง คะแนน ๒ มี ๒ ขอ้ ขาด ๒ ขอ้
๓. เนอื้ หาต่อเนอื่ ง คะแนน ๑ มี ๑ ขอ้ ขาด ๓ ข้อ
๔. มกี ารค้นควา้ เพม่ิ เติม คะแนน ๒ มคี รบทกุ ขอ้
คะแนน ๑ มี ไมค่ รบ ๔ ขอ้
๒ กระบวนการทำ�งาน (๒ คะแนน) คะแนน ๐ ไมป่ รากฏกระบวนการท�ำ งานที่ชดั เจน
๑. มกี ารวางแผนอยา่ งเปน็ ระบบ
๒.การปฏิบตั ิตามแผน คะแนน ๒ มคี รบทุกขอ้
๓. ติดตามประเมนิ ผล คะแนน ๑.๕ มี ๓ ข้อ ขาด ๑ ข้อ
๔. การปรบั ปรุงพฒั นางาน คะแนน ๑ มี ๒ ข้อ ขาด ๒ ขอ้
คะแนน ๐.๕ มี ๑ ข้อ ขาด ๓ ข้อ
๓ การนำ�เสนอ (๒ คะแนน)
๑. การใชส้ ำ�นวนภาษาดีถกู ต้อง คะแนน ๒ มีครบทกุ ข้อ
๒. การสะกดและไวยากรณ์ถกู ตอ้ ง คะแนน ๑.๕ มี ๓ ขอ้ ขาด ๑ ขอ้
๓. รูปแบบน่าสนใจ คะแนน ๑ มี ๒ ข้อ ขาด ๒ ข้อ
๔. ความสวยงาม คะแนน ๐.๕ มี ๑ ข้อ ขาด ๓ ข้อ

๔ คณุ ธรรม (๒ คะแนน) คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
๑. ตรงต่อเวลา
๒. ซ่อื สตั ย์
๓. ความกระตอื รอื ร้น
๔. ความมีนำ�้ ใจ
รวม
เฉลี่ย

ลงชือ่ ................................................ ประเมนิ
(...............................................)

76 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

แบบสงั เกตให้คะแนนพฤติกรรมการแสดงบทบาทสมมติของนักเรียนแต่ละกลมุ่

คำ�ชแ้ี จง ครใู หค้ ะแนนการตรวจผลงานนกั เรยี นแลว้ ใสเ่ ครอ่ื งหมาย  ลงในชอ่ งทตี่ รงกบั ระดบั คะแนน

รายการประเมิน

ลำ�ดับ ชือ่ - สกุล รูปแบบ ภาษา เนอื้ หา เวลา รวม
ท่ี การน�ำ เสนอ ๑๖ คะแนน

๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔๑๒๓๔

รวม

ลงชอื่ ……………………………..……..ผู้ประเมนิ
(..........................................)
........../..................../..........
เกณฑก์ ารตดั สนิ
คะแนน ๑๔ - ๑๖ คะแนน หมายถงึ ดีเยีย่ ม
คะแนน ๑๐ - ๑๓ คะแนน หมายถึง ดี
คะแนน ๕ - ๙ คะแนน หมายถึง ผ่าน
คะแนน ๑ - ๔ คะแนน หมายถงึ ไมผ่ ่าน

ระดับชนั้ มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ 77

แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๓ ชวั่ โมง

หนว่ ยท่ี ๔ ชอื่ หน่วย พลเมืองและความรบั ผิดชอบต่อสงั คม
ช้ันมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒
แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี ๒ เรื่อง การเป็นพลเมืองด ี

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมอื งและมีความรบั ผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหน้าที่พลเมอื งและมีความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม
๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความสำ�คัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทจุ ริต
๒. จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ บอกความหมายของ คำ�ว่า การเป็นพลเมอื งดี
๒.๒ นกั เรียนมคี วามตระหนกั ในการปฏบิ ัตติ นเปน็ พลเมืองดี
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) การเป็นพลเมอื งดี
๑.๑ การมงุ่ เน้นความรับผิดชอบระดับบคุ คล
๑.๒ การมสี ว่ นรว่ ม
๑.๓ ความยุตธิ รรม
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะท่ีเกดิ )
๑) ความสามารถในการส่ือสาร (อ่าน ฟงั พดู เขยี น)
๒) ความสามารถในการคดิ (วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
๓.๓ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์/ค่านยิ ม
๑) มีวินยั
๒) มีความรับผิดชอบ
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้
ชั่วโมง ๑ - ๒
๑) ครูซักถามนักเรียนถึงระเบียบ กฎ กติกา ในการเข้าไปใช้บริการห้องสมุดโรงเรียนว่ามี
ขอ้ ห้ามอะไรบา้ งให้นกั เรียนชว่ ยกนั ตอบและแสดงความคดิ เหน็ เชน่
- แตง่ กายสภุ าพ
- นำ�กระเปา๋ หรือสิ่งของไปไวท้ ี่ช้นั วางกระเป๋า

78 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่มิ เตมิ การป้องกันการทจุ ริต”

- หา้ มนำ�อาหารหรือเคร่ืองด่ืม ขนมเขา้ มารับประทานในห้องสมดุ
- หา้ มพูดคุยเสยี งดัง
- ฯลฯ
๒) ครูอธิบายถึงความหมายของระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย ข้อบังคับ และความเป็น
พลเมอื งดีทีม่ ุ่งเนน้ ความรบั ผิดชอบ การมสี ่วนรว่ ม และความยตุ ธิ รรมทุกสถานทหี่ รือการเลน่ กีฬาต่าง ๆ
ต้องมี กฏ กติกา มีระเบียบ ข้อบังคับต่างๆ เช่น คำ�ว่ากติกา หมายถึง สิ่งท่ีบุคคลหรือคณะสร้างข้ึน
เพ่ือให้เป็นแบบแผนปฏิบัติในเร่ืองใดเร่ืองหน่ึง โดยได้รับการยอมรับในสังคม พร้อมทั้งแจก ใบความรู้
เรือ่ ง การเปน็ พลเมืองดี
๓) ครแู บง่ กลมุ่ นกั เรยี นศกึ ษาใบความรู้ เรอ่ื ง ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย พลเมอื งดที มี่ งุ่ เนน้
ความรับผิดชอบ และเขียนสรุปลงในใบงานเร่ือง ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย พลเมืองดีท่ีมุ่งเน้น
ความรับผิดชอบ
ช่ัวโมง ๓
๔) ครเู ปิดคลิปวิดโี อ เรือ่ ง ระเบียบ กฎ กติกา ใหน้ กั เรียนดู จากนั้นแตล่ ะกลมุ่ เขยี นแสดง
ความคิดเห็นบทบาทหน้าที่ของตัวละครแต่ละคนเป็นไป ตาม ระเบียบ กฎ กติกา กฎหมาย อย่างไร
โดยเขียนลงในใบงานที่ ๒ สง่ ครตู รวจ
๕) ตัวแทนกลมุ่ ออกมาอภิปรายจากการแสดงความคิดเหน็ นักเรยี นช่วยกันเสนอแนะ
๖) ครูและนักเรยี นชว่ ยกนั สรุปวิธีการปฏบิ ตั ิตามกฎ ระเบียบ กติกา กฎหมาย เพอื่ นำ�ไปใช้
ในการปฏิบัติตนไดถ้ กู ต้องในชวี ิตประจำ�วัน
๔.๒ ส่อื การเรียนรู/้ แหลง่ เรยี นรู้
๑) คลปิ วิดีโอ “กฎ ระเบียบ กตกิ า”
http://www.youtube.com/watch?v=jcRJim_e๙Sw
๒) ใบความรู้ เรอื่ ง ระเบยี บ กฎ กตกิ า
๓) ใบความรู้ เร่ือง บทบาทหน้าท่ีของเยาวชนท่มี ีต่อสงั คมและประเทศชาติ
๔) ใบงาน เรอื่ ง ระเบยี บ กฎ กติกา
๕) ใบงานท่ี ๒ เรือ่ ง บทบาทหนา้ ท่ี
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมนิ
๑) สงั เกตกระบวนการทำ�งานกล่มุ
๒) การนำ�เสนอผลงาน
๓) ตรวจผลงาน

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 79

๕.๒ เครื่องมือที่ใชใ้ นการประเมิน
๑) แบบสงั เกตกระบวนการท�ำ งานกลุม่
๒) แบบบันทกึ ผลการน�ำ เสนอผลงาน
๕.๓ เกณฑก์ ารตดั สนิ
นกั เรยี นผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดับดขี ึ้นไป
๖. บันทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
ลงช่ือ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

80 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเตมิ การป้องกนั การทุจรติ ”

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เรื่อง ระเบียบ กฎ กตกิ า

ระเบียบ หมายถึง แบบแผนท่ีวางไว้เป็นแนวปฏิบัติหรือดำ�เนินการ เช่น ระเบียบวินัย ระเบียบ
ข้อบังคบั ตอ้ งปฏิบตั ติ ามระเบยี บ

“ระเบียบวนิ ัย” คอื คณุ สมบตั ทิ ส่ี ำ�คัญในการดำ�เนนิ ชีวติ ความสามารถของบคุ คลในการควบคุม
อารมณ์ และพฤตกิ รรมของตนเองใหเ้ ปน็ ไปตามทมี่ งุ่ หวงั โดยเกดิ จากการส�ำ นกึ ซงึ่ ตอ้ งไมก่ ระท�ำ การใด ๆ
อันเป็นผลทำ�ให้เกิดความยุ่งยากแก่ตนเองในอนาคต หากแต่ต้องเป็นสิ่งที่ก่อให้เกิดความเจริญรุ่งเรือง
แกต่ นเองและผอู้ นื่ โดยไมข่ ดั ตอ่ ระเบยี บของสงั คมและไมข่ ดั ตอ่ สทิ ธขิ องผอู้ น่ื ความมวี นิ ยั ในตนเองสามารถ
ควบคุมตนเองให้ปฏิบัติตนตามระเบียบข้อตกลงของสังคมส่วนรวมด้วยความสมัครใจของผู้ปฏิบัติเอง
เพื่อความสงบสขุ ในชีวติ และความเปน็ ระเบียบเรียบร้อยของสงั คม
การอยรู่ ว่ มกนั เปน็ หมเู่ หลา่ ถา้ ขาดระเบยี บวนิ ยั ตา่ งคนตา่ งท�ำ ตามอ�ำ เภอใจ ความขดั แยง้ กจ็ ะเกดิ ขนึ้
ยิง่ มากคนก็ยงิ่ มากเรือ่ ง ไม่มีความสงบสุข การงานที่ทำ�ก็จะเสยี ผล

ระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ 81

“กฎ” ตามความหมายโดยทวั่ ไป หมายถงึ จดไวเ้ ปน็ หลกั ฐาน ตรา ค�ำ บงั คบั หรือข้อกำ�หนดหรือ
ขอ้ บญั ญตั ทิ บี่ งั คบั ใหต้ อ้ งมกี ารปฏบิ ตั ติ ามสว่ น “กฎ” ตามความหมายของกฎหมายปกครองหมายความถงึ
พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ประกาศกระทรวงขอ้ บญั ญตั ทิ อ้ งถน่ิ ระเบยี บ ขอ้ บงั คบั หรอื บทบญั ญตั อิ นื่
ทมี่ ผี ลบงั คบั เปน็ การทว่ั ไปโดยไมม่ งุ่ หมายใหใ้ ชบ้ งั คบั แกก่ รณใี ดหรอื บคุ คลใดเปน็ การเฉพาะในทางปฏบิ ตั ิ
ไมค่ อ่ ยมปี ญั หามากนกั ในการวนิ จิ ฉยั วา่ อะไรเปน็ “กฎ” ในสว่ นทเ่ี ปน็ พระราชกฤษฎกี า กฎกระทรวง ขอ้
บญั ญตั ิท้องถนิ่ ประกาศกระทรวง แตม่ ปี ระกาศ ระเบยี บ ข้อบังคับ หรือบทบญั ญัติบางฉบบั ท่ีอาจทำ�ให้
ฝา่ ยปกครองและประชาชนเข้าใจสับสนวา่ เป็น “กฎ” หรอื “ค�ำ สั่งทางปกครอง” เนอ่ื งจากบทนยิ ามได้
ใหค้ วามหมายของค�ำ วา่ “กฎ” หมายความรวมถงึ บทบญั ญตั อิ นื่ ทมี่ ผี ลบงั คบั เปน็ การทว่ั ไปโดยไมม่ งุ่ หมาย
ใหใ้ ช้บงั คับแกก่ รณใี ดหรอื บคุ คลใดเปน็ การเฉพาะ อกี ด้วย
“กฎ (Law) หมายถึง ทฤษฎีที่สามารถอธิบายปรากฏการณในธรรมชาติได้อย่างกว้างขวาง
เปน็ เวลานานจนเปน็ ทย่ี อมรบั สามารถทดสอบผลไดเ้ หมอื นเดมิ ทกุ ๆ ครง้ั โดยไมม่ ขี อ้ โตแ้ ยง้ ใด ๆ เพราะเปน็
ความจริงท่ไี มเปลย่ี นแปลงการวเิ คราะหข์ ้อมูลและสรปุ ผลเมืองและเปน็ ประเทศ ในท�ำ นองเดียวกับสัตว์
ที่รวมกันอยู่เป็นฝูงแต่ถึงแม้ว่าคนหรือเป็นสัตว์ กติกา ในทางสังคมวิทยาแต่ในทางจริยศาสตร์
คนมขี อ้ แตกต่างจากสตั วใ์ นดา้ นหลัก คือ

๑. ทางดา้ นรา่ งกาย คนมีโครงสรา้ งรา่ งกายสงู ข้ึนในแนวดิ่งของโลก สว่ นสัตว์มีโครงสรา้ งร่างกาย
ยาวไปตามแนวนอนขนานกับพื้นโลกหรือถ้าจะพูดตามนัยแห่งคำ�สอนในพระพุทธศาสนาว่า ดิรัจฉาน
หรอื เดรัจฉาน แปลวา่ ไปทางขวาง ซึ่งเปน็ ทีม่ าของคำ�ด่าคนชว่ั คนเลวว่าเปน็ คนขวางโลก อันหมายถึง
เป็นสตั ว์นนั่ เอง
๒. ทางดา้ นจติ ใจ คนใช้เหตุผล หลักการ คณุ ธรรม และจริยธรรม ควบคมุ พฤติกรรมทแ่ี สดงออก
ทางกายและวาจา สว่ นสัตว์มีเพยี งสญั ชาตญาณเทา่ น้นั ควบคุมพฤตกิ รรม
82 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

ด้วยเหตุที่คนต่างจากสัตว์ในทางด้านจิตใจน้ีเอง ทำ�ให้สังคมของคนมีการพัฒนาเจริญรุ่งเรือง
ในทุกด้านเมื่อกาลเวลาผ่านไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการกำ�หนดกติกาขึ้นมาเพ่ือควบคุมพฤติกรรม
ผู้คนในสังคมให้อยู่รวมกันอย่างสงบสุข กติกาทางสังคมของคนในยุคต้นเร่ิมจากการมีความเช่ือร่วมกัน
หรอื ทเ่ี รยี กวา่ ลทั ธิ และความเชอื่ ในยคุ แรก ไดแ้ ก่ ความเชอื่ เกย่ี วกบั วญิ ญาณประจ�ำ ธรรมชาติ ภเู ขา ตน้ ไม้
หรือแม้กระท่ังสัตว์บางชนิด ความเชื่อในลักษณะนี้นักวิชาการด้านศาสนาเรียกว่า วิญญาณนิยม และ
ความเชอ่ื ในเรื่องทรงเจ้าเข้าผกี ็จดั อย่ใู นประเภทเดียวกนั น้ี
กติกา แปลวา่ ข้อความทไ่ี ด้ท�ำ ความตกลงกันแล้ว หมายถงึ กฎเกณฑห์ รือข้อตกลงทบ่ี คุ คลตั้งแต่
๒ ฝา่ ยข้ึนไป กำ�หนดขึ้นเปน็ หลกั ปฏบิ ตั ิ เช่น ในการเล่นกฬี า หรอื การเลน่ เกมต่าง ๆ มกี ติกาทผ่ี เู้ ลน่ ตอ้ ง
ปฏิบัติตามทั้งในการเล่น การแพ้ชนะ การปรับ การลงโทษ เป็นต้น ผู้ท่ีแพ้ก็ต้องยอมรับความพ่ายแพ้
อาจถูกลงโทษ หรอื ถูกปรับตามกตกิ าทตี่ กลงกันแล้ว เช่น นกั ฟตุ บอลที่ท�ำ ให้คูต่ ่อสเู้ จ็บ ไม่ว่าจะโดยตงั้ ใจ
หรอื ไมต่ งั้ ใจกต็ าม จะตอ้ งถกู ลงโทษไดใ้ บเหลอื ง หรอื ใบแดงซง่ึ ท�ำ ใหต้ อ้ งออกจากการเลน่ คนเชยี รฟ์ ตุ บอล
ที่ฝ่ายของตนแพ้แล้วไม่ยอมแพ้จัดว่าเป็นคนที่ไม่ปฏิบัติตามกติกา คนที่ไม่ปฏิบัติตามกติกาจะถูกสังคม
ประณามว่าเป็นอันธพาล เป็นคนเกเรกติกาเป็นข้อตกลงท่ีช่วยให้คนในสังคมทำ�กิจกรรมร่วมกันได้
อย่างเป็นระเบียบเรียบร้อย และทำ�ให้ทุกคนอยรู่ ่วมกนั ได้อย่างสนั ติสุข
ที่มา : บทวิทยุรายการ “รู้ รัก ภาษาไทย” ออกอากาศทางสถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย
เม่ือวนั ที่ ๖ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๓

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 83

กฎหมาย คืออะไร

กฎหมาย เปน็ กฎเกณฑ์ ขอ้ บงั คบั ทใ่ี ชค้ วบคมุ ความประพฤตขิ องมนษุ ยใ์ นสงั คม กฎหมาย มลี กั ษณะ
เปน็ ค�ำ สง่ั ขอ้ หา้ ม ทม่ี าจากผมู้ อี �ำ นาจสงู สดุ ในสงั คมใชบ้ งั คบั ไดท้ วั่ ไป ใครฝา่ ฝนื จะตอ้ งไดร้ บั โทษหรอื สภาพ
บงั คับอยา่ งใดอยา่ งหน่ึง
ระบบกฎหมายในปจั จุบันแบ่งออกเปน็ 4 ระบบ ไดแ้ ก่ ระบบกฎหมาย ไมเ่ ป็นลายลกั ษณ์อักษร
ระบบกฎหมายลายลกั ษณ์อักษร ระบบกฎหมายสังคมนิยม และระบบกฎหมายศาสนา กฎหมายแต่ละ
ระบบยอ่ มมีท่มี าแตกตา่ งกัน การแบง่ ประเภทของกฎหมายอาจแบ่งได้หลายลักษณะ ข้นึ อยู่กบั วา่ จะยดึ
อะไรเปน็ หลกั เกณฑใ์ นการแบง่ มนษุ ยจ์ �ำ เปน็ ตอ้ งมกี ฎหมายเปน็ กฎเกณฑใ์ นการอยรู่ ว่ มกนั เพอื่ ใหส้ งั คม
เกิดความเปน็ ระเบยี บเรยี บร้อยและสงบสุข
มนุษย์เป็นสตั ว์สังคม เพือ่ ใหส้ ังคมเป็นระเบียบเรียบรอ้ ยสงบสขุ กฎเกณฑ์ต่าง ๆ เหล่าน้ี เรียกวา่
บรรทัดฐานทางสงั คม (Social Norms) ประกอบดว้ ย
๑. วิถีชาวบ้าน (Folkways) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤติท่ีอยู่ในรูปของประเพณีนิยมท่ีสมาชิก
ในสงั คมปฏบิ ตั สิ บื ตอ่ กนั มา ถา้ ใครไมป่ ฏบิ ตั ติ ามกจ็ ะถกู ตฉิ นิ นนิ ทาวา่ รา้ ย เชน่ การแตง่ กาย กริ ยิ ามารยาท
ทางสงั คมในโอกาสต่าง ๆ เปน็ ต้น
๒. จารตี (Mores) เป็นกฎเกณฑ์ความประพฤตทิ ย่ี ึดหลกั ความดีความชว่ั กฎเกณฑท์ างศาสนา
เปน็ เรือ่ งของความรสู้ กึ วา่ สิ่งใดผดิ สง่ิ ใดถกู หากใครละเมดิ ฝา่ ฝนื จะได้รบั การตอ่ ตา้ นจากสมาชิกในสงั คม
อยา่ งจรงิ จัง อาจถกู กีดกนั ออกจากสังคม หรือไม่มีใครคบค้าสมาคมด้วย เช่น การลกั เล็กขโมยนอ้ ย
การเนรคุณบดิ ามารดา หรือผมู้ พี ระคณุ เป็นต้น
๓. กฎหมาย (Laws) เปน็ กฎเกณฑค์ วามประพฤตทิ มี่ กี ารบญั ญตั ไิ วอ้ ยา่ งชดั เจน แนน่ อน วา่ กระท�ำ
อยา่ งไร เป็นความผิดฐานใด จะได้รบั อยา่ งไร เช่น ผใู้ ดฆา่ ผอู้ ื่นต้องระวางโทษประหารชวี ิต เป็นต้น
กฎเกณฑ์ของความประพฤติท้ังสามประการดังกล่าว สองประการแรกไม่ได้มีการบัญญัติไว้
อยา่ งชดั เจน การลงโทษผลู้ ะเมดิ ฝา่ ฝนื กไ็ มร่ นุ แรง ประการทสี่ าม กฎหมายจงึ เปน็ สง่ิ ทส่ี �ำ คญั ทสี่ ดุ ใชไ้ ดผ้ ล
มากที่สุด ในการควบคุมความประพฤติของมนุษย์ ดังน้ันสังคมมนุษย์ทุกสังคมจึงจำ�เป็นต้องมีกฎหมาย
เปน็ กฎเกณฑใ์ นการอยู่รว่ มกนั ดงั ค�ำ กล่าวทวี่ า่ “ที่ใดมสี ังคมที่นนั่ มกี ฎหมาย”
กฎหมาย หมายถงึ ค�ำ สงั่ หรอื ขอ้ บงั คบั ของรฐั ซง่ึ บญั ญตั ขิ นึ้ เพอ่ื ใชค้ วบคมุ ความประพฤตขิ องบคุ คล
ซึ่งอยู่ในรัฐหรือในประเทศของตนหากผู้ใดฝ่าฝืนไม่ประพฤติปฏิบัติตาม ก็จะมีความผิดและถูกลงโทษ
หรอื ไดร้ ับผลเสยี หายนน้ั ด้วย

84 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกันการทุจรติ ”

ใบงานที่ ๑
เรือ่ ง ระเบยี บ กฎ กตกิ า กฎหมาย

ค�ำ ชีแ้ จง ให้นักเรยี นเขียนสรปุ เป็นผังความคดิ จากการศึกษาใบความรู้ เรอ่ื ง ระเบยี บ กฎ กติกา

ใบงานท่ี ๒
เรื่อง บทบาทหน้าที่

คำ�ช้ีแจง ใหน้ ักเรยี นสรุปแสดงความคดิ เหน็ บทบาทหนา้ ท่ขี องตวั ละคร

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ 85

บทบาทและหนา้ ทขี่ องเยาวชนท่มี ตี ่อสังคมและประเทศชาติ

บทบาทและหน้าท่ีของเยาวชนที่มีต่อสังคมและประเทศชาติ สมาชิกทุกคนในสังคมย่อมต้องมี
บทบาทหนา้ ทต่ี ามสถานภาพของตน ซง่ึ บทบาทและหนา้ ทข่ี องสมาชกิ แตล่ ะคนจะมคี วามแตกตา่ งกนั ไป
แต่ในหลักใหญ่และรายละเอียดจะเหมือนกัน ถ้าสมาชิกทุกคนในสังคมได้ปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ี
ของตนเองอย่างถูกต้อง ก็จะได้ชื่อว่าเป็น “พลเมืองท่ีดีของสังคมและประเทศชาติ” และยังส่งผลให้
ประเทศชาติพฒั นาอย่างยง่ั ยนื ดังนั้น สมาชิกในสงั คมทุกคน โดยเฉพาะเยาวชนท่ถี อื ว่าเป็นอนาคตของ
ชาติจึงจำ�เป็นอย่างยิ่งท่ีจะต้องเรียนรู้และปฏิบัติตามบทบาทหน้าท่ีของตน เพื่อช่วยนำ�พาประเทศให้
พฒั นาสืบไป
เยาวชนกบั การเป็นสมาชกิ ท่ีดีของสงั คมและประเทศชาติ
เยาวชน หมายถึง คนหนุ่มสาวที่มีพลังอันสำ�คัญท่ีจะสามารถช่วยกันเสริมสร้างกิจกรรมที่เป็น
ประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศชาติในอนาคต ดังน้ัน เยาวชนที่ดีควรตระหนักในคุณค่าของตนเอง
และรว่ มมือรว่ มใจ สามคั คี และเสียสละเพ่อื ส่วนรวม
ลกั ษณะของเยาวชนทด่ี ี
เยาวชนท่ดี คี วรจะเปน็ ผ้ทู มี่ คี ุณธรรม จริยธรรม กลา่ วคอื จะต้องมีธรรมะในการด�ำ เนนิ ชีวิต ได้แก่
๑. การเสยี สละตอ่ สว่ นรวม เปน็ คณุ ธรรมทช่ี ว่ ยในการพฒั นาประเทศชาตใิ หม้ คี วามเจรญิ กา้ วหนา้
เพราะถ้าสมาชิกในสังคมเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและยอมเสียสละผลประโยชน์ส่วนตนจะทำ�ให้สังคม
พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและมน่ั คง
๒. การมรี ะเบยี บวนิ ยั และความรบั ผดิ ชอบตอ่ หนา้ ท่ี เปน็ คณุ ธรรมทชี่ ว่ ยใหค้ นในสงั คมอยรู่ ว่ มกนั
ไดอ้ ยา่ งสงบสขุ เพราะถา้ สมาชกิ ในสงั คมยดึ มน่ั ในระเบยี บวนิ ยั รแู้ ละเขา้ ใจสทิ ธขิ องตนเอง ไมล่ ะเมดิ สทิ ธิ
ของผู้อื่นและตั้งใจปฏบิ ัติหน้าทข่ี องตนเองใหด้ ีที่สุด สังคมนนั้ กจ็ ะมแี ต่ความสุข เชน่ ขา้ ราชการทีบ่ รกิ าร
ประชาชนอยา่ งท่ดี ีที่สุดก็ยอมทำ�ใหเ้ ปน็ ที่ประทบั ใจรักใครข่ องประชาชนผมู้ ารับบรกิ าร
๓. ความซื่อสัตย์สุจริต เป็นคุณธรรมที่มีความสำ�คัญ เพราะหากสมาชิกในสังคมยึดม่ันใน
ความซอ่ื สตั ยส์ ตุ รติ เชน่ ไมล่ กั ทรพั ย์ ไมเ่ บยี ดเบยี นทรพั ยส์ นิ ของผอู้ นื่ หรอื ของประเทศชาตมิ าเปน็ ของตน
รวมท้งั ผูน้ ำ�ประเทศมีความซอ่ื สตั ยส์ ุจริต
๔. ความสามัคคี ความรักใคร่กลมเกลียวปรองดองและร่วมมือกันทำ�งานเพื่อประโยชน์ส่วนรวม
จะทำ�ให้สังคมที่เข้มแข็ง แต่หากคนในสังคมเกิดความแตกแยกทั้งทางความคิดและการปฏิบัติตนในการ
อยู่ร่วมกันจะท�ำ ใหส้ งั คมออ่ นแอและลม่ สลายในทสี่ ดุ
๕. ความละอายและเกรงกลัวในการทำ�ชว่ั ถ้าสมาชกิ ในสังคมมหี ริ ิโอตปั ปะ มีความเกรงกลวั และ
ละอายในการท�ำ ช่ัว สงั คมก็จะอยอู่ ย่างสงบสขุ เชน่ นักการเมืองจะต้องมีมคี วามซื่อสัตยส์ ุจรติ ไม่โกงกิน
ไมเ่ หน็ แกป่ ระโยชนพ์ วกพอ้ ง โดยตอ้ งเหน็ แกป่ ระโยชนข์ องประชาชนเปน็ ส�ำ คญั ประเทศชาตกิ จ็ ะสามารถ
พฒั นาไปได้อย่างม่ันคง

ความสำ�คัญของการเปน็ เยาวชนที่ดี
การเปน็ เยาวชนที่ดีมคี วามส�ำ คญั ต่อตนเองและประเทศชาติ ดงั น้ี
๑. ความสำ�คัญต่อตนเอง เยาวชนท่ีดีต้องเปน็ ผู้มคี ุณธรรม จริยธรรม ในการด�ำ เนินชวี ิต คิดดี ทำ�ดี
เพอื่ ตนเองและเพอ่ื สว่ นรวม ปฏบิ ตั ติ นตามหนา้ ทที่ ไี่ ดร้ บั มอบหมาย จะท�ำ ใหม้ สี ขุ ภาพกาย สขุ ภาพจติ ทดี่ ี
สรา้ งสัมพนั ธภาพท่ีดีระหว่างกนั และกนั เป็นที่รกั ของคนรอบข้าง
86 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๒. ความส�ำ คญั ตอ่ สว่ นรวม เมอื่ เยาวชนไดร้ บั การปลกู ฝงั ใหเ้ ปน็ เยาวชนทด่ี แี ลว้ กจ็ ะเปน็ พลเมอื งทดี่ ี
ในอนาคตและถา้ ประเทศชาตมิ พี ลเมอื งทด่ี ี มคี วามรบั ผดิ ชอบปฏบิ ตั ติ ามกฎระเบยี บ กตกิ าของสงั คมและ
นำ�หลักประชาธิปไตยมาใช้เป็นแนวทางในการกำ�หนดบทบาทหน้าที่ของตน ก็ย่อมทำ�ให้การอยู่ร่วมกัน
ในสงั คมเปน็ ไปอย่างสงบสุข
๓. ความสำ�คัญต่อประเทศชาติ เม่ือสังคมมีเยาวชนที่ดีและมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางสังคม
ยอ่ มเปน็ พน้ื ฐานท�ำ ใหเ้ กดิ พลเมอื งดใี นอนาคตและเมอ่ื สงั คมมพี ลเมอื งทด่ี ี ยอ่ มน�ำ มาซง่ึ การพฒั นาประเทศชาติ
ใหเ้ จรญิ ก้าวหนา้ ต่อไปอย่างรวดเร็ว
การปฏบิ ตั ิตนเปน็ เยาวชนที่ดตี ามสถานภาพที่ดีตามสถานภาพและบทบาท
๑. เยาวชนกับการเป็นสมาชิกที่ดีของครอบครัว เยาวชนในสถานภาพของการเป็นบุตร ควรมี
บทบาทหน้าท่ี ดงั น้ี
๑.๑ เคารพเชอ่ื ฟังบิดามารดา
๑.๒ ช่วยเหลือบิดา มารดา ในทกุ โอกาสทท่ี �ำ ได้
๑.๓ ใช้จา่ ยอย่างประหยดั ไมฟ่ ุ่มเฟือย สุรุ่ยสรุ ่าย
๑.๔ มีความรักใคร่ปรองดองในหมพู่ ่ีน้อง
๑.๕ ต้ังใจศึกษาเล่าเรียน
๑.๖ ประพฤตติ นใหส้ มกบั เป็นผดู้ ำ�รงวงศ์ตระกูล
๒. เยาวชนกับการเป็นสมาชิกท่ีดขี องโรงเรยี น เยาวชนในฐานะนกั เรยี นควรมีบทบาทหน้าท่ี ดงั น้ี
๒.๑ รบั ผิดชอบในหนา้ ทีข่ องนกั เรยี น คือ ต้งั ใจเลา่ เรียน ประพฤติตนเปน็ คนดี
๒.๒ เชอื่ ฟงั ค�ำ สัง่ สอนอบรมของครอู าจารย์
๒.๓ กตญั ญรู ู้คณุ ของครอู าจารย์
๒.๔ รกั ใครป่ รองดองกันในหมเู่ พ่ือนนกั เรียน
๒.๕ สง่ เสรมิ เพือ่ นในทางทถี่ ูกทีค่ วร
๓. เยาวชนกับการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของชุมชน ชุมชน คอื สังคมขนาดเลก็ เชน่ หมบู่ ้านหรอื กลมุ่ คน
โดยเยาวชนเป็นส่วนหน่งึ ของชุมชนทีต่ นอาศยั อยู่ จึงตอ้ งมบี ทบาทหน้าทีต่ อ่ ชุมชน ดังน้ี
๓.๑ รักษาสุขลักษณะของชมุ ชน เชน่ การทิ้งขยะใหเ้ ปน็ ท่ี ชว่ ยกำ�จัดสิ่งปฏกิ ูลตา่ งๆ เป็นตน้
๓.๒ อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน เช่น ไม่ขีดเขียนทำ�ลายโบราณวัตถุในชุมชน ช่วยกันดูแล
สาธารณสมบัติ
๔. เยาวชนกบั การเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของประเทศชาติ
๔.๑ เขา้ รับการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ๑๒ ปี
๔.๒ ปฏิบัตติ นตามกฎหมาย
๔.๓ ใช้สทิ ธิในการเลือกต้ัง
๔.๔ ใช้ทรัพยากรอย่างค้มุ ค่า
๔.๕ สืบทอดประเพณีวฒั นธรรมอันดีงามของไทย
๔.๖ ชว่ ยเหลอื กจิ กรรมต่าง ๆ ทีท่ างราชการจดั ขน้ึ
๔.๗ ประกอบอาชพี สจุ ริตด้วยความขยนั หมนั่ เพียร
๔.๘ ประหยดั อดอออม
อ้างองิ www.kmutt.ac.th/building/pdf/mod๕๙/๔/๓.pdf สบื คน้ วนั ที่ ๕ สิงหาคม ๒๕๖๑

ระดับช้นั มัธยมศึกษาปที ี่ ๒ 87

แบบประเมินการทำ�งานเปน็ กลุม่

กลุ่มท…่ี …………....ช้ัน………………………...เรื่อง……………………………..……………………………...............

ผ้ปู ระเมนิ  ครผู สู้ อน  นกั เรยี น  อนื่ ๆ
คำ�ชีแ้ จง เม่ือผู้ประเมินอ่านข้อความแต่ละข้อแล้วให้ตอบในเร่ืองท่ีตรงกับการปฏิบัติของนักเรียน
มากทสี่ ุดคือ
- ไม่ปฏิบัตเิ ลยใหใ้ ส่ เครอ่ื งหมายลงในชอ่ งคะแนน ๑
- ปฏิบตั เิ พียงเล็กน้อยให้ใส่ เครอื่ งหมายลงในช่องคะแนน ๒
- ปฏบิ ตั ิเปน็ ครง้ั คราวให้ใส่เครื่องหมาย  ลงในชอ่ งคะแนน ๓
- ปฏบิ ัติบอ่ ยๆใหใ้ ส่เคร่อื งหมาย  ลงในช่องคะแนน ๔
- ปฏบิ ตั ิเปน็ ประจ�ำ ใหใ้ ส่เครื่องหมาย  ลงในช่องคะแนน ๕

พฤตกิ รรมที่ตอ้ งประเมนิ ๕ ๔๓ ๒ ๑

๑. การวางแผนการท�ำ งานรว่ มกนั
๒. การแบง่ หน้าท่รี บั ผิดชอบในกลุ่ม
๓. การใหค้ วามร่วมมอื ของสมาชิก
๔. การยอมรับฟงั ความคดิ เห็นของผ้อู ืน่
และการแสดงความคดิ เหน็
๕. การแก้ปญั หาภายในกลมุ่

รวม

เกณฑ์การประเมิน
ไดค้ ะแนน ๑๗ คะแนนขนึ้ ไป ถอื ว่าผา่ นเกณฑ์การประเมิน ผา่ น

ลงชอ่ื ................................................ ประเมนิ
(...............................................)

88 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพมิ่ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”

แบบประเมินผลการน�ำ เสนอผลงาน

เรอื่ ง……………………………..………………………….................…..
ผปู้ ระเมนิ  ครูผ้สู อน  นกั เรียน  อืน่ ๆ

ท่ี รายการประเมิน ผ้ปู ระเมนิ รวม เกณฑก์ ารประเมิน

ตนเอง เพื่อน ครู

๑ เน้ือหา (๔ คะแนน) คะแนน ๔ มีครบทุกขอ้
๑. เนือ้ หาครบถว้ นสมบรู ณ์ คะแนน ๓ มี ๓ ขอ้ ขาด ๑ ข้อ
๒. เนื้อหาถกู ตอ้ ง คะแนน ๒ มี ๒ ขอ้ ขาด ๒ ขอ้
๓. เน้ือหาตอ่ เนอ่ื ง คะแนน ๑ มี ๑ ขอ้ ขาด ๓ ขอ้
๔. มกี ารคน้ คว้าเพม่ิ เติม

๒ กระบวนการทำ�งาน (๒ คะแนน) คะแนน ๒ มีครบทุกขอ้
๑. มีการวางแผนอยา่ งเป็นระบบ คะแนน ๑ มี ไมค่ รบ ๔ ขอ้
๒.การปฏิบตั ติ ามแผน คะแนน ๐ ไม่ปรากฏกระบวนการท�ำ งานทช่ี ดั เจน
๓. ติดตามประเมินผล คะแนน ๒ มีครบทุกข้อ
๔. การปรับปรงุ พัฒนางาน คะแนน ๑.๕ มี ๓ ขอ้ ขาด ๑ ขอ้
คะแนน ๑ มี ๒ ข้อ ขาด ๒ ขอ้
๓ การนำ�เสนอ (๒ คะแนน) คะแนน ๐.๕ มี ๑ ขอ้ ขาด ๓ ข้อ
๑. การใชส้ ำ�นวนภาษาดถี ูกตอ้ ง
๒. การสะกดและไวยากรณถ์ ูกตอ้ ง
๓. รูปแบบนา่ สนใจ
๔. ความสวยงาม

๔ คุณธรรม (๒ คะแนน) คะแนน ๒ มีครบทุกข้อ
๑. ตรงต่อเวลา คะแนน ๑.๕ มี ๓ ข้อ ขาด ๑ ข้อ
๒. ซอ่ื สตั ย์ คะแนน ๑ มี ๒ ข้อ ขาด ๒ ขอ้
๓. ความกระตือรือรน้ คะแนน ๐.๕ มี ๑ ข้อ ขาด ๓ ขอ้
๔. ความมีน้ำ� ใจ

รวม คะแนนเตม็ ๑๐ คะแนน
เฉลี่ย

ลงช่ือผู้ประเมนิ …………………………….. ตนเอง
ลงชอื่ ผู้ประเมนิ …………………………….. เพ่ือน
ลงชอื่ ผ้ปู ระเมนิ …………………………….. ครู

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 89

แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๔ ชว่ั โมง

หนว่ ยที่ ๔ ช่ือหน่วย พลเมอื งและความรับผิดชอบต่อการทจุ รติ
ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒
แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี ๓ รอ่ื ง สร้างสำ�นกึ ความเป็นพลเมอื งตอ่ ประเทศ

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกับพลเมืองและมีความรบั ผิดชอบตอ่ สังคม
๑.๒ ปฏิบตั ิตนตามหนา้ ทีพ่ ลเมืองและมีความรบั ผดิ ชอบต่อสังคม
๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำ คัญของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ นกั เรยี นบอกความหมายของค�ำ ว่าสร้างสำ�นกึ ความเป็นพลเมอื งต่อประเทศ
๒.๒ นกั เรียนระบุพฤตกิ รรมทม่ี ตี อ่ การสร้างสำ�นึกความเปน็ พลเมอื งตอ่ ประเทศ
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
- สรา้ งส�ำ นึกความเปน็ พลเมืองต่อประเทศ
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
๑) ความสามารถในการคิด
- ทกั ษะการคดิ วิเคราะห/์ คิดอย่างมีวจิ ารณญาณ
- ทกั ษะกระบวนการคดิ เชิงสรา้ งสรรค์
๓.๓ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค/์ ค่านยิ ม
๑) รักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒) มวี ินยั
๓) มุ่งมั่นในการทำ�งาน
๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรยี นรู้
ชัว่ โมง ๑ - ๒
๑) ครตู งั้ ประเดน็ ค�ำ ถามนกั เรยี นชว่ ยกนั ตอบถงึ หนา้ ทร่ี บั ผดิ ชอบของนกั เรยี นทมี่ ตี อ่ โรงเรยี น
บ้าน และสังคมชุมชนโดยมีประเด็นคำ�ถาม เช่น นักเรียนมีหน้าท่ีใดบ้าง ต่อตนและผู้อื่นขณะอยู่บ้าน
โรงเรียน และสงั คม
๒) ครูและนักเรียนอภิปรายเพ่ือหาความหมายของความรับผิดชอบ ต่อตนเองและผู้อ่ืน
เพือ่ เชอ่ื มโยงความรู้แก่นักเรียนในประเด็นสร้างส�ำ นึกความเปน็ พลเมืองตอ่ ประเทศ
๓) ครูนักเรียนแต่ละคนเขียนบทบาทความรับผิดชอบ โดยแบ่งเป็นงานในโรงเรียน ชุมชน
และประเทศ โดยเขยี นลงในกระดาษที่ครแู จกใหแ้ ลว้ สง่ ครู

90 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

๔) ครแู จกใบงานท่ี ๑ เรอื่ ง ความรบั ผดิ ชอบโดยใหน้ กั เรยี นออกไปศกึ ษาในประเด็นปญั หา
ตา่ ง ๆ ของชมุ ชนท่อี ยูร่ อบๆโรงเรียนหรือในหมบู่ า้ นของนักเรียน และปญั หาสงั คมในระดบั ประเทศ
ชั่วโมง ๓ - ๔
๕) แบง่ กลมุ่ กลมุ่ ละ ๔ - ๕ คน โดยใช้กระบวนการกล่มุ จะท�ำ ใหเ้ กดิ การเรียนร้ทู ี่จะยอมรบั
ความแตกต่าง เคารพสิทธิและรู้จักการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นทำ�งานร่วมกับผู้อ่ืน วิเคราะห์ปัญหา
หาสาเหตุ และเสนอวิธีการแก้ปัญหาลงในกระดาษชาร์ตท่ีแจกให้กลุ่มละ ๑ แผ่นจากท่ีได้ลงพื้นท่ี
โดยครูคอยดูแนะน�ำ และให้ค�ำ ปรกึ ษา
๖) นักเรียนแตล่ ะกลมุ่ ออกมานำ�เสนอผลงาน
๗) ครสู รปุ เพม่ิ เตมิ ถงึ การท�ำ งานโดยใชก้ ระบวนการกลมุ่ จะท�ำ ใหเ้ กดิ การเรยี นรทู้ จ่ี ะยอมรบั
ความแตกต่าง เคารพสิทธแิ ละร้จู ักการท�ำ งานร่วมกบั ผู้อืน่ ส�ำ หรับการลงมอื ปฏิบตั ิจะทำ�ให้เกิดจิตส�ำ นกึ
ที่จะเป็นส่วนหนึ่งของสังคม และพัฒนาไปสู่การสร้างสำ�นึกความเป็นพลเมืองท่ีร่วมกันรับผิดชอบ
ต่อสงั คม ชมุ ชน และประเทศ
๔.๒ สื่อการเรียนร้/ู แหลง่ เรยี นรู้
๑) ใบงานท่ี ๑ เรือ่ ง ความรบั ผดิ ชอบ
๒) กระดาษชาร์ต
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
๑) สังเกตกระบวนการท�ำ งานกล่มุ
๒) การน�ำ เสนอผลงาน
๓) ตรวจผลงาน
๔) ประเมนิ คุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๒ เครือ่ งมือที่ใช้ในการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตกระบวนการท�ำ งานกลุม่
๒) แบบประเมินคุณลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสิน
นักเรยี นได้คะแนนในระดับดีข้นึ ไปถอื ว่า ผ่าน
๖. บันทึกหลงั การจดั ประสบการณ์
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชื่อ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

ระดับชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 91

๗. ภาคผนวก

ใบงานที่ ๑
เร่ือง ความรบั ผดิ ชอบ

ค�ำ ช้ีแจง ใหน้ ักเรียนใชเ้ วลาวา่ งในวันเสาร ์ อาทิตย์ ออกไปสัมผัสกับปญั หาตา่ งๆ ของชุมชนที่อย่รู อบ ๆ
โรงเรยี นหรือในชุมชนหมู่บ้านของตนเอง โดยต้ังคำ�ถามวา่ พบเหน็ ปญั หาอะไรบา้ ง

ปญั หาตา่ ง ๆ ของชมุ ชนรอบ ๆ โรงเรยี น ปัญหาสังคมในระดับประเทศ
หรือในหมู่บ้านของนักเรียน

92 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ “มวี นิ ัย”


ค�ำ ชี้แจง ใส่เครอื่ งหมาย ลงในช่องทตี่ รงกับความเปน็ จริงตามเกณฑ์การประเมนิ

ปฏิบัติตามขอ้ ตกลง ตรงตอ่ เวลาในการ
กฎเกณฑ์ ระเบยี บ ปฏิบตั ิกิจกรรมต่าง ๆ
ข้อบงั คบั ของครอบครัว ในชีวติ ประจ�ำ วันและ รวม ผลการประเมนิ
เลขท่ี ชื่อ - สกุล โรงเรียนและสังคม รบั ผดิ ชอบในการ คะแนน

ไมล่ ะเมิดสทิ ธิของผู้อน่ื ท�ำ งาน

๓๒๑๐๓๒๑๐ ผ่าน ไมผ่ ่าน

รวม ลงชอื่ ……………………………..……..ครูผู้ประเมิน
(..........................................)
........../..................../..........




ระดับชน้ั มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ 93


Click to View FlipBook Version