The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

แผนการจัดการเรียนรู้ชั้น ม2

แผนการจัดการเรียนรู

“รายวชิ าเพมิ่ เติม การปองกันการทุจรติ ”
ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปท ี่ ๒

สาํ นักงานคณะกรรมการปอ งกันและปราบปรามการทจุ ริตแหงชาติ
รว มกับ สาํ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๖๑

แผนการจดั การเรียนรู้

“รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกนั การทุจริต”
ระดับช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒

ส�ำ นกั งานคณะกรรมการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ
ร่วมกับ ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช ๒๕๖๑

แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การป้องกนั การทุจรติ ”
ระดบั มัธยมศึกษาชนั้ ปีที่ ๒

พิมพค์ รง้ั ที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๖๒
จ�ำ นวนพิมพ์ ๑๓,๒๘๗ เลม่

ผู้จดั พมิ พ ์ ส�ำ นกั งานคณะกรรมการป้องกนั และปราบปรามการทจุ ริตแหง่ ชาติ
รว่ มกบั ส�ำ นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐาน

พิมพท์ ่ี ชมุ นุมสหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำ กัด สาขา ๔
๑๔๕, ๑๔๗ ถ.เลย่ี งเมืองนนทบรุ ี ต.ตลาดขวัญ อ.เมือง จ.นนทบุรี ๑๑๐๐๐
โทร. ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๐๗-๙, ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๓-๔ โทรสาร ๐ ๒๕๒๕ ๔๘๕๕
E-mail : [email protected] www.co-opthai.com





สารบญั



หนา้
โครงสร้างรายวชิ า ๑
หน่วยที่ ๑ การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม ๓
หน่วยท่ี ๒ ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจริต ๔๒
หน่วยที่ ๓ STRONG : จติ พอเพยี งต้านทจุ รติ ๖๕
หน่วยที่ ๔ พลเมืองกบั ความรับผดิ ชอบตอ่ สงั คม ๗๓
ภาคผนวก ๙๕
• คำ�สัง่ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ท่ี ๖๔๖/๒๕๖๐ เรื่องแตง่ ต้งั คณะกรรมการ ๙๖
จดั ท�ำ หลักสูตร หรือชุดการเรียนรู้และสื่อประกอบการเรียนรู้และสอ่ื ประกอบ
การเรียนรดู้ า้ นการป้องกันการทจุ รติ
• รายชอ่ื คณะท�ำ งานจัดทำ�หลกั สูตร หรอื ชุดการเรียนรู้และสอ่ื ประกอบการเรยี นร้ ู ๑๐๐
ดา้ นการป้องกันการทุจริต กลมุ่ การศกึ ษาขัน้ พนื้ ฐาน
• รายช่อื คณะบรรณาธกิ ารกิจ หลักสตู ร หรอื ชุดการเรยี นรู้และสอ่ื ประกอบการเรียนร้ ู ๑๐๔
ดา้ นการปอ้ งกันการทุจรติ กลมุ่ การศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
• รายชื่อคณะผู้ประสานงานการจัดท�ำ หลกั สตู ร หรอื ชุดการเรียนรูแ้ ละส่อื ประกอบ ๑๐๖
การเรียนรู้ ด้านการปอ้ งกันการทจุ ริต กลุ่มการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน ส�ำ นักงาน ป.ป.ช.



โครงสรา้ งรายวิชา ระดบั ปฐมวยั

ล�ำ ดบั หน่วยการเรียนรู้ เรอื่ ง จ�ำ นวน
๑. การคดิ แยกแยะระหว่าง ชั่วโมง
๑. สาเหตขุ องการทจุ รติ และทศิ ทางการปอ้ งกนั การทจุ ริต ๑๒
ผลประโยชน์ส่วนตน ในสงั คม
และผลประโยชน์ส่วนรวม ๒. การวเิ คราะห์ วจิ ารณ์ สงั เคราะห์ ผลประโยชนส์ ่วนตน ๘
ออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใชร้ ะบบคดิ ฐานสอง
๒. ความละอายและความไมท่ น ทสี่ ่งผลกระทบต่อประเทศในระดบั อาเซียน
ต่อการทุจริต ๓. การทจุ รติ ทเ่ี กดิ จากระบบการคดิ ฐานสบิ ในอาชพี ตา่ ง ๆ
ที่ส่งผลตอ่ ประเทศ และอาเซียน
๔. รูปแบบการขดั กนั ระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน
และผลประโยชนส์ ่วนรวม
๕. การขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม)
๖. การวิเคราะห์ ความสัมพนั ธ์การขดั กนั ระหว่าง
ผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมต่อประเทศ
และอาเซยี น
๗. การทจุ รติ ที่เกดิ ข้ึนภายในระดับประเทศ
๘. จริยธรรมท่ีใชใ้ นการป้องกันการทุจรติ ในระดบั ประเทศ
๙. สาเหตกุ ารเกดิ ของผลประโยชนท์ บั ซ้อนระดับประเทศ
๑๐. รปู แบบผลประโยชนท์ ับซอ้ นระดับประเทศ
๑๑. แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซอ้ น
ระดับประเทศ
๑. ลกั ษณะความละอายและความไมท่ นต่อการทจุ ริต
ในระดบั ประเทศ
๒. การลงโทษทางสังคมในระดับประเทศ
๓. กรณตี วั อยา่ ง ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทจุ รติ
ในกลุม่ ประเทศอาเซยี น

ระดับช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ 1

ล�ำ ดบั หนว่ ยการเรียนรู้ เรอ่ื ง จ�ำ นวน
๓. STRONG : จติ พอเพยี งตา้ น ช่ัวโมง
การประกอบอาชีพโดยใช้วสั ดทุ อ้ งถ่ิน ตามหลกั STRONG : ๑๐
ทจุ ริต จติ พอเพียงต้านทุจริต เกย่ี วกบั
๔. พลเมอื งกับความรับผิดชอบ ๑. การทำ� น�ำ้ ยาล้างจาน ๑๐
๒. การนวดแผนโบราณ
ตอ่ สังคม ๓. การซ่อมรถจกั รยาน ๔๐
๔. การทำ�ปยุ๋ ชีวภาพ
รวม ๕. การให้บริการ Home stay
๑. องคป์ ระกอบของการศกึ ษาความเปน็ พลเมอื ง

๑.๑ ความรับผิดชอบทางสงั คม
๑.๒ ความเกี่ยวพันชุมชน
๑.๓ ความสามารถในการอา่ น การเขยี น ทางการเมือง
๒. การเป็นพลเมืองดี
๒.๑ มงุ่ เน้นความรับผดิ ชอบระดบั บุคคล
๒.๒ การมีส่วนรว่ ม
๒. ๓ ความยุตธิ รรม
๓. การสรา้ งสำ�นึกพลเมอื งต่อประเทศ

2 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

หน่วยท่ี ๑

การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตน
และผลประโยชนส์ ว่ นรวม

แผนการจดั การเรยี นรู้
หนว่ ยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
แผนการจัดการเรียนรูท้ ี่ ๑ เร่อื ง สาเหตุของการทจุ ริตและทิศทางการปอ้ งกัน เวลา ๑ ช่ัวโมง
การทจุ ริตในสงั คม

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๑.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำ คัญของการต่อตา้ นและป้องกันการทุจรติ
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้
๒.๑ นกั เรยี นมคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั สาเหตขุ องการทจุ รติ และทศิ ทางการปอ้ งกนั การทจุ รติ
ในสังคมได้
๒.๒ ตระหนกั และเหน็ ความสำ�คัญของการตอ่ ต้านและปอ้ งกันการทุจริต
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
สาเหตขุ องการทุจริตและทิศทางการปอ้ งกันการทจุ ริตในสงั คม
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกดิ )
๑) ความสามารถในการคดิ วิเคราะห์
๑. ทักษะการสังเกต
๒. แยกแยะ
๒) ความสามารถในการสือ่ สาร (ฟัง พดู เขยี น อา่ น)
๓) ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ิต (วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
๓.๓ คุณลักษณะทพี่ งึ ประสงค/์ ค่านิยม
๑) มคี วามรักชาติ ศาสนา พระมหากษตั รยิ ์
๒) ซ่อื สัตย์ เสยี สละ อดทน มอี ุดมการณ์ในสง่ิ ทด่ี งี ามเพ่อื สว่ นรวม

ระดับชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๒ 3

๔. กิจกรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ข้นั ตอนการเรียนรู้
๑) ครนู �ำ ขา่ ว เรือ่ ง อวสานแผงคา้ รมิ ทางหลวงลนั่ ภายใน ๒ ปีรอื้ เกลย้ี ง มาใหน้ กั เรยี นอา่ น
จากนน้ั ครใู หน้ กั เรยี นจบั คสู่ นทนาทไี่ ดอ้ า่ นขา่ ววา่ เกดิ อะไรในขา่ ว เพราะเหตถุ า้ นกั เรยี นเปน็ แมค่ า้ รมิ ทาง
จะคิดอยา่ งไรกบั เหตุการณ์ท่ีเกดิ ขึ้น
๒) ครูนำ�ภาพแมค่ ้าท่ขี ายของริมทาง มาใหน้ ักเรยี นดทู หี่ น้าชนั้ เรยี นแล้วใหน้ กั เรียนชว่ ยกนั
คดิ จ�ำ แนกแยกแยะเกีย่ วกบั ผลประโยชน์สว่ นตนหรอื เหน็ ตอ่ ผลประโยชนส์ ่วนรวม
๓) ครอู ธบิ ายถงึ ความหมายของค�ำ วา่ การแยกแยะถงึ ผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม โดยน�ำ ตวั อยา่ งรูปภาพ “จากแมค่ า้ รมิ ทาง” มาพูดอธิบายให้ชดั เจน
๔) แบ่งนักเรียนออกเป็น ๔ กลุ่ม ครูแจกใบความรู้ที่ ๑ เร่ือง สาเหตุของการทุจริตและ
ทิศทาง การป้องกันการทุจริตในสังคม โดยนักเรียนร่วมกันระดมความคิดถึงสาเหตุของการทุจริต
ท่ีนอกเหนอื จากสิ่งที่ได้ศึกษาจากใบความรู้
๕) นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระดมความคิด จากใบความรู้แล้วเขียนเป็นแผนผังความคิด
สง่ ครตู รวจ
๖) นกั เรยี นแต่ละกลุม่ ส่งตวั แทนออกมาน�ำ เสนองานพร้อมทงั้ น�ำ ผลงานไปจัดป้ายนเิ ทศ
๔.๒ สื่อการเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
๑) ขา่ ว อวสานแผงค้ารมิ ทางหลวงลนั่ ภายใน ๒ ปรี อื้ เกล้ยี ง ในเวบ็ ไซต์
๒) รูปภาพแมค่ า้ ขายของรมิ ทาง
๓) ใบความรู้ เรือ่ ง การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
๑) ประเมนิ การน�ำ เสนอผลงาน
๒) ประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พึงประสงค์
๕.๒ เคร่ืองมอื ทใี่ ช้ในการประเมนิ
๑) แบบประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน
๒) แบบประเมนิ คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ
นกั เรียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดับดีขึน้ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บันทึกหลงั สอน
......................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................................
ลงชื่อ ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)
................/................/..............

4 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเตมิ การปอ้ งกันการทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

ใบความรทู้ ่ี ๑
เรื่อง สาเหตขุ องการทุจรติ และทศิ ทางการปอ้ งกนั การทุจรติ ในประเทศไทย

การทจุ รติ เปน็ หนงึ่ ในประเดน็ ทท่ี ว่ั โลกแสดงความกงั วล อนั เนอ่ื งมาจากเปน็ ปญั หาทมี่ คี วามซบั ซอ้ น
ยากต่อการจัดการและเกี่ยวข้องกับทุกภาคส่วนเป็นที่ยอมรับกันว่าการทุจริตนั้นมีความเป็นสากล
เพราะ มีการทุจริตเกิดข้ึนในทุกประเทศไม่ว่าจะเป็นประเทศท่ีพัฒนาแล้วหรือประเทศท่ีกำ�ลังพัฒนา
การทุจริตเกิดข้ึนทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน หรือแม้กระท่ังในองค์กรท่ีไม่แสวงหาผลกำ�ไรหรือองค์กร
เพื่อการกุศล ในปัจจุบันการกล่าวหาและการฟ้องร้องคดี การทุจริตยังมีบทบาทสำ�คัญในด้านการเมือง
มากกวา่ ชว่ งทผ่ี า่ นมา รฐั บาลในหลายประเทศมผี ลการปฏบิ ตั งิ านทไ่ี มโ่ ปรง่ ใส เทา่ ทค่ี วร องคก์ รระดบั โลก
หลายองค์กรเสื่อมเสียช่ือเสียง เน่ืองมาจากเหตุผลด้านความโปร่งใส สื่อมวลชนทั่วท้ังโลกต่างเฝ้ารอ
ทจี่ ะไดน้ �ำ เสนอขา่ วออื้ ฉาวและการประพฤตผิ ดิ จรยิ ธรรมดา้ นการทจุ รติ โดยเฉพาะบคุ คลซงึ่ ด�ำ รงต�ำ แหนง่
ระดบั สูงต่างถูกเฝา้ จบั จ้องวา่ จะถกู สอบสวนเม่อื ใด อาจกล่าวไดว้ า่ การทุจริตเปน็ หนงึ่ ในปัญหาใหญ่ท่จี ะ
ขดั ขวางการพฒั นาประเทศให้ เปน็ รฐั สมยั ใหม่ ซง่ึ ตา่ งเปน็ ทท่ี ราบกนั ดวี า่ การทจุ รติ ควรเปน็ ประเดน็ แรก ๆ
ที่ควรให้ความสำ�คญั ในวาระของการพัฒนาประเทศของทกุ ประเทศ
เหน็ ไดช้ ดั วา่ การทจุ รติ สง่ ผลกระทบอยา่ งมากกบั การพฒั นาประเทศ โดยเฉพาะอยา่ งยง่ิ ในประเทศ
ที่กำ�ลังพัฒนา เช่นเดียวกันกับกลุ่มประเทศในภูมิภาคเอเชียแปซิฟิกก็มีความกังวลในปัญหาการทุจริต
ด้วยเช่นเดียวกัน โดยเห็นพ้องต้องกันว่าการทุจริตเป็นปัญหาใหญ่ท่ีกำ�ลังขัดขวางการพัฒนาเศรษฐกิจ
การเมอื ง และสงั คม ให้กา้ วไปสู่รัฐสมยั ใหม่ และควรเป็นปญั หาทค่ี วรจะต้องรบี แก้ไขโดยเรว็ ที่สุด
การทุจริตนั้นอาจเกิดข้ึนได้ในประเทศท่ีมีสถานการณ์ ดังต่อไปนี้ ๑) มีกฎหมาย ระเบียบ หรือ
ขอ้ ก�ำ หนดจ�ำ นวนมากทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การด�ำ เนนิ การทางธรุ กจิ ซงึ่ จะเปน็ โอกาสทจี่ ะท�ำ ใหเ้ กดิ เศรษฐผล หรอื
มูลคา่ เพิม่ หรือก�ำ ไรส่วนเกินทางเศรษฐกิจ และโดยเฉพาะอย่างยิง่ หากมาตรการหรือข้อกำ�หนดดังกลา่ ว
มคี วามซบั ซอ้ น คลุมเครอื เลือกปฏบิ ตั ิ เปน็ ความลับหรือไม่โปร่งใส ๒) เจา้ หนา้ ทีผ่ ู้มอี ำ�นาจมสี ทิ ธ์ิขาด
ในการใช้ดุลยพินิจ ซึ่งให้อิสระในการเลือกปฏิบัติเป็นอย่างมากว่าจะเลือกใช้อำ�นาจใดกับใครก็ได้
๓) ไมม่ กี ลไกทมี่ ปี ระสทิ ธภิ าพหรอื องคก์ รทมี่ หี นา้ ทคี่ วบคมุ ดแู ลและจดั การตอ่ การกระท�ำ ใด ๆ ของเจา้ หนา้ ที่
ทมี่ อี �ำ นาจโดยเฉพาะอยา่ งยงิ่ ประเทศทกี่ �ำ ลงั พฒั นาการทจุ รติ มแี นวโนม้ ทจ่ี ะเกดิ ขน้ึ ไดอ้ ยา่ งมาก โดยไมใ่ ช่
เพยี งเพราะวา่ ลกั ษณะประชากรนนั้ แตกตา่ งจากภมู ภิ าคอน่ื ทพี่ ฒั นาแลว้ หากแตเ่ ปน็ เพราะกลมุ่ ประเทศ
ที่ก�ำ ลงั พฒั นานน้ั มปี จั จยั ภายในต่าง ๆ ท่เี อ้อื หรอื สนบั สนุนต่อการเกดิ การทจุ ริต อาทิ
๑) แรงขับเคล่ือนท่ีอยากมีรายได้เป็นจ�ำนวนมากอันเป็นผลเน่ืองมาจากความจนค่าแรงในอัตรา
ทตี่ �ำ่ หรอื มีสภาวะความเสีย่ งสูงในด้านต่างๆ เช่น ความเจ็บป่วย อบุ ตั เิ หตุ หรือการวา่ งงาน
๒) มีสถานการณ์หรอื โอกาสท่ีอาจกอ่ ให้เกิดการทุจรติ ไดเ้ ปน็ จำ�นวนมากและมกี ฎระเบียบต่าง ๆ
ท่อี าจน�ำ ไปสกู่ ารทจุ รติ

ระดับช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 5

๓) การออกกฎหมายและกระบวนการยุตธิ รรมที่ไม่เขม้ แข็ง
๔) กฎหมายและประมวลจริยธรรมไมไ่ ด้รบั การพัฒนาให้ทนั สมยั
๕) ประชากรในประเทศยังคงจ�ำ เป็นต้องพงึ่ พาทรพั ยากรธรรมชาตอิ ยู่เป็นจ�ำ นวนมาก
๖) ความไม่มเี สถียรภาพทางการเมืองและเจตจำ�นงทางการเมืองท่ไี ม่เข้มแข็ง
ปัจจัยต่าง ๆ ดงั กล่าว จะน�ำ ไปสู่การทุจรติ ไมว่ ่าจะเป็นทจุ ริตระดับบนหรือระดบั ลา่ งก็ตาม ซึง่ ผล
ท่ีตามมาอย่างเห็นได้ชัดเจนมีด้วยกันหลายประการ เช่น การทุจริตทำ�ให้ภาพลักษณ์ของประเทศด้าน
ความโปร่งใสน้ันเลวร้ายลง การลงทุนในประเทศโดยเฉพาะอย่างย่ิงจากนักลงทุนต่างชาติลดน้อยลง
ส่งผลกระทบทำ�ให้การเติบโตทางเศรษฐกิจลดน้อยลงไปด้วยเช่นกัน หรือการทุจริตทำ�ให้เกิดช่องว่าง
ของความไม่เท่าเทียมท่ีกว้างข้ึนของประชากรในประเทศหรืออีกนัยหน่ึงคือระดับความจนนั้นเพ่ิมสูงข้ึน
ในขณะท่ีกลุม่ คนรวยกระจุกตัวอยู่เพียงกลมุ่ เลก็ ๆ กลุ่มเดยี ว นอกจากน้กี ารทุจริตยงั ทำ�ใหก้ ารสรา้ งและ
ปรับปรุงสาธารณูปโภคต่างๆ ของประเทศนัน้ ลดลงทั้งในด้านปริมาณและคุณภาพ รวมท้ังยังอาจน�ำ พา
ประเทศไปสวู่ กิ ฤติทางการเงินทร่ี า้ ยแรงได้อีกด้วย
การเปล่ียนแปลงวิธีคิด (Paradigm Shift) จึงเป็นเรื่องสำ�คัญอย่างมากต่อการดำ�เนินงาน
ด้านการต่อต้านการทุจริต ตามคำ�ปราศรัยของประธานที่ได้กล่าวต่อท่ีประชุมองค์การสหประชาชาติ
ณ นครนวิ ยอรก์ สหรฐั อเมรกิ า เมอ่ื ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ วา่ “การทจุ รติ เปน็ หนง่ึ ในความทา้ ทายทม่ี คี วามส�ำ คญั มาก
ในศตวรรษท่ี ๒๑ ผู้นำ�โลกควรจะเพ่มิ ความพยายามขึน้ เป็นสองเท่าทจ่ี ะสรา้ งเครื่องมอื ทีม่ ีความเขม้ แขง็
เพอ่ื รอ้ื ระบบการทจุ รติ ทซ่ี อ่ นอยอู่ อกใหห้ มดและน�ำ ทรพั ยส์ นิ กลบั คนื ใหก้ บั ประเทศ ตน้ ทางทถ่ี กู ขโมยไป…”
ทง้ั นไ้ี มเ่ พยี งแตผ่ นู้ �ำ โลกเทา่ นน้ั ทต่ี อ้ งจรงิ จงั มากขน้ึ กบั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เราทกุ คนในฐานะประชากรโลก
กม็ คี วามจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งเอาจรงิ เอาจงั กบั การตอ่ ตา้ นการทจุ รติ เชน่ เดยี วกนั โดยทว่ั ไปอาจมองวา่ เปน็ เรอ่ื ง
ไกลตวั แตแ่ ทท้ จ่ี รงิ แลว้ การทจุ รติ นน้ั เปน็ เรอ่ื งใกลต้ วั ทกุ คนในสงั คมมาก การเปลย่ี นแปลงระบบวธิ กี ารคดิ
เป็นเรื่องส�ำคัญ หรือความสามารถในการการแยกแยะระหว่างประโยชน์ส่วนตนออกจากประโยชน์
สว่ นรวม เปน็ สงิ่ จ�ำเปน็ ทจี่ ะตอ้ งเกดิ ขน้ึ กบั ทกุ คนในสงั คมตอ้ งมคี วามตระหนกั ไดว้ า่ การกระท�ำใดเปน็ การ
ลว่ งลำ้� สาธารณประโยชน์ การกระท�ำใดเปน็ การกระท�ำทอี่ าจเกดิ การทบั ซอ้ นระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน
และประโยชน์ส่วนรวมต้องค�ำนึงถึงประโยชน์ของประเทศชาติเป็นอันดับแรกก่อนท่ีจะค�ำนึงถึง
ผลประโยชนส์ ่วนตนหรอื พวกพอ้ ง
6 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกันการทุจรติ ”

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยท่ี ๑ ชือ่ หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน และผลประโยชน์สว่ นรวม
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
แผนการจัดการเรียนร้ทู ่ี ๒ เร่อื ง สาเหตุของการทุจรติ และผลของการทุจริต เวลา ๒ ชั่วโมง
ท่ีส่งผลต่อประเทศในระดบั อาเซยี น

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๑.๓ ตระหนกั และเห็นความสำ�คญั ของการตอ่ ต้านและป้องกันการทุจริต
๒. จุดประสงค์การเรยี นรู้
๒.๑ นักเรียนสามารถวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์
ส่วนรวม โดยใช้ระบบคดิ ฐาน ๒ ที่สง่ ผลกระทบต่อประเทศในระดับอาเซียนได้
๒.๒ นักเรยี นสามารถวิเคราะห์การทุจริตที่เกดิ จากระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ในอาชพี ตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผล
ต่อประเทศและอาเซยี นได้
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) การวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์ ผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม
โดยใชร้ ะบบคดิ ฐาน ๒ ทสี่ ง่ ผลกระทบตอ่ ประเทศในระดบั อาเซยี น
๒) การทจุ รติ ทเี่ กดิ จากระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ในอาชพี ตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ประเทศและอาเซยี น
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) ทักษะการสงั เกต
๒) แยกแยะ
๓) ความสามารถในการสือ่ สาร (ฟงั พดู เขียน อา่ น)
๔) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ (วเิ คราะห์ จดั กลุ่ม สรปุ )
๓.๓ คุณลกั ษณะที่พงึ ประสงค์/คา่ นิยม
๑) มคี วามรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษตั ริย์
๒) ซ่ือสตั ย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณ์ในส่งิ ทด่ี ีงามเพ่ือสว่ นรวม
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขัน้ ตอนการเรยี นรู้
ชวั่ โมงท่ี ๑
๑) ครแู ละนักเรียนรว่ มกนั ทบทวนถึงสาเหตขุ องการทจุ รติ ทไ่ี ดเ้ รยี นไปในชว่ั โมงที่แล้ว
๒) ครเู ปดิ วดี ีทัศน์ เรื่อง “แกท้ ุจรติ คิดฐานสอง”

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒ 7

๓) นักเรียนร่วมทำ�กระบวนการกลุ่ม โดยใช่กลุ่มเดิมจากชั่วโมงท่ีแล้วศึกษาใบความรู้ที่ ๒
เรื่อง แก้ “ทุจรติ ” ต้องคดิ แยกแยะปรับวธิ ีคดิ พฤตกิ รรมเปลีย่ น สังคมเปลี่ยน ประเทศชาติเปลี่ยน
โลกเปลยี่ น ซ่งึ มีเนอ้ื หาเก่ียวกบั การคดิ ระบบฐาน ๒ และระบบฐาน ๑๐
๔) หลังจากการศึกษาใบความรู้ท่ี ๒ นักเรียนร่วมกันวิเคราะห์ วิจารณ์ สังเคราะห์
ผลประโยชน์ส่วนตนออกจากผลประโยชน์ส่วนรวม โดยใช้ระบบคิดฐาน ๒ ที่ส่งผลกระทบต่อประเทศ
ในระดับอาเซียน
ชว่ั โมงท่ี ๒
๑) นักเรียนร่วมกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กลุ่มเดิมช่วยกันระดมความคิดจากใบงาน เรื่อง
การทุจริตทเี่ กิดจากระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ในอาชีพต่างๆ ทส่ี ง่ ผลต่อประเทศและอาเซียน
๒) นกั เรยี นในกลมุ่ รว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั การทจุ รติ ทเ่ี กดิ จากระบบการคดิ ฐาน
๑๐ ในอาชีพตา่ ง ๆ ทีส่ ่งผลตอ่ ประเทศและอาเซียน
๓) ส่งตัวแทนนำ�เสนอหน้าช้ันเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนกลุ่มอื่น ๆ ร่วมกันซักถาม
และแสดงความคิดเห็น
๔.๒ สอื่ การเรยี นรู้/แหลง่ การเรยี นรู้
๑) วีดโี อ/คลิปวีดโี อ ฯลฯ (แกท้ ุจรติ คดิ ฐาน ๒)
๒) ใบความรู้ที่ ๒ เร่ือง แก้ “ทุจริต” ต้องคิดแยกแยะปรับวิธีคิด พฤติกรรมเปล่ียน
สงั คมเปลยี่ น ประเทศชาตเิ ปลย่ี น โลกเปลย่ี น ซงึ่ มเี นอ้ื หาเกยี่ วกบั การคดิ ระบบฐาน ๒ และระบบฐาน ๑๐
๓) ใบงาน เรอื่ ง การทจุ รติ ทเ่ี กดิ จากระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ในอาชพี ตา่ ง ๆ ทส่ี ง่ ผลตอ่ ประเทศ
และอาเซียน
๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ กี ารประเมิน
๑) ประเมนิ การน�ำ เสนอผลงาน
๒) ประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๒ เครือ่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการประเมิน
๑) แบบประเมนิ การนำ�เสนอผลงาน
๒) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พึงประสงค์
๕.๓ เกณฑ์การตัดสิน
นักเรียนผา่ นเกณฑ์การประเมนิ ระดบั ดีขึน้ ไปถอื วา่ ผ่าน
๖. บนั ทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ครูผสู้ อน
(...............................................)
8 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การป้องกนั การทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

ใบความรูท้ ี่ ๒
เรื่อง แก้ “ทุจริต” ต้องคดิ แยกแยะปรับวธิ ีคิด พฤตกิ รรมเปลี่ยน สังคมเปล่ียน

ประเทศชาติเปลี่ยน โลกเปลย่ี น

ทำ�ไมจึงใชร้ ะบบเลขฐานสิบ (Analog) และระบบเลขฐานสอง (Digital)

“ทจุ ริต”ท�ำ ไม มาใช้แยกแยะการแก้ ระบบเลข “ฐานสิบ” (decimal number
เรามาเข้าใจและมาคิดแบบระบบเลข system) หมายถึง ระบบเลขท่ีมีตัวเลข 10 ตัว คือ
กันเถอะ 0, 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 เป็นระบบคดิ เลขทเ่ี ราใชใ้ น
ชวี ติ ประจ�ำ วนั กนั มาตง้ั แตจ่ �ำ ความกนั ไดไ้ มว่ า่ จะเปน็ การ
ใช้บอกปริมาณหรือบอกขนาดช่วยให้เกิดความเข้าใจ
Analog Thinking ที่ตรงกันในการสื่อความหมายสอดคล้องกับระบบ

“Analog” ท่ีใช้ค่าต่อเน่ืองหรือสัญญาณซึ่งเป็นค่าต่อ
เน่ืองหรือแทนความหมายของข้อมูล โดยการใช้ฟังก์ช่ัน
ทต่ี อ่ เนอื่ งหรือ Continuous

ระบบเลข “ฐานสอง” (binary number system) หมายถึง ระบบเลขทม่ี ีสัญลกั ษณ์
เพียงสองตวั คอื 0 (ศูนย)์ กบั 1 (หนงึ่ ) สอดคล้องกบั การท�ำ งานระบบ Digital ที่มลี ักษณะ
การท�ำ งานภายในเพียง 2 จังหวะ คอื 0 กับ 1 หรอื ON กบั OFF ตัดเดด็ ขาด หรอื Discret

เม่อื นำ�ระบบเลข “ฐานสิบ Analog” และ ระบบเลข “ฐานสอง Digital” มาปรบั ใช้เป็นแนวคดิ
คอื ระบบคดิ “ฐานสบิ Analog” และ ระบบคดิ “ฐานสอง Digital” จะเหน็ ได้ว่า
ระบบคดิ “ฐานสบิ Analog” เปน็ ระบบการคดิ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทม่ี ตี วั เลขหลายตวั และ อาจหมายถงึ
โอกาสทจ่ี ะเลอื กไดห้ ลายทางเกดิ ความคดิ ทหี่ ลากหลาย ซบั ซอ้ นหากน�ำ มาเปรยี บเทยี บกบั การปฏบิ ตั งิ าน
ของเจา้ หนา้ ทข่ี องรฐั จะท�ำ ใหเ้ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ตอ้ งคดิ เยอะตอ้ งใชด้ ลุ ยพนิ จิ เยอะอาจจะ น�ำ ประโยชนส์ ว่ นตน
และประโยชน์ส่วนรวมมาปะปนกนั ได้ แยกประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมออกจากกนั ไมไ่ ด ้
ระบบคดิ “ฐานสอง Digital” เปน็ ระบบการคดิ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ทสี่ ามารถเลอื กไดเ้ พยี ง ๒ ทางเทา่ นนั้
คอื ๐ (ศูนย)์ กบั ๑ (หน่ึง) และอาจหมายถึง โอกาสท่จี ะเลือกไดเ้ พียง ๒ ทาง เช่น ใชก่ บั ไมใ่ ช่, เท็จกับจรงิ ,
ท�ำ ไดก้ บั ท�ำ ไมไ่ ด,้ ประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เปน็ ตน้ จงึ เหมาะกบั การน�ำ มาเปรยี บเทยี บกบั
การปฏิบตั งิ านของเจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐที่ตอ้ งสามารถแยกเรือ่ งต�ำ แหนง่ หน้าท่กี ับเร่ืองสว่ นตัวออกจากกันได้
อยา่ งเด็ดขาดและไมก่ ระท�ำ การทเ่ี ป็นการขดั กนั ระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม

ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ 9

เรื่อง คดิ ใหไ้ ด้ คดิ ให้ดี คดิ ใหเ้ ป็น

คิดได้ ๑. คดิ กอ่ นทำ� (กอ่ นกระท�ำ การทุจรติ )
๒. คดิ ถงึ ผลเสยี ผลกระทบตอ่ ประเทศชาติ (ความเสยี หายทเ่ี กดิ ขน้ึ กบั ประเทศในทกุ ๆ ดา้ น)
๓. คดิ ถงึ ผไู้ ดร้ ับบทลงโทษจากการกระท�ำ การทจุ รติ (เอามาเป็นบทเรยี น)
๔. คดิ ถงึ ผลเสยี ผลกระทบท่ีจะเกดิ ข้นึ กบั ตนเอง (จะตอ้ งอยกู่ ับความเสี่ยงทจ่ี ะถูกรอ้ ง
เรียน ถกู ลงโทษไล่ออกและติดคกุ )
๕. คดิ ถงึ คนรอบขา้ ง (เสือ่ มเสียต่อครอบครวั และวงศต์ ระกูล)
๖. คดิ อย่างมีสติสัมปชญั ญะ

คดิ ดี ๑. คิดแบบพอเพียง ไม่เบียดเบียนตนเอง ไม่เบียดเบียนผู้อ่ืน และไม่เบียดเบียน

ประเทศชาติ
๒. คิดอย่างรบั ผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ กฎระเบียบ
๓. คดิ ตามคุณธรรมวา่ “ทำ�ดไี ด้ดี ท�ำ ชัว่ ได้ช่วั ”

คดิ เปน็ ๑. คดิ แยก เร่ือง ประโยชน์ส่วนบคุ คลและประโยชนส์ ว่ นรวมออกจากกันอยา่ งชดั เจน
๒. คิดแยก เร่อื ง ต�ำ แหนง่ หน้าที่ กบั เร่อื งส่วนตัวออกจากกนั
๓. คดิ ท่ีจะไม่นำ�ประโยชน์สว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวมมาปะปนกันมาก้าวก่ายกนั
๔. คิดทจ่ี ะไมเ่ อาประโยชนส์ ว่ นรวมมาเป็นประโยชนส์ ่วนตน
๕. คิดที่จะไมเ่ อาผลประโยชน์สว่ นรวมมาตอบแทนบุญคณุ สว่ นตน
๖. คิดเห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนรวมมากกวา่ ประโยชน์สว่ นตน เครือญาติ และพวกพอ้ ง

10 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การปอ้ งกนั การทุจริต”

ใบงาน
เร่ือง การทจุ ริตทเ่ี กิดจากระบบการคดิ ฐาน ๑๐ ในอาชพี ตา่ ง ๆ

ที่สง่ ผลต่อประเทศและอาเซยี น

การทุจริตจากอาชีพ ผลต่อประเทศ ผลตอ่ กลุ่มประเทศอาเซียน

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ 11

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยท่ี ๑ ชื่อหนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ช้นั มธั ยมศึกษาปที ี่ ๒
แผนการจดั การเรียนรูท้ ่ี ๓ เรื่อง รปู แบบการขัดกนั ระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตน เวลา ๒ ช่ัวโมง
และผลประโยชนส์ ่วนรวม

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๑.๓ ตระหนักและเห็นความสำ�คัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ มคี วามรู้ ความเขา้ ใจเกย่ี วกบั รปู แบบการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม
๒.๒ สามารถคิดแยกแยะการขดั กันระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวมได้
๒.๓ ตระหนักและเหน็ ความส�ำ คัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกนั การทจุ รติ
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) รูปแบบการขัดกนั ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
๒) การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเี่ กิด)
๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร (ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการพดู ทกั ษะการเขยี น)
๒) ความสามารถในการคิด (ทกั ษะการวิเคราะห์ ทักษะการจดั กลุม่ ทกั ษะการสรุป)
๓.๓ คุณลกั ษณะที่พึงประสงค/์ คา่ นิยม
๑) มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตรยิ ์
๒) อยู่อยา่ งพอเพียง
๔. กิจกรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรยี นรู้
ชั่วโมงที่ ๑
๑) ครูนำ�วีดีโอข่าว ท่ีเกี่ยวกับการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวมมาใหน้ กั เรยี นดแู ละชว่ ยกนั วเิ คราะหห์ วั ขอ้ ขา่ ววา่ การกระท�ำ ใดเปน็ การกระท�ำ ทเี่ ปน็ ผลประโยชน์
สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมและขัดกันอยา่ งไร
๒) ครแู ละนกั เรยี นรว่ มกนั แสดงความคดิ เหน็ พรอ้ มทงั้ อธบิ ายเหตผุ ลในประเดน็ การใชอ้ �ำ นาจ
ในทางทีผ่ ิด
๓) นักเรียนศึกษาใบความรู้ เร่ือง รูปแบบของการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน
และผลประโยชน์ส่วนรวม (Conflict of interest) พร้อมท้ังเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงรูปแบบและ
ความสมั พนั ธร์ ะหว่าง “การขดั กันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม”

12 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพมิ่ เตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

ช่วั โมงท่ี ๒
๑) ใหน้ กั เรียนศกึ ษาใบความรู้ เร่อื ง ตวั อย่างการขดั กนั ระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม (ชมุ ชน สงั คม)
๒) ครูใหน้ ักเรียนศกึ ษา คน้ ควา้ เพมิ่ เติมจากกจิ กรรมท่ี ๑ - ๒ จากแหลง่ เรียนรูต้ ่าง ๆ ของ
โรงเรยี น อาทิ ห้องสมดุ แหลง่ ข้อมูลสารสนเทศ ฯลฯ และน�ำ ความรทู้ ่ไี ด้มาอภิปราย
๓) ครตู ้งั ประเด็นคำ�ถาม
- หากสังคมไทยมีการปฏิบัติตนตามสิทธิและเสรีภาพ เคารพผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชน์และผลประโยชน์สว่ นรวมจะส่งผลดอี ย่างไร
๔) ครแู ละนักเรยี นชว่ ยกันสรปุ ความรู้
๔.๒ สื่อการเรยี นรู้/แหลง่ การเรียนรู้
๑. ส่ือการเรียนรู้
๑) วดิ โี อขา่ วทเี่ กย่ี วกบั การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒) ใบความรู้ เรอื่ ง รปู แบบของการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
ส่วนรวม
๓) ใบความรู้ เรอื่ ง ตวั อยา่ งการขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ น
รวม
๒. แหล่งเรียนรู้
๑) ห้องสมุดโรงเรียน
๒) แหล่งขอ้ มูลสารสนเทศ
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธีการประเมนิ
๑) สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานรายบุคคล
๒) สงั เกตคณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์
๕.๒ เคร่ืองมือทใี่ ชใ้ นการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
๒) แบบประเมนิ คณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ
๑) แบบสังเกตพฤตกิ รรมรายบคุ คล
- นกั เรียนตอ้ งผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดับ ดีข้ึนไป
๒) แบบประเมินคณุ ลักษณะอนั พงึ ประสงค์
- นกั เรยี นต้องผ่านเกณฑ์การประเมนิ ในระดบั ดขี ้นึ ไป
๖. บนั ทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ลงช่อื ................................................ ครูผสู้ อน
(...............................................)

ระดบั ชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ ๒ 13

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เร่อื ง รูปแบบของการขัดกันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ทฤษฎี ความหมาย และรปู แบบของการขัดกันระหวา่ งผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชน์
สว่ นรวม (Conflict of Interests)
คำ�ว่า Conflict of Interests มีผู้ให้คำ�แปลเป็นภาษาไทยไว้หลากหลาย เช่น “การขัดกัน
แห่งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวม” หรือ “การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตน
และประโยชนส์ ว่ นรวม” หรอื “การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ าธารณะและผลประโยชนส์ ว่ นตน” หรอื
“ประโยชน์ ทับซอ้ น” หรือ “ผลประโยชนท์ บั ซ้อน” หรอื “ผลประโยชน์ขัดกัน” หรอื บางทา่ นแปลวา่
“ผลประโยชนข์ ัดแย้ง” หรือ “ความขดั แย้งทางผลประโยชน”์
การขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชน์สว่ นรวม หรอื ท่เี รียกว่า Conflict of Interests
นั้นก็มีลักษณะทำ�นองเดียวกันกับกฎศีลธรรม ขนบธรรมเนียมจารีตประเพณี หลักคุณธรรม จริยธรรม
กลา่ วคือ การกระท�ำ ใด ๆ ทเี่ ปน็ การขดั กนั ระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและประโยชน์สว่ นรวมเปน็ สิง่ ท่ีควร
หลีกเล่ียงไม่ควรจะกระท�ำ แตบ่ ุคคลแตล่ ะคน แต่ละกลมุ่ แต่ละสงั คม อาจเห็นว่าเรือ่ งใดเปน็ การขดั กนั
ระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมแตกตา่ งกนั ไป หรอื เมอื่ เหน็ วา่ เปน็ การขดั กนั แลว้ ยงั อาจ
มีระดบั ของความหนกั เบาแตกตา่ งกนั อาจเห็นแตกตา่ งกันว่าเรอ่ื งใดกระท�ำ ได้ กระท�ำ ไมไ่ ดแ้ ตกตา่ งกนั
ออกไปอีกและในกรณที ม่ี กี ารฝ่าฝนื บางเร่ืองบางคนอาจเหน็ วา่ ไม่เปน็ ไร เปน็ เรื่องเล็กนอ้ ย หรืออาจเหน็
เปน็ เรือ่ งใหญ่ ต้องถกู ประณาม ตำ�หนิ ตฉิ ิน นินทา วา่ กลา่ ว ฯลฯ แตกต่างกนั ตามสภาพของสังคม
โดยพน้ื ฐานแลว้ เร่อื งการขดั กนั ระหว่างประโยชนสว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวม เป็นกฎศลี ธรรม
ประเภทหนงึ่ ทบ่ี ุคคลไม่พงึ ละเมิดหรอื ฝา่ ฝืน แตเ่ น่ืองจากมีการฝา่ ฝืนกนั มากข้ึน และบคุ คลผู้ฝา่ ฝนื ก็ไม่มี
ความเกรงกลวั หรอื ละอายตอ่ การฝา่ ฝนื นนั้ สงั คมกไ็ มล่ งโทษหรอื ลงโทษไมเ่ พยี งพอทจี่ ะมผี ลเปน็ การหา้ ม
การกระท�ำ ดงั กลา่ ว และในทส่ี ดุ เพอื่ หยดุ ยง้ั เรอื่ งดงั กลา่ วน้ี จงึ มกี ารตรากฎหมายทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั การขดั กนั
แห่งผลประโยชนม์ ากข้นึ ๆ และเปน็ เร่อื งที่สงั คมใหค้ วามสนใจมากขนึ้ ตามล�ำ ดับ
คู่มือการปฏิบัติสำ�หรับเจ้าหน้าท่ีของรัฐเพ่ือมิให้ดำ�เนินกิจการที่เป็นการขัดกันประโยชนส่วนตน
และประโยชนส์ ว่ นรวม ตามมาตรา ๑๒๖ แหง่ กฎหมายประกอบรฐั ธรรมนญู วา่ ดว้ ยการปอ้ งกนั และปราบปราม
การทุจรติ ได้ให้ความหมายไว้ดงั นี้
“ประโยชนส์ ว่ นตน (Private Interests) คอื การทบ่ี คุ คลทว่ั ไปในสถานะเอกชนหรอื เจา้ หนา้ ทข่ี อง
รัฐในสถานะเอกชนได้ทำ�กิจกรรมหรือได้กระทำ�การต่างๆ เพ่ือประโยชน์ส่วนตน ครอบครัว เครือญาติ
พวกพอ้ ง หรอื ของกลมุ่ ในสงั คมทม่ี คี วามสมั พนั ธก์ นั ในรปู แบบตา่ งๆ เชน่ การประกอบอาชพี การท�ำ ธรุ กจิ
การค้า การลงทนุ เพ่อื หาประโยชน์ในทางการเงินหรือในทางธุรกิจ เปน็ ต้น”

14 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เติม การป้องกนั การทุจรติ ”

“ประโยชนส์ ่วนรวมหรือประโยชนส์ าธารณะ (Public Interests) คือ การทบี่ คุ คลใด ๆ ในสถานะ
ทเี่ ปน็ เจา้ พนกั งานของรฐั ทรี่ ฐั ธรรมนญู ก�ำ หนด กรรมการ ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ในองคก์ รอสิ ระ และเจา้ พนกั งาน
ของรฐั ทคี่ ณะกรรมการ ป.ป.ช. ประกาศก�ำ หนด (เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื ง ตลุ าการ
ศาลรฐั ธรรมนูญ ผดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ในองค์กรอิสระ คณะกรรมการ ป.ป.ช.) ไดก้ ระทำ�การใด ๆ ตามหนา้ ที่
หรือได้ปฏิบัติหน้าท่ีอันเป็นการดำ�เนินการในอีกส่วนหน่ึงที่แยกออกมาจากการดำ�เนินการตามหน้าท่ี
ในสถานะของเอกชน การกระท�ำ การใดๆ ตามหนา้ ทข่ี องเจา้ พนกั งานของรฐั จงึ มวี ตั ถปุ ระสงคห์ รอื มเี ปา้ หมาย
เพื่อประโยชน์ของส่วนรวม หรือการรักษาประโยชน์ส่วนรวมท่ีเป็นประโยชน์ของรัฐการทำ�หน้าที่ของ
เจา้ พนกั งานของรฐั จงึ มคี วามเกยี่ วเนอื่ งเชอ่ื มโยงกบั อ�ำ นาจหนา้ ทต่ี ามกฎหมายและจะมรี ปู แบบของความ
สัมพันธ์หรือมีการกระทำ�ในลักษณะต่าง ๆ กันที่เหมือนหรือคล้ายกับการกระทำ�ของบุคคลในสถานะ
เอกชน เพียงแตก่ ารกระท�ำ ในสถานะทเ่ี ป็นเจา้ พนกั งานของรฐั กับการกระทำ�ในสถานะเอกชนจะมีความ
แตกตา่ งกันทว่ี ตั ถุประสงค์ เป้าหมายหรือประโยชน์สุดท้ายที่แตกต่างกัน”
“การขัดกันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ่วนรวมหรอื ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (Conflict
of Interests) คือ การท่ีเจ้าพนักงานของรัฐกระทำ�การใดๆ หรือดำ�เนินการในกิจการสาธารณะที่เป็น
การด�ำ เนินการตามอ�ำ นาจหน้าทีห่ รอื ความรบั ผดิ ชอบในกจิ การของรฐั หรือองคก์ รของรัฐ เพ่อื ประโยชน์
ของรัฐหรือเพื่อประโยชน์ของส่วนรวม แต่เจ้าพนักงานของรัฐได้มีผลประโยชน์ส่วนตนเข้าไปแอบแฝง
หรือเป็นผู้ที่มีส่วนได้เสียในรูปแบบต่าง ๆ หรือนำ�ประโยชน์ส่วนตนหรือความสัมพันธ์ส่วนตนเข้ามา
มอี ทิ ธพิ ลหรอื เกยี่ วขอ้ งในการใชอ้ �ำ นาจหนา้ ทห่ี รอื ดยุ ลพนิ จิ ในการพจิ ารณาตดั สนิ ใจในการกระท�ำ การใด ๆ
หรือด�ำ เนินการดงั กลา่ วนั้นเพ่ือแสวงหาประโยชนใ์ นการทางเงนิ หรือประโยชนอ์ ืน่ ๆ สำ�หรับตนเองหรือ
บคุ คลใดบคุ คลหนึง่ ”
รูปแบบของการขัดกันระหว่างประโยชนส์ ่วนตนและประโยชนส์ ่วนรวม
การขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวมมีได้หลายรูปแบบไม่จำ�กัดอยู่เฉพาะ
ในรปู แบบของตัวเงิน หรือทรพั ยส์ ินเท่านน้ั แต่รวมถึงผลประโยชน์อื่น ๆ ทไี่ มไ่ ด้อยูใ่ นรปู แบบของตวั เงนิ
หรอื ทรัพยส์ นิ ดว้ ย ทง้ั นี้ John Langford และ Kenneth Kernaghan ได้จำ�แนกรปู แบบของการขดั กัน
ระหวา่ งประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์สว่ นรวม ออกเป็น ๗ รูปแบบ คือ
๑) การรับผลประโยชน์ต่าง ๆ (Accepting benefits) ซึ่งผลประโยชน์ต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น
ทรัพยส์ ิน ของขวญั การลดราคา การรับความบันเทงิ การรับบรกิ าร การรับการฝึกอบรม หรือส่งิ อ่นื ใด
ในลกั ษณะเดยี วกันนี้ และผลจากการรับผลประโยชนต์ ่าง ๆ น้ัน ไดส้ ่งผลต่อการตดั สนิ ใจของเจา้ หน้าที่
ของรัฐในการด�ำ เนินการตามอำ�นาจหนา้ ท่ี
๒) การท�ำ ธรุ กจิ กบั ตนเอง (Self - dealing) หรอื เปน็ คสู่ ญั ญา (Contracts) เปน็ การทเ่ี จา้ หนา้ ท่ี
ของรัฐ โดยเฉพาะผู้มีอำ�นาจในการตัดสินใจเข้าไปมีส่วนได้เสียในสัญญาท่ีทำ�กับหน่วยงานท่ีตนสังกัด
โดยอาจจะเป็นเจ้าของบริษัทท่ีทำ�สัญญาเอง หรือเป็นของเครือญาติ สถานการณ์เช่นนี้เกิดบทบาท
ท่ีขดั แยง้ หรอื เรยี กไดว้ ่าเปน็ ทงั้ ผู้ซอื้ และผขู้ ายในเวลาเดียวกัน

ระดับชัน้ มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 15

๓) การท�ำ งานหลงั จากออกจากต�ำ แหนง่ หนา้ ทส่ี าธารณะหรอื หลงั เกษยี ณ (Postemployment)
เป็นการที่เจ้าหน้าที่ของรัฐลาออกจากหน่วยงานของรัฐ และไปทำ�งานในบริษัทเอกชนที่ดำ�เนินธุรกิจ
ประเภทเดียวกันหรือบริษัทท่ีมีความเก่ียวข้องกับหน่วยงานเดิม โดยใช้อิทธิพลหรือความสัมพันธ์จากที่
เคยด�ำ รงตำ�แหน่งในหน่วยงานเดมิ นนั้ หาประโยชนจ์ ากหนว่ ยงานให้กบั บรษิ ัทและตนเอง
๔) การท�ำ งานพเิ ศษ(Outsideemploymentormoonlighting)ในรปู แบบนม้ี ไี ดห้ ลายลกั ษณะ
ไม่ว่าจะเป็นการที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐต้ังบริษัทดำ�เนินธุรกิจที่เป็นการแข่งขันกับหน่วยงานหรือองค์การ
สาธารณะท่ีตนสังกัด หรือการรับจ้างพิเศษเป็นที่ปรึกษาโครงการ โดยอาศัยตำ�แหน่งในราชการ
สรา้ งความนา่ เชอื่ ถอื วา่ โครงการของผวู้ า่ จา้ งจะไมม่ ปี ญั หาตดิ ขดั ในการพจิ ารณาจากหนว่ ยงานทที่ ป่ี รกึ ษา
สังกดั อยู่
๕) การรู้ข้อมูลภายใน (Inside information) เป็นสถานการณท์ เ่ี จา้ หน้าท่ขี องรัฐใชป้ ระโยชน์
จากการท่ีตนเองรับรู้ข้อมูลภายในหน่วยงาน และนำ�ข้อมูลน้ันไปหาผลประโยชน์ให้กับตนเองหรือ
พวกพอ้ ง อาจจะไปหาประโยชนโ์ ดยการขายขอ้ มลู หรือเข้าเอาประโยชนเ์ สยี เอง
๖) การใช้ทรัพย์สินของราชการเพ่ือประโยชน์ธุรกิจส่วนตัว (Using your employer’s
property for private advantage) เปน็ การทเี่ จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั น�ำ เอาทรพั ยส์ นิ ของราชการซงึ่ จะตอ้ งใช้
เพอ่ื ประโยชนข์ องทางราชการเทา่ นน้ั ไปใชเ้ พอ่ื ประโยชนข์ องตนเองหรอื พวกพอ้ ง หรอื การใชใ้ หผ้ ใู้ ตบ้ งั คบั
บญั ชาไปท�ำ งานส่วนตวั
๗) การน�ำ โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตง้ั เพอ่ื ประโยชนท์ างการเมอื ง (Pork - barreling)
เปน็ การทผี่ ดู้ �ำ รงต�ำ แหนง่ ทางการเมอื งหรอื ผบู้ รหิ ารระดบั สงู อนมุ ตั โิ ครงการไปลงพนื้ ทหี่ รอื บา้ นเกดิ ของ
ตนเอง หรอื การใชง้ บประมาณสาธารณะเพือ่ หาเสยี ง
ทง้ั น้ี เมอื่ พจิ ารณา “ร่างพระราชบญั ญตั วิ ่าดว้ ยความผดิ เก่ยี วกับการขดั กันระหวา่ งประโยชนส์ ว่ นตนกับ
ประโยชนส์ ว่ นรวม พ.ศ. ....” ทำ�ใหม้ ีรูปแบบเพิ่มเติมจากท่ีกล่าวมาแล้วข้างตน้ อกี ๒ กรณี คอื
๘) การใชต้ �ำ แหนง่ หนา้ ทแ่ี สวงหาประโยชนแ์ กเ่ ครอื ญาตหิ รอื พวกพอ้ ง (Nepotism) หรอื อาจ
จะเรยี กว่าระบบอุปถมั ภ์พิเศษ เปน็ การทเี่ จ้าหนา้ ทีข่ องรฐั ใช้อทิ ธพิ ลหรอื ใชอ้ �ำ นาจหน้าทท่ี ำ�ใหห้ นว่ ยงาน
ของตนเข้าท�ำ สัญญากบั บริษัทของพ่ีน้องของตน
๙) การใช้อิทธิพลเข้าไปมีผลต่อการตัดสินใจของเจ้าหน้าที่รัฐ หรือหน่วยงานของรัฐอื่น
(influence)เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ตนเองหรือพวกพ้อง โดยเจ้าหน้าท่ีของรัฐใช้ตำ�แหน่งหน้าที่
ข่มขู่ผู้ใต้บังคบั บญั ชาใหห้ ยุดท�ำ การตรวจสอบบริษัทของเครือญาติของตน
16 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกนั การทจุ รติ ”

ใบความรู้
เร่ือง ตวั อย่างการขัดกนั ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม

ตวั อย่าง การขดั กันระหวา่ งประโยชน์สว่ นตนและประโยชนส์ ว่ นรวมในรูปแบบต่างๆ
๑. การรับผลประโยชนต์ ่าง ๆ

๑.๑ นายสุจริต ข้าราชการช้ันผู้ใหญ่ได้เดินทางไปปฏิบัติราชการในพื้นที่จังหวัดราชบุรี ซึ่งใน
วนั ดงั กลา่ ว นายรวย นายก อบต. แหง่ หนงึ่ ไดม้ อบงาชา้ งจ�ำ นวนหนง่ึ คใู่ หแ้ ก่ นายสจุ รติ เพอื่ เปน็ ของทร่ี ะลกึ
๑.๒ การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐรับของขวัญจากผู้บริหารของบริษัทเอกชน เพื่อช่วยให้บริษัทเอกชน
รายน้ันชนะการประมูลรับงานโครงการขนาดใหญ่ของรฐั
๑.๓ การทบ่ี รษิ ทั แหง่ หนงึ่ ใหข้ องขวญั เปน็ ทองค�ำ มลู คา่ มากกวา่ ๑๐ บาท แกเ่ จา้ หนา้ ทใ่ี นปที ผี่ า่ นมา
ละปนี เี้ จา้ หนา้ ทเี่ รง่ รดั คนื ภาษใี หก้ บั บรษิ ทั นนั้ เปน็ กรณพี เิ ศษ โดยลดั ควิ ใหก้ อ่ นบรษิ ทั อนื่ ๆ เพราะคาดวา่
จะไดร้ ับของขวญั อกี
๑.๔ การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐไปเป็นคณะกรรมการของบริษัทเอกชน หรือรัฐวิสาหกิจและได้รับ
ความบนั เทงิ ในรปู แบบตา่ ง ๆ จากบรษิ ทั เหลา่ นน้ั ซงึ่ มผี ลตอ่ การใหค้ �ำ วนิ จิ ฉยั หรอื ขอ้ เสนอแนะทเ่ี ปน็ ธรรม
หรอื เปน็ ไปในลักษณะทเ่ี อื้อประโยชน์ต่อบรษิ ทั ผใู้ หน้ นั้ ๆ
๑.๕ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ไดร้ บั ชดุ ไมก้ อลฟ์ จากผบู้ รหิ ารของบรษิ ทั เอกชน เมอื่ ตอ้ งท�ำ งานทเี่ กยี่ วขอ้ ง
กบั บรษิ ทั เอกชนแหง่ นน้ั กช็ ว่ ยเหลอื ใหบ้ รษิ ทั นน้ั ไดร้ บั สมั ปทาน เนอ่ื งจากรสู้ กึ วา่ ควรตอบแทนทเี่ คยไดร้ บั
ของขวัญมา

๒. การทำ�ธุรกิจกับตนเองหรือเป็นคสู่ ัญญา
๒.๑ การทเ่ี จา้ หนา้ ทใี่ นกระบวนการจดั ซอ้ื จดั จา้ งท�ำ สญั ญาใหห้ นว่ ยงานตน้ สงั กดั ซอื้ คอมพวิ เตอร์
สำ�นกั งานจากบริษัทของครอบครวั ตนเอง หรอื บริษทั ท่ีตนเองมีหุ้นส่วนอยู่
๒.๒ ผ้บู ริหารหนว่ ยงานทำ�สัญญาเช่ารถไปสัมมนาและดูงานกบั บริษทั ซง่ึ เปน็ ของเจา้ หน้าท่หี รอื
บริษัททผ่ี ู้บริหารมีหุ้นส่วนอยู่
๒.๓ ผู้บริหารของหน่วยงานทำ�สัญญาจ้างบริษัทท่ีภรรยาของตนเองเป็นเจ้าของมาเป็นท่ีปรึกษา
ของหนว่ ยงาน
๒.๔ ผู้บริหารของหน่วยงานทำ�สัญญาให้หน่วยงานจัดซื้อที่ดินของตนเองในการสร้างสำ�นักงาน
แหง่ ใหม่
๒.๕ ภรรยาอดีตนายกรัฐมนตรี ประมูลซ้ือที่ดินย่านถนนรัชดาภิเษกใกล้กับศูนย์วัฒนธรรม
แห่งประเทศไทย จากกองทุนเพ่ือการฟื้นฟูและพัฒนาระบบสถาบันการเงินในการดูแลของธนาคาร
แห่งประเทศไทย กระทรวงการคลงั โดยอดตี นายกรฐั มนตรี ซงึ่ ในขณะนน้ั ดำ�รงต�ำ แหน่งนายกรฐั มนตรี

ระดบั ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๒ 17

ในฐานะเจา้ พนกั งานมหี นา้ ทด่ี แู ลกจิ การของกองทนุ ฯ ไดล้ งนามยนิ ยอมในฐานะคสู่ มรสใหภ้ รรยาประมลู
ซ้ือท่ีดินและทำ�สัญญาซื้อขายที่ดินส่งผลให้เป็นคู่สัญญาหรือมีส่วนได้ส่วนเสียในสัญญาซ้ือท่ีดินโฉนด
แปลงดังกล่าว อันเป็นการขัดกันระหว่างประโยชน์ส่วนตนและประโยชน์ส่วนรวม เป็นการฝ่าฝืน
ต่อกฎหมาย มีความผิดตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจรติ พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๒๖ (๑)

๓. การท�ำ งานหลังจากออกจากตำ�แหน่งหนา้ ที่สาธารณะหรือหลงั เกษยี ณ
๓.๑ อดีตผู้อำ�นวยการโรงพยาบาลแห่งหน่ึง เพิ่งเกษียณอายุราชการไปทำ�งานเป็นท่ีปรึกษา
ในบริษัทผลิตหรือขายยา โดยใช้อิทธิพลจากท่ีเคยดำ�รงตำ�แหน่งในโรงพยาบาลดังกล่าว ให้โรงพยาบาล
ซอ้ื ยาจากบรษิ ทั ทตี่ นเองเปน็ ทป่ี รกึ ษาอยู่ พฤตกิ ารณเ์ ชน่ นมี้ มี ลู ความผดิ ทง้ั ทางวนิ ยั และทางอาญาฐานเปน็
เจ้าหน้าท่ีของรัฐปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างใดในพฤติการณ์ที่อาจทำ�ให้ผู้อื่นเชื่อว่าตนมีตำ�แหน่ง
หรือหนา้ ท่ี ทงั้ ที่ตนมิได้มีต�ำ แหน่งหรอื หนา้ ทน่ี ้นั เพื่อแสวงหาประโยชนท์ มี่ คิ วรไดโ้ ดยชอบดว้ ยกฎหมาย
สำ�หรับตนเองหรือผู้อ่ืน ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปราม
การทุจริต พ.ศ. ๒๕๖๑ มาตรา ๑๒๘
๓.๒ การทผี่ บู้ รหิ ารหรอื เจา้ หนา้ ทขี่ ององคก์ รดา้ นเวชภณั ฑแ์ ละสขุ ภาพออกจากราชการไปท�ำ งาน
ในบรษิ ทั ผลิตหรือขายยา
๓.๓ การที่ผู้บริหารหรือเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานที่เกษียณแล้วใช้อิทธิพลที่เคยดำ�รงตำ�แหน่ง
ในหน่วยงานรัฐ รับเป็นท่ีปรึกษาให้บริษัทเอกชนที่ตนเคยติดต่อประสานงาน โดยอ้างว่าจะได้ติดต่อกับ
หนว่ ยงานรฐั ได้อยา่ งราบรนื่
๓.๔ การวา่ จา้ งเจา้ หนา้ ทผี่ เู้ กษยี ณมาท�ำ งานในต�ำ แหนง่ เดมิ ทหี่ นว่ ยงานเดมิ โดยไมค่ มุ้ คา่ กบั ภารกจิ
ทีไ่ ด้รับมอบหมาย

๔. การทำ�งานพเิ ศษ
๔.๑ เจา้ หนา้ ทต่ี รวจสอบภาษี ๖ ส�ำ นกั งานสรรพากรจงั หวดั ในสว่ นภมู ภิ าค ไดจ้ ดั ตง้ั บรษิ ทั รบั จา้ ง
ทำ�บัญชีและให้คำ�ปรึกษาเกี่ยวกับภาษีและมีผลประโยชน์เกี่ยวข้องกับบริษัท โดยรับจ้างทำ�บัญชีและ
ยน่ื แบบแสดงรายการใหผ้ เู้ สยี ภาษใี นเขตจงั หวดั ทร่ี บั ราชการอยแู่ ละจงั หวดั ใกลเ้ คยี งกลบั มพี ฤตกิ ารณช์ ว่ ยเหลอื
ผเู้ สยี ภาษใี หเ้ สยี ภาษนี อ้ ยกวา่ ความเปน็ จรงิ และรบั เงนิ คา่ ภาษอี ากรจากผเู้ สยี ภาษบี างรายแลว้ มไิ ดน้ �ำ ไป
ยื่นแบบแสดงรายการชำ�ระภาษีให้ พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการไม่ปฏิบัติตามข้อบังคับ
กรมสรรพากรวา่ ดว้ ยจรรยาข้าราชการ กรมสรรพากร พ.ศ. ๒๕๕๙ ขอ้ ๙ (๗) (๘) และอาศยั ตำ�แหน่ง
หน้าที่ราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเองเป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา ๘๓ (๓)
แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ อกี ทงั้ เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทร่ี าชการโดยมชิ อบ
เพ่ือให้เกิดความเสยี หายแกท่ างราชการโดยร้ายแรง และปฏิบตั หิ นา้ ท่ีราชการโดยทุจรติ และยังกระทำ�

18 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวชิ าเพิม่ เติม การป้องกนั การทุจริต”

การอนั ไดช้ อ่ื วา่ เปน็ ผปู้ ระพฤตชิ ว่ั อยา่ งรา้ ยแรงเปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑) และ (๔)
แห่งพระราชบัญญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑
๔.๒ นิติกร ฝ่ายกฎหมายและเร่งรัดภาษีอากรค้าง สำ�นักงานสรรพากรจังหวัดในส่วนภูมิภาค
หารายได้พิเศษโดยการเป็นตัวแทนขายประกันชีวิตของบริษัทเอกชนได้อาศัยโอกาสที่ตนปฏิบัติหน้าที่
เรง่ รดั ภาษอี ากรคา้ งผปู้ ระกอบการรายหนง่ึ หาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองดว้ ยการขายประกนั ชวี ติ ใหแ้ กห่ นุ้ สว่ น
ผจู้ ดั การของผปู้ ระกอบการดงั กลา่ ว รวมทง้ั พนกั งานของผปู้ ระกอบการนน้ั อกี หลายคนในขณะทตี่ นก�ำ ลงั
ดำ�เนินการเร่งรัดภาษีอากรค้าง พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าวเป็นการอาศัยตำ�แหน่งหน้าท่ีราชการ
ของตน หาประโยชนใ์ หแ้ กต่ นเองเปน็ ความผดิ วนิ ยั อยา่ งไมร่ า้ ยแรง ตามมาตรา ๘๓ (๓) ประกอบมาตรา ๘๔
แหง่ พระราชบัญญัตริ ะเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
๔.๓ การทเ่ี จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั อาศยั ต�ำ แหนง่ หนา้ ทท่ี างราชการรบั จา้ งเปน็ ทปี่ รกึ ษาโครงการ เพอื่ ให้
บริษทั เอกชนทว่ี า่ จ้างนั้นมีความนา่ เชอ่ื ถือมากกว่าบรษิ ทั คแู่ ข่ง
๔.๔ การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐไม่ทำ�งานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่แต่เอาเวลา
ไปรบั งานพิเศษอื่น ๆ ทอี่ ยนู่ อกเหนืออำ�นาจหน้าที่ทไี่ ดร้ บั มอบหมายจากหนว่ ยงาน
๔.๕ การทผี่ ตู้ รวจสอบบญั ชภี าครฐั รบั งานพเิ ศษเปน็ ทปี่ รกึ ษา หรอื เปน็ ผทู้ �ำ บญั ชใี หก้ บั บรษิ ทั ทต่ี อ้ ง
ถูกตรวจสอบ

๕. การรูข้ อ้ มลู ภายใน
๕.๑ นายช่าง ๕ แผนกชุมสายโทรศัพท์เคล่ือนท่ี องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทยได้นำ�ข้อมูล
เลขหมายโทรศพั ทเ์ คลอ่ื นทร่ี ะบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแ้ กผ่ อู้ น่ื จ�ำ นวน ๔๐ หมายเลข
เพื่อนำ�ไปปรับจูนเข้ากับโทรศัพท์เคลื่อนท่ีที่นำ�ไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลท่ัวไป
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗
และ มาตรา ๑๖๔ และ มีความผิดวนิ ยั ข้อบงั คบั องค์การโทรศัพทแ์ ห่งประเทศไทยวา่ ดว้ ยการพนักงาน
พ.ศ. ๒๕๓๖ ขอ้ ๔๔ และ ๔๖
๕.๒ การที่เจ้าหน้าท่ีของรัฐทราบข้อมูลโครงการตัดถนนเข้าหมู่บ้าน จึงบอกให้ญาติพี่น้องไปซื้อ
ที่ดนิ บรเิ วณโครงการดงั กลา่ ว เพือ่ ขายใหก้ บั ราชการในราคาทีส่ งู ข้ึน
๕.๓ การท่ีเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ
อปุ กรณท์ จี่ ะใชใ้ นการวางโครงขา่ ยโทรคมนาคม แลว้ แจง้ ขอ้ มลู ใหก้ บั บรษิ ทั เอกชนทต่ี นรจู้ กั เพอ่ื ใหไ้ ดเ้ ปรยี บ
ในการประมลู
๕.๔ เจ้าหน้าที่พัสดุของหน่วยงานเปิดเผยหรือขายข้อมูลที่สำ�คัญของฝ่ายที่มายื่นประมูลไว้ก่อน
หนา้ ให้แก่ผ้ปู ระมูลรายอื่นทใี่ หผ้ ลประโยชน์ท�ำ ใหฝ้ ่ายท่ีมายื่นประมลู ไวก้ อ่ นหน้าเสียเปรียบ

ระดบั ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 19

๖. การใช้ทรพั ย์สินของราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ่วนตน
๖.๑ คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อำ�นาจหน้าท่ีโดยทุจริตด้วยการสั่งให้เจ้าหน้าที่นำ�เก้าอ้ีพร้อม
ผา้ ปลอกคมุ เกา้ อ้ี เครอื่ งถา่ ยวดิ โี อ เครอื่ งเลน่ วดิ โี อ กลอ้ งถา่ ยรปู และผา้ เตน็ ท์ น�ำ ไปใชใ้ นงานมงคลสมรส
ของบตุ รสาวรวมทงั้ รถยนต์รถตสู้ ว่ นกลางเพอื่ ใชร้ บั สง่ เจา้ หนา้ ทเ่ี ขา้ รว่ มพธิ ีและขนยา้ ยอปุ กรณท์ ง้ั ทบี่ า้ นพกั
และงานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซงึ่ ลว้ นเป็นทรัพยส์ นิ ของทางราชการ การกระทำ�ของจ�ำ เลยนับเป็น
การใช้อำ�นาจโดยทุจรติ เพื่อประโยชน์ส่วนตนอนั เปน็ การเสยี หายแกร่ ัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช. ไดช้ ม้ี ูล
ความผดิ วนิ ัยและอาญา ต่อมาเรอ่ื งเขา้ สู่กระบวนการในชั้นศาล ศาลพเิ คราะห์พยานหลักฐานโจทกแ์ ลว้
เห็นว่าการกระทำ�ของจำ�เลยเป็นการทุจริตต่อตำ�แหน่งหน้าท่ีฐานเป็นเจ้าพนักงานมีหน้าที่ซื้อทำ�จัดการ
หรอื รกั ษาทรพั ยใ์ ด ๆ ใชอ้ �ำ นาจในต�ำ แหนง่ โดยทจุ รติ อนั เปน็ การเสยี หายแกร่ ฐั และเปน็ เจา้ พนกั งานปฏบิ ตั ิ
หน้าทโ่ี ดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พิพากษาใหจ้ ำ�คกุ ๕ ปี และ
ปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท ค�ำ ใหก้ ารรับสารภาพเป็นประโยชน์แกก่ ารพิจารณาคดี ลดโทษใหก้ ่ึงหน่ึง คงจ�ำ คกุ
จำ�เลยไว้ ๒ ปี ๖ เดือนและปรบั ๑๐,๐๐๐ บาท
๖.๒ การทเี่ จา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ผมู้ หี นา้ ทข่ี บั รถยนตข์ องสว่ นราชการ น�ำ น�ำ้ มนั ในรถยนตไ์ ปขาย และ
นำ�เงินมาไว้ใช้จ่ายส่วนตัวทำ�ให้ส่วนราชการต้องเสียงบประมาณ เพ่ือซ้ือน้ำ�มันรถมากกว่าที่ควรจะเป็น
พฤติกรรมดังกล่าวถือเป็นการทุจริตเป็นการเบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพื่อประโยชน์ของตนเอง
และมคี วามผดิ ฐานลกั ทรัพยต์ ามประมวลกฎหมายอาญา
๖.๓ การทเ่ี จ้าหน้าทีร่ ัฐ ผ้มู อี ำ�นาจอนุมตั ิใหใ้ ชร้ ถราชการหรอื การเบิกจา่ ย ค่านำ�้ มนั เช้อื เพลงิ
นำ�รถยนตข์ องส่วนราชการไปใช้ในกจิ ธรุ ะสว่ นตัว
๖.๔ การท่ีเจ้าหน้าทร่ี ฐั น�ำ วสั ดุครุภัณฑ์ของหน่วยงานมาใชท้ ี่บา้ น หรอื ใช้โทรศัพทข์ องหนว่ ยงาน
ติดต่อธรุ ะส่วนตน หรอื น�ำ รถสว่ นตนมาล้างที่หนว่ ยงาน

๗. การนำ�โครงการสาธารณะลงในเขตเลอื กตง้ั เพ่ือประโยน์ในทางการเมือง
๗.๑ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลแหง่ หนงึ่ รว่ มกบั พวกแกไ้ ขเปลยี่ นแปลงรายละเอยี ดโครงการ
ปรับปรุงและซ่อมแซมถนนคนเดินใหม่ ในตำ�บลที่ตนมีฐานเสียงโดยไม่ผ่านความเห็นชอบจากสภาฯ
และตรวจรบั งานทงั้ ทไ่ี มถ่ กู ตอ้ งตามแบบรปู รายการทกี่ �ำ หนด รวมทงั้ เมอื่ ด�ำ เนนิ การแลว้ เสรจ็ ไดต้ ดิ ปา้ ยชอ่ื
ของตนและพวก การกระท�ำ ดงั กลา่ วมมี ลู เปน็ การกระท�ำ การฝา่ ฝนื ตอ่ ความสงบเรยี บรอ้ ย หรอื สวสั ดภิ าพ
ของประชาชน หรือละเลยไม่ปฏิบัติตาม หรือปฏิบัติการไม่ชอบด้วยอำ�นาจหน้าที่มีมูลความผิดท้ัง
ทางวนิ ยั อยา่ งรา้ ยแรงและทางอาญา คณะกรรมการ ป.ป.ช. มหี นงั สอื แจง้ ผลการพจิ ารณาของคณะกรรมการ
ป.ป.ช. ให้ผู้มีอำ�นาจแตง่ ตง้ั ถอดถอน และสำ�นกั งานคณะกรรมการการเลอื กตั้งทราบ
๗.๒ การที่นักการเมืองในจังหวัดขอเพิ่มงบประมาณเพ่ือนำ�โครงการตัดถนนสร้างสะพานลงใน
จังหวดั โดยใช้ช่อื หรือนามสกลุ ของตนเองเป็นชอื่ สะพาน
๗.๓ การที่รัฐมนตรอี นุมตั โิ ครงการไปลงในพน้ื ทห่ี รือบ้านเกิดของตนเอง

20 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพ่มิ เติม การปอ้ งกันการทุจริต”

๘. การใช้ตำ�แหน่งหน้าทีแ่ สวงหาประโยชน์แก่เครือญาติ
พนักงานสอบสวนละเว้นไม่นำ�บันทึกการจับกุมท่ีเจ้าหน้าท่ีตำ�รวจชุดจับกุมทำ�ขึ้นในวันเกิดเหตุ
รวมเข้าส�ำ นวน แตก่ ลับเปล่ียนบนั ทกึ และแก้ไขข้อหาในบนั ทึกการจับกุม เพื่อชว่ ยเหลือผู้ตอ้ งหาซ่งึ เป็น
ญาตขิ องตนให้รับโทษน้อยลง คณะกรรมการ ป.ป.ช. พิจารณาแล้วมีมูลความผดิ ทางอาญาและทางวนิ ยั
อย่างร้ายแรง

๙. การใชอ้ ทิ ธิพลเข้าไปมผี ลตอ่ การตัดสนิ ใจของเจา้ หน้าท่รี ัฐหรือหนว่ ยงานของรฐั อนื่
๙.๑ เจา้ หนา้ ทขี่ องรฐั ใชต้ �ำ แหนง่ หนา้ ทใ่ี นฐานะผบู้ รหิ ารเขา้ แทรกแซงการปฏบิ ตั งิ านของเจา้ หนา้ ท่ี
ให้ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีโดยมิชอบดว้ ยระเบยี บ และกฎหมายหรอื ฝา่ ฝนื จริยธรรม
๙.๒ นายเอ เปน็ หวั หนา้ สว่ นราชการแหง่ หนง่ึ ในจงั หวดั รจู้ กั สนทิ สนมกบั นายบี หวั หนา้ สว่ นราชการ
อีกแห่งหน่ึงในจงั หวดั เดียวกัน นายเอ จงึ ใช้ความสัมพนั ธ์ส่วนตัวฝากลกู ชาย คือ นายซี เข้ารบั ราชการ
ภายใต้สังกดั ของนายบี

๑๐. การขดั กันแหง่ ผลประโยชน์สว่ นตนกบั ประโยชนส์ ว่ นรวมประเภทอืน่ ๆ
๑๐.๑ การเดนิ ทางไปราชการตา่ งจงั หวดั โดยไม่ค�ำ นึงถงึ จ�ำ นวนคน จำ�นวนงาน และจ�ำ นวนวนั
อยา่ งเหมาะสม อาทิ เดนิ ทางไปราชการจำ�นวน ๑๐ วนั แต่ใช้เวลาในการทำ�งานจริงเพยี ง ๖ วนั โดยอกี
๔ วนั เป็นการเดินทางทอ่ งเที่ยวในสถานที่ตา่ งๆ
๑๐.๒ เจ้าหน้าทผี่ ้ปู ฏิบตั ิไมใ่ ชเ้ วลาในราชการปฏิบตั งิ านอย่างเต็มท่ี เน่ืองจากตอ้ งการปฏิบัตงิ าน
นอกเวลาราชการ เพราะสามารถเบิกเงนิ งบประมาณคา่ ตอบแทนการปฏบิ ตั งิ านนอกเวลาราชการได้
๑๐.๓ เจา้ หน้าท่ีของรัฐลงเวลาปฏบิ ัติงานนอกเวลาราชการ โดยมิไดอ้ ยปู่ ฏบิ ัตงิ านในชว่ งเวลานัน้
อยา่ งแท้จรงิ แตก่ ลบั ใช้เวลาดงั กล่าวปฏิบัตกิ ิจธรุ ะส่วนตวั

ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 21

แผนการจดั การเรยี นรู้
หนว่ ยที่ ๑ ชอ่ื หน่วย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ่วนตนและผลประโยชนส์ ่วนรวม
ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ ๒
แผนการจัดการเรียนรทู้ ี่ ๔ เร่ือง การขดั กันระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตน เวลา ๑ ชั่วโมง
และผลประโยชน์ ส่วนรวมต่อประเทศและอาเซยี น

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ�คัญของการต่อตา้ นและป้องกนั การทุจริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ สามารถการวเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชน์
ส่วนรวมตอ่ ประเทศและอาเซียน
๒.๒ ตระหนกั และเหน็ ความสำ�คัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกนั การทุจรติ
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
การวเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ การขดั กนั ระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
ต่อประเทศและอาเซียน
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะที่เกิด)
๑) ความสามารถในการสอ่ื สาร (ทกั ษะการอา่ น ทกั ษะการฟงั ทกั ษะการพดู ทกั ษะการเขยี น)
๒) ความสามารถในการคดิ (ทกั ษะการวิเคราะห์ ทกั ษะการจดั กล่มุ ทักษะการสรปุ )
๓.๓ คณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์/ค่านิยม
๑) มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒) อยู่อยา่ งพอเพียง
๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ข้ันตอนการจัดการเรยี นรู้
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนถึงรูปแบบการขัดกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและ
ผลประโยชนส์ ่วนรวม ทไ่ี ด้เรียนไปในชั่วโมงท่แี ลว้
๒) นกั เรยี นแบง่ กลมุ่ ๆ ละ ๔ - ๕ คน รว่ มกนั ระดมความคดิ วเิ คราะห์ ความสมั พนั ธ์ การขดั กนั
ระหวา่ งผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วนรวมตอ่ ประเทศและอาเซียน
๓) ส่งตัวแทนนำ�เสนอหน้าชั้นเรียน โดยเปิดโอกาสให้นักเรียนกลุ่มอ่ืน ๆ ร่วมกันซักถาม
และแสดงความคิดเห็น

22 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เติม การปอ้ งกันการทุจรติ ”

๔.๒ ส่อื การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
๑) ห้องสมุดโรงเรียน
๒) แหล่งข้อมลู สารสนเทศ
๕. การประเมินผลการเรยี นรู้
๕.๑ วิธกี ารประเมนิ
๑) สงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานรายบุคคล
๒) สังเกตคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๒ เครื่องมือทใี่ ช้ในการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบุคคล
๒) แบบประเมินคุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์
๕.๓ เกณฑก์ ารตัดสนิ
๑) แบบสงั เกตพฤติกรรมรายบคุ คล
- นักเรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑ์การประเมินในระดบั ดีข้ึนไป
๒) แบบประเมินคุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์
- นกั เรยี นตอ้ งผา่ นเกณฑก์ ารประเมนิ ในระดบั ดขี ้นึ ไป
๖. บันทกึ หลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชอื่ ................................................ ครผู สู้ อน
(...............................................)

ระดับชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี ๒ 23

แผนการจัดการเรยี นรู้
หน่วยที่ ๑ ชอ่ื หนว่ ย การคดิ แยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒
แผนการจดั การเรยี นรทู้ ่ี ๕ เรือ่ ง การทจุ ริตท่เี กดิ ขน้ึ ภายในระดับประเทศ เวลา ๓ ช่ัวโมง
และจริยธรรม ท่ใี ช้ในการป้องกนั การทจุ รติ ในระดบั ประเทศ

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคดิ แยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวมได้
๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความส�ำ คญั ของการต่อต้านและปอ้ งกนั การทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นกั เรยี นสามารถ
๒.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการการทุจริตท่ีเกิดขึ้นภายในระดับประเทศและจริยธรรม
ที่ใช้ในการปอ้ งกนั การทจุ รติ ในระดับประเทศได้
๒.๒ เหน็ ความส�ำ คญั ของการตอ่ ต้านและป้องกันการทจุ รติ
๓. สาระการเรยี นรู้
๓.๑ ความรู้
๑) การทจุ ริตทเี่ กิดขึ้นภายในระดบั ประเทศ
๒) จริยธรรมท่ีใชใ้ นการปอ้ งกันการทจุ รติ ในระดบั ประเทศ
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด (ทกั ษะการคิดวเิ คราะห์ ทักษะการคดิ อยา่ งมีวจิ ารณญาณ)
๓.๓ ความสามารถในการใชท้ ักษะชีวิต (กระบวนการทำ�งานกลมุ่ )
๓.๔ คณุ ลกั ษณะที่พึงประสงค์ / ค่านิยม
๑) ซอ่ื สัตย์ เสียสละ อดทน มอี ุดมการณ์ในสง่ิ ท่ีดีงามเพ่ือสว่ นรวม
๒) อยอู่ ย่างพอเพียง
๓) ใฝ่หาความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม
๔) มคี วามเขม้ แขง็ ทง้ั รา่ งกายและจติ ใจไมย่ อมแพต้ อ่ อ�ำ นาจฝา่ ยต�่ำ หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย
เกรงกลวั ตอ่ บาปตามหลกั ของศาสนา

24 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเตมิ การปอ้ งกันการทุจริต”

๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขัน้ ตอนการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ ๑ - ๒
๑) นกั เรยี นดูวิดโี อ เรือ่ ง การ์ตนู เสริมสร้างคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตอน ความซอื่ สัตย์ ชว่ ยกัน
วิเคราะห์ข้อดี ข้อเสีย ของตัวละคร แล้วครูถามนักเรียกว่าคนขายของทอนเงินให้ลูกค้าแล้วลูกค้า
กลบั นำ�เงินมาคืนที่เกิน นักเรยี นคดิ วา่ การต์ นู สอนให้คดิ เรื่องอะไร แล้วลูกคา้ มีพฤตกิ รรมอะไรทีบ่ ง่ บอก
เหน็ ไดอ้ ย่างชดั เจน นักเรียนยกตวั อยา่ งเหตกุ ารณป์ ระเทศไทยของเรามลี ักษณะอยา่ งไร แลว้ ให้นักเรียน
ออกมาอภิปราย แยกแยะว่าอะไรเป็นจรยิ ธรรม อะไรเปน็ การทจุ ริต
๒) ครแู จกกระดาษขนาด A๔ ใหน้ กั เรยี นคนละ ๑ แผน่ ใหน้ กั เรยี นเขยี นสรปุ เรอ่ื ง การทจุ รติ
ทเ่ี กดิ ขนึ้ ภายในระดบั ประเทศและจรยิ ธรรมทใ่ี ชใ้ นการปอ้ งกนั การทจุ รติ ในระดบั ประเทศ โดยจดั ท�ำ เปน็
Mind Map ไว้นำ�เสนอนทิ รรศการในช้นั เรียน
ช่ัวโมงท่ี ๓
๓) ให้นกั เรยี นน�ำ เสนอผลงาน
๔) ครแู บ่งนักเรยี นกลมุ่ ละ ๆ ๕ คน แตล่ ะกล่มุ ไปศึกษาความรู้ เรื่อง ความแตกต่างระหว่าง
จรยิ ธรรมและการทจุ รติ แตกต่างกนั อยา่ งไร จากนั้นน�ำ ความรทู้ ไ่ี ดน้ ำ�มาเสนอหนา้ ชั้น
๕) ให้นักเรียนกลุ่มอ่ืนๆ ตั้งประเด็นคำ�ถามหลังจากที่ตัวแทนกลุ่มนำ�เสนอความรู้จบแล้ว
กลุ่มละ ๑ ค�ำ ถาม แล้วใหก้ ลมุ่ ทีเ่ ป็นเจ้าของเร่ืองช่วยกันตอบค�ำ ถามให้ถูกต้อง
๖) ให้นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นความรทู้ ีไ่ ด้รับจดลงในสมดุ แล้วครูตั้งประเดน็ ค�ำ ถามให้
นกั เรยี นชว่ ยกันตอบ หรอื สุม่ เรียกนกั เรียนให้ตอบเปน็ รายบุคคล
๗) นกั เรยี นแตล่ ะกลมุ่ ศกึ ษาใบความรสู้ ถานการณจ์ �ำ ลองและชว่ ยกนั คดิ แสดงบทบาทสมมตุ ิ
ประกวดแตล่ ะกลุ่ม
๘) นักเรียนแต่ละกลุ่มหาข้อความการกระทำ� พฤติกรรม หรือเร่ืองราวที่เป็นข้อความ
สถานการณเ์ พ่มิ เตมิ มาเขยี นใสใ่ นกระดาษชารต์ ที่ครแู จกให้ แล้วใหส้ มาชกิ ในกลมุ่ ท�ำ แผน่ พบั ชว่ ยกนั เผย
แพร่ให้นกั เรียน ครู ชุมชน หรอื นำ�มาจดั ป้ายนเิ ทศเพ่ือปลกุ จติ สำ�นึกกระตุ้นจริยธรรมตา้ นทจุ ริต
๙) นักเรียนแต่ละกลุ่มส่งตัวแทนออกมานำ�เสนอผลงานที่หน้าช้ันเรียน โดยครูและเพ่ือน
นักเรยี นรว่ มกันแสดงความคิดเหน็ และให้ข้อเสนอแนะเพอื่ นำ�ไปปรับใช้ในชีวติ ประจำ�วัน
๔.๒ สือ่ การเรยี นรู้/แหล่งการเรยี นรู้
๑ วดิ ีโอ เร่ือง การต์ นู เสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรม ตอน ความซ่ือสตั ย์ ฯลฯ
https:www.youtube.com/watch?v=gr๒gtPGSGcg.
๒) ภาพขา่ ว ฯลฯ
๓) ใบความรู้/สถานการณจ์ �ำ ลองที่ ๑ - ๓
- การท�ำ งานพิเศษ
- การร้ขู อ้ มูลภายใน
- การใชท้ รัพย์สนิ ของราชการเพือ่ ประโยชนส์ ่วนตน

ระดับช้ันมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 25

๕. การประเมนิ ผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมิน
๑) สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานของผู้เรยี นเปน็ รายบุคคล
๒) การรว่ มกิจกรรมของนกั เรยี น
๕.๒ เครื่องมือท่ีใช้ในการประเมนิ
๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานของผเู้ รยี นเป็นรายบุคคล
๒) ผลงานนักเรียน
๓) บอรด์ ป้ายนเิ ทศ
๖. บันทึกหลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
ลงชอ่ื ................................................ ครผู ู้สอน
(...............................................)

26 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกนั การทุจริต”

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เรื่อง สถานการณ์จำ�ลอง

สถานการณท์ ี่ ๑ เรื่อง การท�ำ งานพเิ ศษ
๑. เจา้ หนา้ ท่ีตรวจสอบภาษี ๖ สำ�นกั งานสรรพากรจงั หวดั ในสว่ นภมู ภิ าค ไดจ้ ัดตงั้ บรษิ ัทรบั จา้ ง
ทำ�บัญชีและให้คำ�ปรึกษาเก่ียวกับภาษีและมีผลประโยชน์เก่ียวข้องกับบริษัท โดยรับจ้างทำ�บัญชีและ
ย่ืนแบบแสดงรายการให้ผู้เสียภาษีในเขตจังหวัดท่ีรับราชการอยู่และจังหวัดใกล้เคียง กลับมีพฤติการณ์
ชว่ ยเหลอื ผเู้ สยี ภาษใี หเ้ สยี ภาษนี อ้ ยกวา่ ความเปน็ จรงิ และรบั เงนิ คา่ ภาษอี ากรจากผเู้ สยี ภาษบี างรายแลว้
มิได้นำ�ไปย่ืนแบบแสดงรายการชำ�ระภาษีทำ�ให้พฤติการณ์ของเจ้าหน้าท่ีดังกล่าว เป็นการไม่ปฏิบัติตาม
ขอ้ บงั คบั กรมสรรพากรวา่ ดว้ ยจรรยาขา้ ราชการกรมสรรพากรพ.ศ.๒๕๕๙ ขอ้ ๙ (๗) (๘)และอาศยั ต�ำ แหนง่
หน้าท่ีราชการของตนหาประโยชน์ให้แก่ตนเอง เป็นความผิดวินัยอย่างไม่ร้ายแรงตามมาตรา ๘๓ (๓)
แหง่ พระราชบญั ญตั ริ ะเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. ๒๕๕๑ อกี ทง้ั เปน็ การปฏบิ ตั หิ นา้ ทรี่ าชการโดยมชิ อบ
เพ่อื ใหเ้ กดิ ความเสียหายแก่ทางราชการโดยรา้ ยแรง และปฏบิ ตั ิหน้าทรี่ าชการโดยทจุ รติ และยังกระทำ�
การอันได้ช่ือว่าเป็นผู้ประพฤติช่ัวอย่างร้ายแรงเป็นความผิดวินัยอย่างร้ายแรง ตามมาตรา ๘๕ (๑)
และ (๔) แห่งพระราชบญั ญัติระเบยี บข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑
๒. การท่ีเจ้าหน้าที่ของรัฐอาศัยตำ�แหน่งหน้าท่ีทางราชการรับจ้างเป็นท่ีปรึกษาโครงการ เพ่ือให้
บริษทั เอกชนทว่ี า่ จ้างนั้นมคี วามนา่ เชอื่ ถอื มากกวา่ บรษิ ัทคแู่ ข่ง
๓. การท่ีเจ้าหน้าท่ีของรัฐไม่ทำ�งานที่ได้รับมอบหมายจากหน่วยงานอย่างเต็มที่แต่เอาเวลา
ไปรับงานพเิ ศษอ่นื ๆ ทอ่ี ยูน่ อกเหนืออำ�นาจหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจากหนว่ ยงานตามกฎหมาย

สถานการณท์ ี่ ๒ เร่ือง การรขู้ ้อมลู ภายใน
๑. นายช่าง ๕ แผนกชมุ สายโทรศพั ท์เคล่อื นที่ องคก์ ารโทรศพั ท์แห่งประเทศไทย ได้น�ำ ขอ้ มูล
เลขหมายโทรศพั ทเ์ คลอื่ นทร่ี ะบบ ๔๗๐ MHZ และระบบปลดลอ็ คไปขายใหแ้ กผ่ อู้ นื่ จ�ำ นวน ๔๐ หมายเลข
เพ่ือนำ�ไปปรับจูนเข้ากับโทรศัพท์เคลื่อนท่ีที่นำ�ไปใช้รับจ้างให้บริการโทรศัพท์แก่บุคคลท่ัวไป
คณะกรรมการ ป.ป.ช. มีมติช้ีมูลความผิดตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ มาตรา ๑๕๗
และ มาตรา ๑๖๔ และ มีความผิดวินยั ขอ้ บงั คับองคก์ ารโทรศัพท์แหง่ ประเทศไทยว่าด้วยการพนกั งาน
พ.ศ. ๒๕๓๖ ขอ้ ๔๔ และ ๔๖
๒. การทเ่ี จา้ หนา้ ทข่ี องรฐั ทราบขอ้ มลู โครงการตดั ถนนเขา้ หมบู่ า้ นจงึ บอกใหญ้ าตพิ น่ี อ้ งไปซอื้ ทด่ี นิ
บริเวณโครงการดังกลา่ วเพื่อขายให้กบั ราชการในราคาทสี่ งู ข้นึ

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 27

๓. การท่ีเจ้าหน้าท่ีหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงข่ายโทรคมนาคมทราบมาตรฐาน (Spec) วัสดุ
อุปกรณ์ที่จะใช้ในการวางโครงข่ายโทรคมนาคม แล้วแจ้งข้อมูลให้กับบริษัทเอกชนที่ตนรู้จัก เพื่อให้
ไดเ้ ปรยี บในการประมลู

สถานการณท์ ี่ ๓ เรอื่ ง การใชท้ รัพย์สนิ ของราชการเพอ่ื ประโยชน์ส่วนตน
๑. คณบดีคณะแพทย์ศาสตร์ ใช้อำ�นาจหน้าที่โดยทุจริตด้วยการส่ังให้เจ้าหน้าท่ีนำ�เก้าอ้ีพร้อม
ผา้ ปลอกคลมุ เกา้ อี้ เครอ่ื งถา่ ยวดิ โี อ เครอื่ งเลน่ วดิ โี อ กลอ้ งถา่ ยรปู และผา้ เตน็ ท์ น�ำ ไปใชใ้ นงานมงคลสมรส
ของบุตรสาว รวมท้ังรถยนต์ รถตู้ส่วนกลาง เพื่อใช้รับส่งเจ้าหน้าที่เข้าร่วมพิธีและขนย้ายอุปกรณ์ทั้งที่
บ้านพักและงานฉลองมงคลสมรสท่ีโรงแรม ซึ่งล้วนเป็นทรัพย์สินของทางราชการการกระทำ�ของจำ�เลย
นับเป็นการใช้อำ�นาจโดยทุจริต เพ่ือประโยชน์ส่วนตนอันเป็นการเสียหายแก่รัฐ คณะกรรมการ ป.ป.ช.
ได้ชี้มูลความผิดวินัยและอาญา ต่อมาเรื่องเข้าสู่กระบวนการในช้ันศาล ศาลพิเคราะห์พยานหลักฐาน
โจทกแ์ ลว้ เหน็ วา่ การกระท�ำ ของจ�ำ เลยเปน็ การทจุ รติ ตอ่ ต�ำ แหนง่ หนา้ ทฐ่ี านเปน็ เจา้ พนกั งานมหี นา้ ทซ่ี อื้ ท�ำ
จดั การหรอื รกั ษาทรพั ยใ์ ดๆ ใชอ้ �ำ นาจในต�ำ แหนง่ โดยทจุ รติ อนั เปน็ การเสยี หายแกร่ ฐั และเปน็ เจา้ พนกั งาน
ปฏิบตั ิหน้าทโ่ี ดยมิชอบ ตามประมวลกฎหมายอาญา มาตรา ๑๕๑ และ ๑๕๗ จงึ พพิ ากษาใหจ้ �ำ คกุ ๕ ปี
และปรับ ๒๐,๐๐๐ บาท คำ�ให้การรับสารภาพเป็นประโยชน์แก่การพิจารณาคดี ลดโทษให้ก่ึงหนึ่ง
คงจำ�คุกจำ�เลยไว้ ๒ ปี ๖ เดอื นและปรับ ๑๐,๐๐๐ บาท
๒. การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ผู้มีหน้าที่ขับรถยนต์ของส่วนราชการน�ำน้�ำมันในรถยนต์ไปขาย
และน�ำเงนิ มาไวใ้ ชจ้ า่ ยสว่ นตวั ท�ำใหส้ ว่ นราชการตอ้ งเสยี งบประมาณ เพอื่ ซอ้ื นำ้� มนั รถมากกวา่ ทคี่ วรจะเปน็
พฤติกรรมดังกล่าวถือเป็นการทุจริต เบียดบังผลประโยชน์ของส่วนรวมเพื่อประโยชน์ของตนเองและ
มีความผดิ ฐานลักทรัพย์
๓. การท่ีเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้มีอ�ำนาจอนุมัติให้ใช้รถราชการหรือการเบิกจ่ายค่าน้�ำมันเช้ือเพลิง
น�ำรถยนต์ของส่วนราชการไปใช้ในกิจธุระสว่ นตัว

28 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การปอ้ งกันการทุจริต”

แผนการจัดการเรยี นรู้
หน่วยที่ ๑ ช่ือหนว่ ย การคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์ส่วนรวม
ช้ันมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๒
แผนการจัดการเรยี นรทู้ ี่ ๖ เรอ่ื ง สาเหตกุ ารเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนทับซ้อน เวลา ๑ ชว่ั โมง
ในระดบั ประเทศ

๑. ผลการเรยี นรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ่วนรวมได้
๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำ คัญของการต่อตา้ นและปอ้ งกันการทจุ ริต
๒. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ นักเรียนสามารถ
๒.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกับสาเหตุการเกดิ ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในระดับประเทศได้
๒.๒ สามารถคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๒.๓ ตระหนกั และเห็นความส�ำ คัญของการตอ่ ตา้ นและปอ้ งกันการทุจรติ
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
สาเหตกุ ารเกิดของผลประโยชน์ทบั ซ้อนในระดับประเทศ
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กดิ )
๑) ความสามารถในการส่ือสาร (ทักษะการวิเคราะห์ ทักษะกระบวนการคิดตัดสินใจ
ทักษะการนำ�ความรู้ไปใช้)
๒) ความสามารถในการคดิ (วิเคราะห์ จัดกลุ่ม สรปุ )
๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชวี ติ
๓.๓ คณุ ลกั ษณะท่พี ึงประสงค์ / คา่ นยิ ม
๑) มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒) ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มจี ิตสาธารณะ มีอุดมการณใ์ นสงิ่ ท่ีดงี ามเพ่อื ส่วนรวม
๓) กตญั ญูตอ่ พ่อแม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔) ใฝห่ าความรู้ หมัน่ ศึกษาเลา่ เรยี นทัง้ ทางตรงและทางออ้ ม
๕) รกั ษาวฒั นธรรมประเพณไี ทยอนั งดงาม
๖) มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวงั ดตี อ่ ผู้อนื่ เผื่อแผแ่ ละแบง่ ปนั
๗) เขา้ ใจเรียนรู้การเป็นประชาธิปไตย อนั มพี ระมหากษัตรยิ ท์ รงเป็นประมขุ ทถ่ี กู ต้อง
๘) มีระเบียบวินยั เคารพกฎหมาย ผู้น้อยรู้จักการเคารพผใู้ หญ่
๙) มีสติรตู้ ัว รคู้ ดิ ร้ทู ำ� ปฏิบตั ติ ามพระราชดำ�รัสของพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยู่หวั

ระดบั ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี ๒ 29

๔. กจิ กรรมการเรยี นรู้
๔.๑ ขั้นตอนการจดั การเรียนรู้
ชั่วโมงท่ี ๑
๑) ครนู �ำ วดิ โี อขา่ วทเี่ กย่ี วกบั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมาใหน้ กั เรยี นดแู ละชว่ ยกนั วเิ คราะหห์ วั ขอ้
ขา่ ววา่ ผลประโยชนท์ ับซ้อนคืออะไร มีลักษณะการกระท�ำ ใดเปน็ การกระท�ำ ที่เป็นผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
รูปแบบของผลประโยชน์ทบั ซอ้ นเป็นอยา่ งไร ประเภทและรปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอยา่ งไร
การรบั ผลประโยชน์ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น กิจกรรมทม่ี ีความเส่ยี งต่อการมผี ลประโยชน์ทับซ้อน แนวทาง
การปอ้ งกนั ปญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นโดยการจดั การเรยี นการสอนโดยการบรรยาย ฉายภาพยนตรเ์ กย่ี วกบั
ความร้เู กีย่ วกับกรณคี วามผดิ ทก่ี ระทำ�เกย่ี วกับผลประโยชน์ทับซ้อน
๒) ครแู บง่ นกั เรยี นออกเปน็ กลมุ่ ๆ ละ ๔ - ๕ คน ศกึ ษาใบความรู้ เรอื่ ง ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
(conflict of interest) ระดมความคดิ เพอื่ เชอื่ มโยงใหน้ กั เรยี นเขา้ ใจถงึ ความรเู้ กยี่ วกบั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
ว่าผลประโยชน์ทับซ้อนคืออะไร มีลักษณะการกระทำ�ใดเป็นการกระทำ�ที่เป็นผลประโยชน์ทับซ้อน
รปู แบบของผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นอยา่ งไร ประเภทและรปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ นเป็นอยา่ งไร
การรบั ผลประโยชนผ์ ลประโยชนท์ ับซ้อน กจิ กรรมทม่ี ีความเสีย่ งตอ่ การมีผลประโยชน์ทบั ซอ้ น แนวทาง
การป้องกันปัญหาผลประโยชน์ทับซ้อน เพื่อสรุปถึงสาเหตุการเกิดของผลประโยชน์ทับซ้อนในระดับ
ประเทศ
๓) นักเรียนส่งตัวแทนกลุ่มออกมานำ�เสนอผลการระดมความคิด และช่วยกันหลอมรวม
ของทกุ กลมุ่ สรปุ ถงึ สาเหตุการเกดิ ของผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในระดับประเทศ
๔.๒ สอ่ื การเรยี นร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้
๑) ใบความรู้ เร่ือง ผลประโยชน์ทับซอ้ น (conflict of interest)
๒) วดิ โี อข่าวที่เกี่ยวกับผลประโยชนท์ บั ซ้อน
๕. การประเมนิ ผลการเรยี นรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) สังเกตพฤติกรรมการท�ำ งานรายบุคคล
๒) สงั เกตพฤติกรรมการทำ�งานกลุ่ม
๕.๒ เครื่องมือทใ่ี ช้ในการประเมิน
๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการทำ�งานรายบุคคล
๒) แบบสังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งานกลุ่ม
๖. บนั ทกึ หลังสอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ลงชอ่ื ................................................ ครูผสู้ อน
(...............................................)
30 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เร่อื ง ผลประโยชน์ทบั ซอ้ น (Conflict of interests)

ผลประโยชนท์ บั ซ้อน (Conflict of interests)
ผลประโยชนท์ บั ซ้อน หรือการขัดกันของผลประโยชน์ (Conflict of interests) คอื สถานการณ์
ท่ีบุคคลผู้ดำ�รงตำ�แหน่งอันเป็นท่ีไว้วางใจ (เช่น ทนายความ นักการเมือง ผู้บริหาร หรือ ผู้อำ�นวยการ
ของบรษิ ทั เอกชน หรือหนว่ ยงานรฐั ) เกดิ ความขดั แย้งขนึ้ ระหว่างผลประโยชนส์ ว่ นตวั และผลประโยชน์
ทางวชิ าชพี (professional interests) อนั สง่ ผลใหเ้ กดิ ปญั หาทเ่ี ขาไมส่ ามารถปฏบิ ตั หิ นา้ ทไ่ี ดอ้ ยา่ งเปน็ กลาง/
ไม่ลำ�เอียงผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเกิดข้ึน อาจส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจที่มีต่อบุคคลผู้น้ันว่า
เขาจะสามารถปฏบิ ัติงานตามต�ำ แหน่งให้อยใู่ นครรลองของคณุ ธรรมจริยธรรมไดม้ ากนอ้ ยเพยี งใด
ภาษาไทยใช้อยู่ ๓ อย่าง คือ
๑. ความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๒. ผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๓. ผลประโยชนข์ ดั กัน
ผลประโยชน์ทับซ้อน ความหมายของ สำ�นักงาน ก.พ. สถานการณห์ รือการกระท�ำ ของบคุ คล
(ไมว่ า่ จะเปน็ นักการเมอื ง ข้าราชการ พนักงานบรษิ ทั ผ้บู ริหาร) มผี ลประโยชน์ส่วนตนเขา้ มาเกย่ี วข้อง
จนส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจหรือการปฏิบัติหน้าที่ในตำ�แหน่งน้ัน การกระทำ�ดังกล่าวอาจเกิดขึ้น
โดยรู้ตัวหรือไม่รู้ตัวทั้งเจตนาหรือไม่เจตนา หรือบางเร่ืองเป็นการปฏิบัติสืบต่อกันมาจนไม่เห็นว่า
จะเป็นส่ิงผิดแต่อย่างใด พฤติกรรมเหล่าน้ีเป็นการกระทำ�ความผิดทางจริยธรรมของเจ้าหน้าท่ีรัฐ
ทตี่ อ้ งค�ำ นงึ ถงึ ผลประโยชนส์ าธารณะ (ประโยชนข์ องสว่ นรวม) แตก่ ลบั ตดั สนิ ใจปฏบิ ตั หิ นา้ ทโี่ ดยค�ำ นงึ ถงึ
ประโยชนข์ องตนเองหรือพวกพอ้ ง
แนวคิดของวิชาการ ให้ความหมายของผลประโยชนท์ ับซอ้ นไว้ ๔ ประการ ดงั น้ี
๑. ความหมายอย่างกว้าง หมายรวมถึงการปฏิบัติงานตามตำ�แหน่งหน้าท่ีที่รับผิดชอบ
อย่างต่อหน่วยงานหรือองค์การหรือต่อส่วนรวมแต่ดำ�เนินการตัดสินใจปฏิบัติหน้าที่โดยคำ�นึงถึง
ผลประโยชน์ของตนเอง ครอบครวั และเพอื่ นฝูง

ระดับชั้นมัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 31

๒. ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นสามารถเกดิ ขน้ึ ไดท้ งั้ ในหนว่ ยงานภาครฐั องคก์ รธรุ กจิ สถาบนั การศกึ ษา
องค์กรพัฒนาเอกชน และองค์กรวิชาชีพต่าง ๆ โดยสามารถเกิดขึ้นได้ท้ังในระดับนโยบายของชาติ
หน่วยงานราชการ และองค์กรในระดับท้องถ่ิน ดังนั้นผลประโยชน์ทับซ้อนจึงมีมูลค่าความเสียหาย
ตง้ั แตไ่ ม่กรี่ อ้ ยบาทไปจนถึงนบั หมนื่ ลา้ นบาท และในบางกรณคี วามเสยี หายมไิ ดป้ รากฏออกมาในรปู ของ
ทเ่ี ปน็ วตั ถุ โดยแต่ยงั รวมถงึ ผลประโยชน์มใิ ชว่ ัตถุอกี ดว้ ย
๓. ผลประโยชน์ทับซ้อนมิได้จำ�กัดเฉพาะผลประโยชน์ของบุคคลเท่าน้ัน แต่ยังรวมถึงการมีอคติ
ในการตดั สนิ ใจหรอื ด�ำ เนนิ การอนั มงุ่ ตอบสนองตอ่ ผลประโยชนข์ องหนว่ ยงานอกี หนว่ ยงานหนงึ่ ดว้ ย เชน่
การทบ่ี คุ คลด�ำ รงต�ำ แหนง่ ซอ้ นกนั ในสองหนว่ ยงาน อนั กอ่ ใหเ้ กดิ การท�ำ บทบาททขี่ ดั แยง้ กนั และมกี ารใช้
อ�ำ นาจหน้าท่ีของหน่วยงานหนึ่งไปรบั ผลประโยชน์ของอกี หนว่ ยงานหน่งึ
๔. “การฉ้อราษฎร์บงั หลวง”และ“การคอร์รัปชันเชิงนโยบาย” (Policy Corruption) ตา่ งก็เปน็
รูปแบบหน่ึงของผลประโยชน์ทับซ้อน เน่ืองจากทั้งสองรูปแบบต่างเป็นการใช้ตำ�แหน่งหน้าที่สำ�หรับ
มุ่งตอบสนองต่อผลประโยชนส์ ว่ นตัวและหรือพรรคพวก
สรปุ
ผลประโยชน์ส่วนบุคคลและผลประโยชน์ส่วนรวมขัดกัน เจ้าหน้าที่ของรัฐมีหน้าที่รักษา
ผลประโยชน์ส่วนรวม การปฏบิ ัตหิ น้าทีข่ องเจ้าหนา้ ทจ่ี ึงต้องไม่มผี ลประโยชนส์ ่วนตัวเขา้ มาเกยี่ วข้อง
๑. การใช้ตำ�แหน่งไปดำ�เนินการเพอ่ื ประโยชน์ทางธุรกจิ ของตนเองโดยตรง
๒. ใชต้ �ำ แหน่งไปชว่ ยเหลือญาตสิ นทิ มิตรสหาย
๓. การรับผลประโยชนโ์ ดยตรง
๔. การแลกเปลย่ี นผลประโยชนโ์ ดยใชต้ ำ�แหนง่ หนา้ ทก่ี ารงาน
๕. การนำ�ทรพั ย์สินของหนว่ ยงานไปใชส้ ว่ นตวั
๖. การนำ�ขอ้ มูลอนั เปน็ ความลับของหนว่ ยงานมาใชป้ ระโยชน์ส่วนตัว
๗. การท�ำ งานอกี แหง่ หนงึ่ ทีข่ ดั แย้งกบั แห่งเดิม
๘. ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นจากการเปล่ียนสถานที่ทำ�งาน
๙. การปดิ บงั ความผิด

32 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวชิ าเพ่ิมเติม การป้องกนั การทจุ ริต”

แผนการจดั การเรียนรู้
หน่วยที่ ๑ ชื่อหนว่ ย การคิดแยกแยะระหว่างผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวม
ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒
แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี ๗ เรื่อง รปู แบบผลประโยชน์ทับซ้อนระดับประเทศ เวลา ๒ ช่วั โมง
และแนวทางการป้องกนั ผลประโยชน์ทับซ้อนในระดบั ประเทศ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มคี วามรคู้ วามเขา้ ใจเกย่ี วกบั การแยกแยะระหวา่ งผลประโยชนส์ ว่ นตนและผลประโยชนส์ ว่ นรวม
๑.๒ สามารถคิดแยกแยะระหวา่ งผลประโยชน์สว่ นตนและผลประโยชน์สว่ นรวมได้
๑.๓ ตระหนักและเห็นความส�ำ คัญของการต่อต้านและป้องกันการทุจรติ
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ นกั เรียนสามารถ
๒.๑ มีความรู้ ความเขา้ ใจเก่ยี วกบั รปู แบบผลประโยชน์ทับซอ้ นระดบั ประเทศและแนวทาง การ
ปอ้ งกนั ผลประโยชน์ทบั ซ้อนในระดบั ประเทศ
๒.๒ ตระหนกั และเหน็ ความส�ำ คัญของการตอ่ ต้านและปอ้ งกนั การทจุ ริต
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
๑) รปู แบบผลประโยชนท์ ับซ้อนระดับประเทศ
๒) แนวทางการป้องกนั ผลประโยชน์ทบั ซ้อนในระดบั ประเทศ
๓.๒ ทกั ษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทเ่ี กิด)
๑) ความสามารถในการสอื่ สาร
- ทักษะการวเิ คราะห์
- ทกั ษะกระบวนการคดิ ตดั สนิ ใจ
- ทักษะการน�ำ ความรูไ้ ปใช้
๒) ความสามารถในการคิด
(วเิ คราะห์ จดั กลมุ่ สรปุ )
๓) ความสามารถในการใช้ทกั ษะชีวติ
๓.๓ คุณลกั ษณะทพ่ี ึงประสงค์/ค่านยิ ม
๑) มีความรกั ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
๒) ซื่อสตั ย์ เสยี สละ อดทน มจี ติ สาธารณะ มีอุดมการณใ์ นสง่ิ ที่ดงี ามเพอื่ ส่วนรวม
๓) กตัญญตู อ่ พอ่ แม่ ผปู้ กครอง ครูบาอาจารย์
๔) ใฝห่ าความรู้ หม่นั ศกึ ษาเล่าเรยี นทั้งทางตรง และทางอ้อม
๕) รกั ษาวฒั นธรรมประเพณีไทยอนั งดงาม
๖) มศี ีลธรรม รกั ษาความสตั ย์ หวังดีตอ่ ผอู้ นื่ เผ่อื แผ่และแบง่ ปัน
๗) เข้าใจเรยี นรกู้ ารเปน็ ประชาธปิ ไตย อนั มพี ระมหากษัตริย์ทรงเปน็ ประมุขทถี่ กู ต้อง

ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี ๒ 33

๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขน้ั ตอนการเรียนรู้
ชว่ั โมงที่ ๑
๑) ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนถึงความหมายและสาเหตุของผลประโยชน์ทับซ้อน
ท่เี รยี นมาในชว่ั โมงท่แี ลว้
๒) นักเรียนในกลุ่มเดมิ ร่วมกนั ใหศ้ ึกษาใบความรู้ เร่ือง รูปแบบของผลประโยชนท์ บั ซอ้ น
๓) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังพร้อมท้ังเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงความรู้เกี่ยวกับรูปแบบ
ของผลประโยชน์ทับซ้อนสง่ มผี ลกระทบในระดบั ประเทศอยา่ งไร
ชวั่ โมงที่ ๒
๑) นักเรียนในกลุ่มเดิมร่วมกันให้ศึกษาใบความรู้ เรื่อง แนวทางการป้องกันผลประโยชน์
ทับซ้อนในระดบั ประเทศ
๒) ครูอธิบายให้นักเรียนฟังพร้อมท้ังเช่ือมโยงให้นักเรียนเข้าใจถึงความรู้เก่ียวกับแนวทาง
การปอ้ งกันผลประโยชน์ทบั ซอ้ นในระดับประเทศส่งมผี ลกระทบอย่างไรบ้าง
๓) แต่ละกล่มุ ส่งตัวแทนนำ�เสนอผลการศกึ ษาทง้ั ๒ ใบความรูค้ อื รปู แบบของผลประโยชน์
ทับซ้อนและแนวทางการป้องกันผลประโยชนท์ ับซอ้ นในระดบั ประเทศ
๔.๒ สอื่ การเรียนรู้/แหล่งการเรียนรู้
๑) ใบความรู้ เร่ือง รูปแบบของผลประโยชนท์ ับซ้อน
๒) ใบความรู้ เรอื่ ง แนวทางการปอ้ งกันผลประโยชน์ทบั ซ้อนในระดบั ประเทศ
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วธิ ีการประเมนิ
๑) สังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานรายบุคคล
๒) สังเกตพฤติกรรมการทำ�งานกลุ่ม
๕.๒ เครือ่ งมอื ท่ใี ช้ในการประเมิน
๑) แบบสงั เกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานรายบคุ คล
๒) แบบสังเกตพฤติกรรมการท�ำ งานกลุ่ม
๕.๓ เกณฑ์การตัดสนิ
๑) รายงานสังเกตพฤติกรรมการทำ�งานรายบคุ คล
๒) รายงานสังเกตพฤตกิ รรมการท�ำ งานกลุม่
๖. บนั ทึกหลงั สอน
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................................

ลงชือ่ ................................................ ครผู ูส้ อน
(...............................................)
34 แผนการจัดการเรียนรู้ “รายวิชาเพ่ิมเติม การป้องกนั การทจุ รติ ”

๗. ภาคผนวก

ใบความรู้
เรือ่ ง รปู แบบของผลประโยชนท์ ับซอ้ น

ผลประโยชน์ทับซ้อนรวมถึงผลประโยชน์อื่นๆ ที่ไม่ใช่ในรูปตัวเงินหรือทรัพย์สินมีลักษณะ
๗ ประการ ดงั น้ี
๑. หาผลประโยชน์ใหต้ นเอง คือ การใช้อำ�นาจหนา้ ท่เี พอ่ื ตนเอง เชน่ ข้าราชการใชอ้ �ำ นาจหนา้ ท่ี
ใหบ้ ริษัทตวั เองได้งานรับเหมาจากรฐั หรอื ฝากลูกหลานเข้าท�ำ งาน เปน็ ตน้
๒. รับผลประโยชน์ คอื การรบั สนิ บนหรือรับของขวญั เช่น เป็นเจ้าพนกั งานสรรพากรแล้วรบั เงิน
จากผูม้ าเสยี ภาษหี รือเปน็ เจ้าหนา้ ท่จี ัดซือ้ แลว้ รบั ไมก้ อลฟ์ เปน็ ของกำ�นัลจากร้านค้า เป็นตน้
๓. ใช้อิทธิพลเป็นการเรียกผลตอบแทนในการใช้อิทธิพลในตำ�แหน่งหน้าที่ส่งผลท่ีเป็นคุณ
แก่ฝา่ ยใดฝ่ายหน่งึ อยา่ งไม่เป็นธรรม
๔. ใชท้ รพั ยส์ นิ ของทางราชการเพอ่ื ประโยชนส์ ว่ นตน เชน่ การใชร้ ถยนต์ หรอื คอมพวิ เตอรร์ าชการ
ทำ�งานสว่ นตวั เป็นตน้
๕. ใช้ข้อมูลลับของทางราชการ เช่น รู้ว่าราชการจะตัดถนนจึงรีบไปซื้อท่ีดินในบริเวณดังกล่าว
ดักหนา้ ไว้ก่อน เป็นต้น
๖. รบั งานนอก ไดแ้ ก่ การเปดิ บรษิ ทั ท�ำ ธรุ กจิ ซอ้ นกบั หนว่ ยงานทตี่ นเองท�ำ งานอยู่ เชน่ เปน็ นกั บญั ชี
แต่รบั งานส่วนตวั จนไม่มีเวลาท�ำ งานบัญชีในหนา้ ทใี่ ห้กับหนว่ ยงาน เปน็ ต้น
๗. ทำ�งานหลังออกจากตำ�แหน่ง คือการไปทำ�งานให้กับผู้อื่นหลังออกจากท่ีทำ�งานเดิม โดยใช้
ความรู้หรืออิทธิพลจากท่ีเดิมมาชิงงานหรือเอาประโยชน์โดยไม่เป็นธรรม เช่น เอาความรู้ในนโยบาย
และแผนของธนาคารประเทศไทยไปชว่ ยธนาคารเอกชนอน่ื ๆ หลังจากเกษยี ณ เปน็ ต้น
หลักสำ�คัญของการจดั การผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๑. ชุมชนคาดหวังให้เจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานอย่างเป็นธรรม โดยให้ผลประโยชน์ของสาธารณะ
มคี วามสำ�คัญในอนั ดบั ตน้
๒. ความซอ่ื ตรงตอ่ หนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทย่ี งั เปน็ รากฐานของหลกั นติ ธิ รรม (ประชาชนทกุ คนเสมอภาค
ภายใตก้ ฎหมาย และต้องได้รบั การปฏิบัตอิ ย่างเปน็ ธรรม)

ระดบั ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีท่ี ๒ 35

ใบความรู้
เรอ่ื ง แนวทางการป้องกันผลประโยชน์ทับซอ้ น

แนวทางการปอ้ งกันผลประโยชน์ทบั ซ้อน
ผลประโยชน์ทับซ้อนหรือความขัดแย้งกันระหว่างผลประโยชน์ส่วนตนและผลประโยชน์ส่วน
รวม (Conflict of Interests : COI) เปน็ ประเด็นปัญหาทางการบรหิ ารภาครฐั ในปจั จุบันทเ่ี ป็นบอ่ เกดิ
ของปญั หาการทจุ รติ ประพฤตมิ ชิ อบในระดบั ทรี่ นุ แรงขนึ้ และยงั สะทอ้ นปญั หาการขาดหลกั ธรรมาภบิ าล
และเปน็ อปุ สรรคตอ่ การพัฒนาประเทศ
ประมวลจริยธรรมในการป้องกันหาผลประโยชน์ทับซ้อนในการปฏิบัติราชการหลายประการ
ดังปรากฏในประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถ่ินฝ่ายบริหาร พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้กำ�หนด
มาตรฐานจริยธรรม หมวด ๒ มาตรฐานจริยธรรม ส่วนที่ ๑ มาตรฐานจริยธรรมอันเป็นค่านิยมหลัก
ข้อ ๕ ประมวลจริยธรรมของข้าราชการการเมืองท้องถิ่นฝ่ายสภาท้องถิ่น พ.ศ. ๒๕๕๓ ได้กำ�หนด
มาตรฐานจรยิ ธรรม หมวด ๒ มาตรฐานจรยิ ธรรม สว่ นท่ี ๑ มาตรฐานจรยิ ธรรมอันเปน็ ค่านยิ มหลัก ขอ้ ๕
และประมวลจรยิ ธรรมของขา้ ราชการองคก์ ารบรหิ ารสว่ นต�ำ บลตะเคยี นไดก้ �ำ หนดมาตรฐานทางจรยิ ธรรม
ของขา้ ราชการ หมวด ๒ มาตรฐานจรยิ ธรรม สว่ นที่ ๑ มาตรฐานจรยิ ธรรมอันเปน็ ค่านยิ มหลกั ข้อ ๓
การบริหารผลประโยชนท์ ับซ้อน
หลักสำ�คัญของการจดั การผลประโยชน์ทบั ซ้อนมี ดงั น้ี
• ชมุ ชนคาดหวงั ใหเ้ จา้ หนา้ ทปี่ ฏบิ ตั งิ านอยา่ งเปน็ ธรรมโดยใหผ้ ลประโยชนส์ าธารณะ มคี วามส�ำ คญั
อนั ดับตน้
• ความซอ่ื ตรงตอ่ หนา้ ทข่ี องเจา้ หนา้ ทย่ี งั เปน็ รากฐานของหลกั นติ ธิ รรม (ประชาชนทกุ คนเสมอภาค
ภายใตก้ ฎหมายและตอ้ งไดร้ บั การปฏิบตั ทิ ่เี ป็นธรรม)
• ถา้ ไมจ่ ดั การผลประโยชนท์ บั ซอ้ นอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพเจา้ หนา้ ทก่ี จ็ ะละเลยประโยชนส์ าธารณะ
และใหค้ วามส�ำ คญั กบั ประโยชนส์ ว่ นตนหรอื ของคนบางกลมุ่ แทนซงึ่ จะมผี ลตอ่ การปฏบิ ตั งิ านและอาจน�ำ
ไปสู่การประพฤตมิ ชิ อบในที่สดุ
• ผลประโยชน์ทับซ้อนไม่ได้ผิดในตัวมันเองเนื่องจากเจ้าหน้าที่ก็มีชีวิตส่วนตนมีบางครั้ง
ทีผ่ ลประโยชนส์ ว่ นตนจะมาขัดแย้งกบั การท�ำ หนา้ ที่แตป่ ระเด็นคือตอ้ งเปิดเผยผลประโยชน์ทบั ซ้อนท่มี ี
• หน่วยงานภาครัฐต้องจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนอย่างโปร่งใสและพร้อมรับผิดชอบ มิฉะน้ัน
จะบน่ั ทอนความเชื่อมั่นของประชาชนตอ่ การปฏิบตั ิหน้าท่ขี องหน่วยงาน
• ปัจจุบันขอบเขตของผลประโยชน์ทับซ้อนขยายมากกว่าเดิม เนื่องจากมีการร่วมมือระหว่าง
ภาครัฐและเอกชนรวมถงึ ระหวา่ งหน่วยงานภาครฐั ทำ�ใหม้ ีความสมั พันธซ์ ับซ้อน/ซอ้ นทับมากข้นึ
• หนว่ ยงานควรตระหนกั วา่ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นจะเกดิ ขนึ้ ในการท�ำ งานและตอ้ งพฒั นาวฒั นธรรม
องค์กรทสี่ ง่ เสรมิ การระบุและเปิดเผยผลประโยชน์ทบั ซอ้ น
36 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิม่ เตมิ การป้องกนั การทจุ ริต”

• หน่วยงานต้องขจัดความเข้าใจผิดท่ีว่าผลประโยชน์ทับซ้อนเป็นเร่ืองผิดในตัวมันเอง มิฉะน้ัน
คนกจ็ ะพยายามปกปดิ
• ผลประโยชน์ทับซ้อนจะเป็นส่ิงผิดก็ต่อเม่ือมีอิทธิพลต่อการทำ�งานหรือการตัดสินใจกรณีน้ี
เรียกว่ามกี ารใชห้ นา้ ทใ่ี นทางมิชอบหรอื แม้แต่การฉ้อราษฎร์บังหลวง
• การจดั การผลประโยชน์ทบั ซ้อนสร้างประโยชนม์ ากมายแก่หนว่ ยงานเนื่องจาก
- ลดการทุจริตประพฤตมิ ชิ อบ
- สามารถแกข้ อ้ กลา่ วหาเรือ่ งความล�ำ เอียงไดง้ ่าย
- แสดงความยึดมน่ั ในหลกั ธรรมมาภิบาล
- ประชาชนเชื่อมน่ั ว่าหน่วยงานปฏบิ ัติหนา้ ท่อี ยา่ งเปน็ ธรรมและไม่มผี ลประโยชนแ์ อบแฝง
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมี ๓ ประเภทคอื
๑. ผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเกิดขึ้นจริง (actual) มีความทับซ้อนระหว่างผลประโยชน์ส่วนตน
และสาธารณะเกดิ ขึ้น
๒. ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทเ่ี หน็ (perceived & apparent) เปน็ ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทค่ี นเหน็ วา่ มี
แต่จริง ๆ อาจไม่มีก็ได้ถ้าจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนประเภทน้ีอย่างขาดประสิทธิภาพก็อาจนำ�มา
ซ่ึงผลเสีย ไม่น้อยกว่าการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนที่เกิดข้ึนจริงข้อน้ีแสดงว่าเจ้าหน้าท่ีไม่เพียงแต่
จะตอ้ งประพฤตติ นอย่างมีจรยิ ธรรมเทา่ น้นั แต่ตอ้ งทำ�ใหค้ นอน่ื ๆ รบั รูแ้ ละเห็นดว้ ยวา่ ไม่ได้รับประโยชน์
เช่นนั้นจริง
๓. ผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเป็นไปได้ (potential) ผลประโยชน์ส่วนตนที่มีในปัจจุบันอาจจะ
ทบั ซ้อนกบั ผลประโยชนส์ าธารณะไดใ้ นอนาคต
หนา้ ทท่ี บั ซอ้ น (Conflict of duty) หรอื ผลประโยชนเ์ บยี ดซอ้ นกนั (Competing interests)
มี ๒ ประเภท
ประเภทแรกเกดิ จากการทเ่ี จา้ หนา้ ทม่ี บี ทบาทหนา้ ทม่ี ากกวา่ หนง่ึ เชน่ เปน็ เจา้ หนา้ ทใ่ี นหนว่ ยงาน
และเป็นคณะกรรมการด้านระเบียบวินัยประจำ�หน่วยงานด้วย ปัญหาจะเกิดเมื่อไม่สามารถแยกแยะ
บทบาทหนา้ ทที่ ง้ั สองออกจากกนั ได้ อาจท�ำ ใหท้ �ำ งานไมม่ ปี ระสทิ ธภิ าพหรอื แมก้ ระทง่ั เกดิ ความผดิ พลาด
หรือผิดกฎหมาย ปกติหน่วยงานมักมีกลไกปอ้ งกันปัญหานโี้ ดยแยกแยะบทบาทหนา้ ทีต่ ่าง ๆ ใหช้ ัดเจน
แต่ก็ยังมีปัญหาได้โดยเฉพาะอย่างยิ่งในหน่วยงานที่มีกำ�ลังคนน้อย หรือมีเจ้าหน้าที่บางคนเท่านั้น
ทส่ี ามารถท�ำ งานบางอยา่ งทค่ี นอน่ื ๆ ท�ำ ไมไ่ ด้ คนสว่ นใหญไ่ มค่ อ่ ยหว่ งปญั หานก้ี นั เพราะดเู หมอื นไมม่ เี รอ่ื ง
ผลประโยชนส์ ่วนตนมาเก่ียวขอ้ ง
ประเภทท่ีสอง เกิดจากการท่ีเจ้าหน้าท่ีมีบทบาทหน้าท่ีมากกว่าหน่ึงบทบาท และการทำ�
บทบาทหน้าที่ในหน่วยงานหน่ึงน้ันทำ�ให้ได้ข้อมูลภายในบางอย่างที่อาจนำ�มาใช้เป็นประโยชน์แก่การ
ทำ�บทบาทหน้าท่ีให้แก่อีกหน่วยงานหน่ึงได้ ผลเสีย คือถ้านำ�ข้อมูลมาใช้ก็อาจเกิดการประพฤติมิชอบ
หรอื ความล�ำ เอยี ง/อคตติ อ่ คนบางกลมุ่ ควรถอื วา่ หนา้ ทท่ี บั ซอ้ นเปน็ ปญั หาผลประโยชนท์ บั ซอ้ นดว้ ยเพราะวา่ มี
หลกั การจดั การแบบเดยี วกนั นน่ั คอื การตดั สนิ ใจท�ำ หนา้ ทตี่ อ้ งเปน็ กลางและกลไกการจดั การผลประโยชน์
ทับซอ้ นก็สามารถนำ�มาจดั การกับหน้าทท่ี บั ซอ้ นได้

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี ๒ 37

หลกั การสำ�หรบั การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน
• ปกปอ้ งผลประโยชนส์ าธารณะ การท�ำ เพอื่ ผลประโยชนข์ องสาธารณะเปน็ หนา้ ทห่ี ลกั เจา้ หนา้ ที่
ตอ้ งตดั สนิ ใจและใหค้ �ำ แนะน�ำ ภายในกรอบกฎหมาย และนโยบายจะตอ้ งท�ำ งานในขอบเขตหนา้ ทพี่ จิ ารณา
ความถกู ผดิ ไปตามเนอื้ ผา้ ไมใ่ หผ้ ลประโยชนส์ ว่ นตนมาแทรกแซงรวมถงึ ความเหน็ หรอื ทศั นคตสิ ว่ นบคุ คล
ปฏบิ ตั ติ อ่ แตล่ ะบคุ คลอยา่ งเปน็ กลาง ไมม่ อี คตลิ �ำ เอยี งดว้ ย เรอ่ื ง ศาสนาอาชพี จดุ ยนื ทางการเมอื งเผา่ พนั ธ์ุ
วงศต์ ระกลู ท้ังนีเ้ จ้าหนา้ ท่ีไมเ่ พียงปฏบิ ัตติ ามกฎหมายเทา่ นัน้ แตต่ อ้ งมีจริยธรรมดว้ ย
• สนบั สนนุ ความโปรง่ ใสและพรอ้ มรบั ผดิ การจดั การผลประโยชนท์ บั ซอ้ นตอ้ งอาศยั กระบวนการ
แสวงหาเปดิ เผยและจดั การทโี่ ปรง่ ใส นนั่ คอื เปดิ โอกาสใหต้ รวจสอบและมคี วามพรอ้ มรบั ผดิ มวี ธิ กี ารตา่ ง ๆ
เช่น จดทะเบียนผลประโยชน์โยกย้ายเจ้าหน้าท่ีจากตำ�แหน่งท่ีเกี่ยวข้องกับผลประโยชน์ทับซ้อน
การเปิดเผยผลประโยชน์ส่วนตน หรือความสัมพันธ์ท่ีอาจมีผลต่อการปฏิบัติหน้าที่ถือเป็นขั้นตอนแรก
ของการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนการใช้กระบวนการอย่างเปิดเผยทั่วหน้าจะทำ�ให้เจ้าหน้าท่ีร่วมมือ
และ สรา้ งความเชอื่ ม่นั แก่ประชาชนผู้รบั บริการและผูม้ สี ่วนไดเ้ สีย
• ส่งเสริมความรับผิดชอบส่วนบุคคลและปฏิบัติตนเป็นแบบอย่าง การแก้ปัญหาหรือจัดการ
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นจะสะทอ้ นถงึ ความยดึ หลกั คณุ ธรรมและความเปน็ มอื อาชพี ของเจา้ หนา้ ทแ่ี ละองคก์ ร
การจัดการต้องอาศัยข้อมูลนำ�เข้าจากทุกระดับในองค์กรฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบเร่ืองการสร้างระบบ
และนโยบายและเจา้ หนา้ ทก่ี ม็ คี วามรบั ผดิ ชอบตอ้ งระบผุ ลประโยชนท์ บั ซอ้ นทตี่ นมี เจา้ หนา้ ทต่ี อ้ งจดั การ
กบั เรอ่ื งสว่ นตนเพอ่ื หลกี เลย่ี งผลประโยชนท์ บั ซอ้ นมากทส่ี ดุ เทา่ ทท่ี �ำ ได้ และผบู้ รหิ ารกต็ อ้ งเปน็ แบบอยา่ งดว้ ย
• สรา้ งวฒั นธรรมองคก์ ร ผบู้ รหิ ารตอ้ งสรา้ งสภาพแวดลอ้ มเชงิ นโยบายทช่ี ว่ ยสนบั สนนุ การตดั สนิ ใจ
ในเวลาท่ีมีประเด็นผลประโยชน์ทับซ้อนเกิดขึ้น และการสร้างวัฒนธรรมแห่งความซื่อตรง ต่อหน้าท่ี
ซึง่ ตอ้ งอาศัยวิธกี ารดังน้ี
- ให้ข้อแนะนำ�และการฝึกอบรมเจ้าหน้าที่เพ่ือส่งเสริมความเข้าใจเกี่ยวกับกฎเกณฑ์และ
การปฏบิ ตั ริ วมถงึ การใชก้ ฎเกณฑท์ ่ีมีในสภาพแวดล้อมการท�ำ งาน
- ส่งเสรมิ ให้มีการสอื่ สารอยา่ งเปดิ เผยและมกี ารเสวนาแลกเปล่ยี น เพ่อื ใหเ้ จา้ หน้าทสี่ บายใจ
ในการเปิดเผยและหารอื เกี่ยวกับผลประโยชน์ทับซอ้ นในที่ทำ�งาน
- ป้องกันไม่ให้ข้อมูลเก่ียวกับผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีเจ้าหน้าท่ีเปิดเผย เพ่ือมิให้มีผู้นำ�ไปใช้
ในทางทผี่ ิด
- ให้เจ้าหน้าที่มีส่วนร่วมในการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายและกระบวนการจัดการ
ผลประโยชน์ทับซ้อน เพื่อให้รู้สึกเป็นเจ้าของและปฏิบัติตามในเวลาเดียวกันก็ต้องสร้างระบบ โดยการ
พฒั นาในเร่อื งตอ่ ไปน้ี
- มาตรฐานในการสง่ เสรมิ ความซ่อื ตรงตอ่ หน้าท่โี ดยรวมไว้ในขอ้ กำ�หนดทางจรยิ ธรรม
- กระบวนการระบคุ วามเสย่ี งและจัดการผลประโยชนท์ ับซอ้ น
- กลไกความพรอ้ มรบั ผิดทัง้ ภายในและภายนอก
- วิธีการจัดการ (รวมถึงการลงโทษ) ท่ีทำ�ให้เจ้าหน้าท่ีถือว่าเป็นความรับผิดชอบของตนเอง
ที่จะต้องท�ำ ตามกฎระเบยี บและมาตรฐาน
38 แผนการจัดการเรยี นรู้ “รายวชิ าเพิ่มเติม การป้องกนั การทุจริต”

แนวทางการจัดการผลประโยชน์ทับซอ้ น
• กรอบการท�ำ งาน เปน็ วธิ กี ารกวา้ ง ๆ ไมจ่ �ำ กดั อยกู่ บั รายละเอยี ดขอ้ กฎหมายทเ่ี กยี่ วขอ้ งสามารถ
น�ำ ไปพฒั นาเปน็ รปู แบบการจดั การตามบรบิ ทขององคก์ รและกฎหมายไดม้ ี ๖ ขนั้ ตอน ส�ำ หรบั การพฒั นา
และการปฏิบัตติ ามนโยบายการจดั การผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๑) ระบุวา่ มผี ลประโยชนท์ ับซอ้ นแบบใดบ้างทมี่ กั เกิดขน้ึ ในองค์กร
๒) พฒั นานโยบายท่ีเหมาะสมรวมถงึ กลยุทธก์ ารจดั การและแก้ไขปญั หา
๓) ให้การศึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีและผู้บริหารระดับต่าง ๆ รวมถึงเผยแพร่นโยบายการจัดการ
ผลประโยชน์ทบั ซอ้ นใหท้ ่ัวถึงในองคก์ ร
๔) ด�ำ เนนิ การเป็นแบบอยา่ ง
๕) สอื่ สารใหผ้ มู้ สี ว่ นได้ เสยี ผู้รบั บริการ ผูส้ นบั สนุนองค์กร และชุมชนทราบถงึ ความมุ่งมั่นใน
การจดั การผลประโยชนท์ ับซ้อน
๖) บงั คบั ใชน้ โยบายและทบทวนนโยบายสมำ่� เสมอ
• รายละเอยี ดแตล่ ะขนั้ ตอน
๑) การระบุผลประโยชน์ทบั ซอ้ น
- ข้ันตอนแรกน้ี คือ การระบุว่าในการทำ�งานของหน่วยงานมีจุดใดบ้างที่เส่ียงต่อการเกิด
ผลประโยชน์ทับซ้อนและผลประโยชนท์ บั ซอ้ นทจี่ ะเกิดขึ้นไดน้ ัน้ มีประเภทใดบ้าง
- เปา้ หมายส�ำ คญั คือ องคก์ รตอ้ งรูว้ ่าอะไรคือผลประโยชน์ทับซ้อนทีเ่ ป็นไปได้ เพือ่ ป้องกัน
ไมใ่ ห้เกิดผลประโยชน์ทับซอ้ นท่เี กิดขึน้ จรงิ และทเ่ี หน็
- การมีส่วนร่วมของเจ้าหน้าท่ีมีส่วนสำ�คัญ เพราะจะทำ�ให้ระบุจุดเส่ียงได้ครอบคลุมและ
ทำ�ให้เจ้าหนา้ ท่รี ู้สึกเปน็ เจา้ ของและร่วมมอื กบั นโยบาย
- ตัวอย่างของผลประโยชน์ส่วนตน เช่น ผลประโยชน์ทางการเงิน/เศรษฐกิจ (เช่น หนี้)
ธุรกจิ สว่ นตัว/ครอบครวั ความสมั พันธ์ส่วนตวั (ครอบครวั ชมุ ชน ชาตพิ ันธุ์ ศาสนา ฯลฯ) ความสัมพันธ์
กับองค์กรอน่ื (เอ็นจโี อ สหภาพการคา้ พรรคการเมือง ฯลฯ) การท�ำ งานเสรมิ ความเป็นอร/ิ การแขง่ ขนั
กบั คนอน่ื /กลุม่ อ่นื
- ตัวอย่างของจุดเสี่ยง เช่น การปฏิสัมพันธ์กับภาคเอกชนการทำ�สัญญาจัดซ้ือจัดจ้าง
การตรวจตราเพ่ือควบคมุ คุณภาพมาตรฐานของการท�ำ งานหรืออปุ กรณใ์ นภาคธุรกจิ การออกใบอนญุ าต
การให้บริการที่อุปสงค์มากกว่าอุปทาน การกระจายงบราชการ การปรับการลงโทษการให้เงิน/สิ่งของ
สนับสนุนช่วยเหลือผเู้ ดอื ดร้อน การตดั สนิ ข้อพิพาท ฯลฯ ทง้ั น้รี วมถึงงานท่ีสาธารณะหรือส่อื มวลชน
ใหค้ วามสนใจเป็นพเิ ศษ
- การระบผุ ลประโยชนท์ บั ซอ้ นนต้ี อ้ งพจิ ารณานยิ าม และขอ้ ก�ำ หนดทางกฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ ง
ประกอบด้วย

ระดับชนั้ มัธยมศึกษาปีที่ ๒ 39

๒) พฒั นากลยทุ ธ์และตอบสนองอยา่ งเหมาะสม
- องค์ประกอบประการหนึ่งในการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน คือ ความตระหนักของ
ผบู้ รหิ าร และเจา้ หนา้ ทีเ่ กี่ยวกับวธิ ีการจัดการผลประโยชนท์ ับซ้อนรวมถงึ ความรับผิดชอบของแตล่ ะคน
ดงั นนั้ กฎเกณฑเ์ กยี่ วกบั การจดั การตอ้ งแยกใหช้ ดั ระหวา่ งความรบั ผดิ ชอบขององคก์ ร และความรบั ผดิ ชอบ
ของสมาชกิ ในองคก์ ร และยังต้องท�ำ ใหผ้ ูบ้ รหิ าร และเจ้าหนา้ ทส่ี ามารถ
- รู้ได้ว่าเมื่อใดมีผลประโยชน์ทับซ้อนเกิดข้ึน และในแบบใด (แบบเกิดขึ้นจริง แบบท่ีเห็น
หรือแบบเปน็ ไปได้)
- เปิดเผยผลประโยชนท์ บั ซอ้ น และบนั ทึกกลยุทธ์ต่างๆ ท่ีใช้เพ่ือการจดั การ
- ติดตามประสทิ ธภิ าพของกลยทุ ธท์ ใ่ี ช้
๓) ให้ความรู้แกเ่ จา้ หน้าที่ และหัวหนา้ งานระดบั สูง
- เพื่อให้การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนมีประสิทธิภาพต้องมีการให้ความรู้อยา่ งต่อเน่ือง
ต้ังแต่เจ้าหน้าท่ีในองค์กรเอกชนที่มาทำ�สัญญา อาสาสมัครหัวหน้างานระดับสูง และกรรมการบริหาร
การใหค้ วามรจู้ ะเรมิ่ ตงั้ แตก่ ารปฐมนเิ ทศ และมอี ยา่ งตอ่ เนอ่ื งในระหวา่ งท�ำ งาน เจา้ หนา้ ทที่ กุ คนควรสามารถ
เข้าถึงนโยบาย และข้อมูลท่ีจะช่วยให้พวกเขาสามารถระบุ และเปิดเผยผลประโยชน์ทับซ้อนส่วนตัว
ผ้บู ริหารเองก็ตอ้ งรวู้ ธิ ีจัดการผลประโยชน์ทบั ซอ้ น
- ข้ันตอนแรกของการให้ความรู้ คือ สร้างความเข้าใจว่าอะไรคือผลประโยชน์ทับซ้อน
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นใดเกดิ ขนึ้ บอ่ ยในองคก์ ร อะไรคอื จดุ เสย่ี งทร่ี ะบใุ นนโยบาย รวมถงึ ความแตกตา่ งของ
ความรับผิดชอบในการปฏิบัติตามนโยบายของผู้มีตำ�แหน่งหน้าที่ต่างกันควรให้เอกสารบรรยายพร้อม
ตวั อยา่ งทชี่ ดั เจนส�ำ หรบั การระบุ และจัดการผลประโยชนท์ บั ซ้อน โดยเนน้ ตรงท่เี ป็นจุดเส่ียงมาก ๆ เชน่
การตดิ ตอ่ การรว่ มท�ำ งานกบั ภาคเอกชนการแลกเปลย่ี นบคุ ลากรกบั ภาคเอกชนการแปรรปู การลดขนั้ ตอน
และกระจายอำ�นาจความสัมพันธ์กับเอ็นจีโอ และกจิ กรรมทางการเมือง เปน็ ตน้
- นอกจากการใหค้ วามรแู้ ลว้ ความตน่ื ตวั และเอาใจใสข่ องผบู้ รหิ ารรวมถงึ กลยทุ ธ์ การจดั การ
ที่มีประสิทธิภาพจะมีส่วนอย่างสำ�คัญในการช่วยให้เจ้าหน้าท่ีปฏิบัติตามการสร้างความตื่นตัว และ
ความเอาใจใส่จะชว่ ยในการแสวงหาจดุ เสยี่ ง และพฒั นาวธิ ีการป้องกันปัญหาทจี่ ะเกดิ ขน้ึ ตอ่ ไป
๔) ด�ำ เนินการเปน็ แบบอย่าง
- การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนท่ีมีประสิทธิภาพจำ�เป็นต้องอาศัยความทุ่มเทของผู้ท่ีอยู่
ในต�ำ แหนง่ ระดบั บรหิ ารซงึ่ ตอ้ งแสดงภาวะผนู้ �ำ สนบั สนนุ นโยบาย และกระบวนการอยา่ งแขง็ ขนั สนบั สนนุ
ให้เจ้าหน้าที่เปิดเผยผลประโยชน์ทับซ้อน และให้ความช่วยเหลือแก้ไขผู้บริหารมีความสำ�คัญ เน่ืองจาก
เจา้ หนา้ ท่ีมักจะค�ำ นงึ ถึงสง่ิ ทีผ่ ้บู รหิ ารใหค้ วามสนใจ
- ผู้บริหารตอ้ ง
(๑) พจิ ารณาวา่ มีขอ้ มลู เพียงพอทจ่ี ะชีว้ ่าหน่วยงานมีปัญหาผลประโยชน์ทบั ซอ้ นหรือไม่
(๒) ช่ังน้�ำหนักประโยชน์ขององค์กร ประโยชน์ส่วนบุคคล และประโยชน์สาธารณะ
และพิจารณาวา่ อะไรคอื วธิ ที ี่ดที ี่สุดในการจัดการหรือแกไ้ ขผลประโยชน์ทบั ซ้อน และ
40 แผนการจดั การเรียนรู้ “รายวิชาเพม่ิ เตมิ การป้องกันการทจุ รติ ”

(๓) พิจารณาปัจจัยอื่น ๆ รวมถึงระดับ และลักษณะของตำ�แหน่งหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ี
ทเ่ี กย่ี วข้องรวมถงึ ลักษณะของผลประโยชนท์ ับซอ้ น
๕) สอ่ื สารกบั ผู้มสี ว่ นไดเ้ สีย
- ประเด็นสำ�คัญ คือ ภาพลักษณ์ขององค์กรในการรับรู้ของผู้มีส่วนได้เสีย เนื่องจากไม่ว่า
จะสามารถจดั การกบั ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นไดด้ เี พยี งใดถา้ ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี รบั รเู้ ปน็ ตรงกนั ขา้ มผลเสยี ทเ่ี กดิ ขนึ้
ก็เลวรา้ ยไม่แพ้กัน
- การท�ำ งานกบั องคก์ รภายนอกไมว่ า่ เปน็ เอน็ จโี อ หรอื ภาคธรุ กจิ องคก์ รตอ้ งระบจุ ดุ เสย่ี งของ
ผลประโยชนท์ บั ซอ้ นกอ่ น และพฒั นาวธิ ปี อ้ งกนั ไมว่ า่ เปน็ เรอ่ื งขอ้ มลู ภายใน หรอื โอกาสการใชอ้ �ำ นาจหนา้ ท่ี
เพื่อผลประโยชน์ และต้องแจ้งแก่องค์กรภายนอกให้ทราบนโยบายการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน
และผลท่ตี ามมาหากไม่ปฏบิ ัตติ ามนโยบาย เช่น ยกเลกิ สญั ญา หรือดำ�เนนิ การตามกฎหมายบางองคก์ ร
ภาครฐั จะอาศยั จรยิ ธรรมธรุ กจิ เพอื่ สอื่ สารเกยี่ วกบั หนา้ ที่ และความพรอ้ มรบั ผดิ ทผี่ ทู้ �ำ ธรุ กจิ มกี บั หนุ้ สว่ น
และผ้ทู ำ�สญั ญาดว้ ย
- นอกจากนค้ี วรสอ่ื สารแบบสองทางกบั องคก์ รภายนอก อาจใชว้ ธิ ตี า่ ง ๆ เชน่ ใหม้ สี ว่ นรว่ ม
ในการระบุจุดเส่ียง และร่วมกันพัฒนากลไกป้องกันแก้ไขปัญหา ขอรับฟังความเห็นต่อร่างนโยบาย
การจัดการผลประโยชน์ทับซ้อน ร่วมทบทวน และปรับปรุงกลไกการแสวงหา และแก้ไขผลประโยชน์
ทับซ้อนวิธีเหล่าน้ีจะทำ�ให้ได้นโยบายที่สอดคล้องความคาดหวังสาธารณะ และได้รับความร่วมมือจาก
ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี ทงั้ นี้ ในการรว่ มกนั จดั การผลประโยชนท์ บั ซอ้ นกบั ผมู้ สี ว่ นไดเ้ สยี น้ี องคก์ รภาครฐั ตอ้ งท�ำ ให้
การตดั สนิ ใจทกุ ข้นั ตอนโปรง่ ใส และตรวจสอบได้
๖) การบงั คบั ใชแ้ ละทบทวนนโยบาย
- ระบบจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนต้องได้รับการทบทวนประสิทธิภาพสม่�ำเสมอ
โดยสอบถามข้อมูลจากผู้ใช้ระบบ และผู้มีส่วนได้เสียอื่น ๆ เพื่อให้ระบบใช้ได้จริง และตอบสนองต่อ
สภาพการท�ำงานรวมถึงสภาพสงั คม เศรษฐกจิ ทเี่ ปลยี่ นแปลง อีกทั้งยงั สรา้ งความร้สู ึกเป็นเจ้าของ และ
ความร่วมมือนอกจากนี้ยังอาจเรยี นรู้จากองคก์ รอ่ืน ๆ การแสวงหาการเรยี นรเู้ ชน่ น้ยี ังเป็นการสอ่ื สารว่า
องค์กรมีความมุ่งม่ันในการจัดการผลประโยชน์ทับซ้อนอีกด้วย การทบทวนควรครอบคลุมจุดเสี่ยง
และมาตรการ และผลการทบทวนหรือมีการเปลี่ยนแปลงต้องส่ือสารให้แก่เจ้าหน้าท่ีผู้ปฏิบัติให้เข้าใจ
และปรับเปล่ียนการท�ำงานให้สอดคล้องกัน โดยอาจพัฒนาระบบสนับสนุนเพ่ือช่วยพัฒนาทักษะ
และการให้ค�ำปรึกษาแก่เจ้าหน้าท่ีการเปิดเผย และรายงานข้อสงสัยเกี่ยวกับการประพฤติมิชอบ
และการบรหิ ารทบี่ กพรอ่ ง/อคตขิ องภาครฐั เปน็ รากฐานของความถกู ตอ้ งเปน็ ธรรม (integrity) และการยดึ มน่ั
ยนื หยัดท�ำในส่ิงท่ถี ูกต้อง

ระดบั ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ ๒ 41

หน่วยที่ ๒

ความละอายและความไมท่ นตอ่ การทุจรติ

แผนการจดั การเรียนรู้ เวลา ๒ ชัว่ โมง

หน่วยที่ ๒ ชือ่ หน่วย ความละอาย และความไม่ทนตอ่ การทจุ รติ
ชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี ๒
แผนการจัดการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรื่อง ลกั ษณะความละอาย และความไม่ทนตอ่ ทุจรติ

๑. ผลการเรียนรู้
๑.๑ มีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับความละอาย และความไมท่ นต่อการทจุ ริต
๑.๒ ปฏิบัตติ นเปน็ ผู้ละอาย และไม่ทนต่อการทุจริตทุกรปู แบบ
๑.๓ ตระหนกั และเหน็ ความสำ�คญั ของการต่อต้าน และปอ้ งกนั การทจุ รติ
๒. จุดประสงคก์ ารเรียนรู้
๒.๑ นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับลักษณะความละอาย และความไม่ทนต่อการทุจริต
ในระดบั ประเทศ
๒.๒ นักเรยี นตระหนัก และเหน็ ความสำ�คญั ของการตอ่ ต้าน และปอ้ งกันการทจุ ริต
๓. สาระการเรียนรู้
๓.๑ ความรู้
ลักษณะความละอาย และความไมท่ นตอ่ การทจุ ริตในระดับประเทศ
๓.๒ ทักษะ/กระบวนการ (สมรรถนะทีเ่ กดิ )
๑) ความสามารถในการคิด
(๑) ทักษะการสังเกต
(๒) ทักษะการระบุ
๒) ความสามารถในการสือ่ สาร
(ฟงั พูด อา่ น เขยี น)
๓) ความสามารถในการใชท้ กั ษะชวี ติ
(วิเคราะห์ จดั กลุ่ม สรุป)
๓.๓ คุณลักษณะทพ่ี ึงประสงค/์ ค่านิยม
๑) ใฝห่ าความรู้ หมนั่ ศึกษาเล่าเรยี นท้ังทางตรง และทางอ้อม
๒) มีสติรู้ตวั ร้คู ิด รู้ทำ� ร้ปู ฏิบัตติ ามพระราชดำ�รสั ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยหู่ วั
๓) มคี วามเขม้ แขง็ ทงั้ รา่ งกาย และจติ ใจไมย่ อมแพต้ อ่ อ�ำนาจฝา่ ยตำ่� หรอื กเิ ลส มคี วามละอาย
เกรงกลัวต่อบาปตามหลักของศาสนา

42 แผนการจดั การเรยี นรู้ “รายวิชาเพ่มิ เติม การปอ้ งกันการทจุ ริต”

๔. กจิ กรรมการเรียนรู้
๔.๑ ขั้นตอนการเรียนรู้
ช่วั โมงที่ ๑ - ๒
๑. ชมคลปิ วีดีโอ “กระเปา๋ ตงั ค”์ ผลงานรองชนะเลิศการประกวดสอ่ื ปอ้ งกนั การทุจริต
ระดบั อดุ มศึกษา จากทีม่ าของคลิป คอื https://www.youtube.com/watch?v=Z๖h๔OuywCgE
๒. สนทนา อภปิ ราย รว่ มกนั จากเหตกุ ารณใ์ นคลปิ วดี โี อ “กระเปา๋ ตงั ค”์ ผลงานรองชนะเลศิ
การประกวดสือ่ ปอ้ งกันการทุจรติ ระดบั อุดมศึกษา โดยชใ้ี หเ้ หน็ ถงึ ผลเสียท่เี กดิ จากการทุจริต
๓. ชมคลิปวีดีโอ เรื่อง ลอกการบ้านเพื่อนมันไม่ดียังไง ไปดูท่ีมาของคลิปวีดีโอ https://
www.youtube.com/watch?v=๘O๕uHKs๔qLM
๔. สนทนา อภิปราย คลิปวีดีโอ เร่ือง ลอกการบ้านเพ่ือนมันไม่ดียังไง เพ่ือชี้ให้นักเรียน
ไดเ้ ล็งเห็น และตระหนักถงึ การทจุ ริตเป็นสง่ิ ทไ่ี มด่ ี รวมทั้งอธิบายถงึ เรื่องของการลอกการบา้ น เปน็ การ
ทจุ ริตทีจ่ ะสามารถขยายไปสกู่ ารทุจรติ ท่ีร้ายแรงขนึ้ ได้
๕. กจิ กรรมระดมสมอง โดยใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั คดิ วา่ ผลเสยี ของการไมท่ �ำ การบา้ น/ชนิ้ งาน
เอง สง่ ผลอยา่ งไรบา้ ง ลงบนกระดาษชาร์ต
๖. ครแู จกใบงาน เรือ่ ง ทำ�การบา้ น/ชิ้นงาน มีท้ังขอ้ ดี และข้อเสยี
๗. ครูสนทนากับนักเรียนเพ่ือความสร้างความตระหนัก โดยเน้นย�้ำกิจกรรมการเรียน
การสอนจากสื่อ และกิจกรรมการเรียนรู้ที่กล่าวมาข้างต้นน้ัน เราจะต้องเกิดพฤติกรรมที่ละลายต่อการ
กระท�ำความผดิ การไมย่ อมรบั และตอ่ ต้านการทจุ รติ ทกุ รูปแบบ
๔.๒ สอ่ื การเรียนร/ู้ แหลง่ การเรยี นรู้
๑) ลอกการบ้านเพ่ือนมันไม่ดียังไง ดูคลิป https://www.youtube.com/watch?v=
๘O๕uHKs๔qLM
๒) คลิปวีดีโอ “กระเป๋าตังค์” ผลงานรองชนะเลิศการประกวดส่ือป้องกันการทุจริตระดับ
อุดมศึกษา https://www.youtube.com/watch?v=Z๖h๔OuywCgE
๓) กระดาษชาร์ต
๔) ใบงาน เรือ่ ง ทำ�การบา้ น/ช้ินงาน มีท้งั ขอ้ ดี และข้อเสีย
๕. การประเมินผลการเรียนรู้
๕.๑ วิธีการประเมิน
๑) ใบงาน เรือ่ ง ท�ำ การบ้าน/ชน้ิ งาน มที ้งั ข้อดี และขอ้ เสีย
๒) สังเกตพฤตกิ รรมการทำ�งานของผู้เรยี นเปน็ รายบคุ คล

ระดบั ชน้ั มัธยมศึกษาปที ่ี ๒ 43


Click to View FlipBook Version