The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

แนวทางการดำเนินกิจกรรมสร้างสำนักพลเมือง

UprightBook_08

Keywords: แนวทางการดำเนินกิจกรรมสร้างสำนักพลเมือง

ข้อมูลจากการศึกษาทั้งหมด นักเรียนต้องรวบรวม เรียบเรียง
นำ� มาพัฒนาเปน็ แฟ้มผลงานทแ่ี สดงให้เหน็ ว่า
๑. ไดม้ กี ารเรียนรู้อะไรมาบ้างเกีย่ วกับปญั หาทีเ่ ลือก
๒. ได้มีการเรียนรู้อะไรมาบ้างเก่ียวกับทางเลือกอ่ืนๆ ของ
ปญั หา
๓. นโยบายสาธารณะดา้ นใดบา้ งทไี่ ดเ้ ลอื กไวห้ รอื พฒั นาขนึ้ มา
เพอื่ จดั การกบั ปัญหา
๔. แผนปฏบิ ตั กิ ารทไ่ี ดพ้ ฒั นาขน้ึ มาใชใ้ นความพยายามทจ่ี ะให้
รัฐบาลยอมรับในนโยบายนั้นความรู้ที่จะได้จากการศึกษา
ปัญหาในชุมชนนั้น นับว่ามีคุณค่ายิ่งนัก และควรมีการ
แบ่งปันกันกับผู้อ่ืนเพื่อประโยชน์ร่วมกัน การแบ่งปัน
ความร้คู วามเข้าใจจะสร้างประโยชน์ต่อตนเองด้วย เพราะ
เป็นการชว่ ยให้พฒั นาทักษะทสี่ ำ� คญั ต่อการมีสว่ นรว่ มของ
สังคมทป่ี กครองตนเอง

42 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen)

ขัน้ ตอนท่ี ๑
การระบปุ ญั หานโยบายสาธารณะในชุมชนของเรา
คณุ ลักษณะของนักเรียนโรงเรยี นสจุ รติ เมื่อจดั กจิ กรรมในขัน้ ตอนท่ี ๑
 ทกั ษะกระบวนการคิด
 จติ สาธารณะ
กจิ กรรมที่ ๑: ระบปุ ญั หาของนโยบายสาธารณะในชมุ ชนทจี่ ะทำ� การศกึ ษา
นักเรยี นต้องระบปุ ญั หาในชมุ ชน ทีค่ ดิ วา่ เปน็ เร่อื งสำ� คญั
หลักการในการเลือกปัญหาต่างๆ ในชมุ ชน
๑. ปัญหาท่ีคัดเลอื กมามีความสำ� คญั กบั คนในชุมชนหรือไม่ ?
๒. ภาครฐั มหี นา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบในการจดั การกบั ปญั หานนั้ หรอื ไม่ อยา่ งไร ?
๓. มขี อ้ มลู ของปญั หาทเ่ี พยี งพอสำ� หรบั การพฒั นาใหเ้ ปน็ โครงการทดี่ ี
หรือไม?่
๔. มคี วามเปน็ ไปได้ในการแกไ้ ขปัญหาหรือไม่ ?
๕. ยังมปี ญั หาอืน่ ในชุมชนอกี หรอื ไมท่ ีค่ ิดวา่ มปี ระโยชน์ตอ่ การ
พฒั นาชุมชน ?

แแนนววททาางงกกาารรดดำ�ำ�เเนนินินกกจิ ิจกกรรรรมมสสรรา้ า้ งงสส�ำ ำ�นนึกกึ พพลลเเมมือืองง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 43

การปฏบิ ตั ิ
๑. ใหจ้ ัดกลมุ่ ๆ ละ ๕-๘ คน
๒. แตล่ ะคนนกึ ถงึ และเขยี นปญั หาสาธารณะในชมุ ชนคนละ ๓ปญั หา
๓. ใหแ้ ต่ละคนเลอื กมา ๑ ปัญหาจาก ๓ ปัญหานนั้
๔. ทกุ คนนำ� เสนอตอ่ กลมุ่ วา่ ทำ� ไมเลอื กปญั หาน ้ี ปญั หามคี วามรนุ แรง
จ�ำเป็นต้องเร่งแก้ไขอยา่ งไร
๕. ใหก้ ลุ่มเลอื กปญั หาจากเพื่อนเสนอ เหลือเพียงกลุ่มละ ๑ ปัญหา
๖. ตวั แทนออกมานำ� เสนอหนา้ ห้อง ในประเด็น
- ปัญหาท่เี ลอื ก
- เหตผุ ลที่เลอื ก
- วธิ กี ารทีไ่ ด้มา ๑ ปัญหานี้
๗. เขียนปัญหาทเี่ สนอมากลมุ่ ละ ๑ ปญั หาบนกระดาน

ล�ำดับ ปัญหาที่คดิ ไว้ ปัญหาท่ีตนเลอื กเหลือ ๑ ปญั หา ปญั หาทก่ี ล่มุ เลือก




44 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen)

ตัวอยา่ งแบบฟอร์มในการหาข้อมลู จากแหล่งตา่ ง ๆ

ช่ือของสมาชิกทีม.......................................................................................
วนั ท.ี่ ............................................. ปัญหาทกี่ ำ�ลังศึกษา ...........................
ชื่อหน่วยงาน/ บุคคลท่ีต้องการหาข้อมูล ...............................................
๑. ท่านคดิ ว่าปัญหาทจี่ ะศึกษานัน้ เปน็ เรื่องสำ�คัญหรือไม่ ทำ�ไม
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
๒. รฐั บาลหรือหนว่ ยงานระดบั ใดทรี่ ับผิดชอบตอ่ การจัดการกบั ปญั หานี้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
๓. นโยบายอะไร (ถ้ามี) ท่หี นว่ ยงานใชใ้ นการจัดการกับปัญหานี้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
๔. หากยงั ใชน้ โยบายอย่ใู นขณะน้ี ขอใหต้ อบคำ�ถามต่อไปน้ี
- ขอ้ ไดเ้ ปรยี บและเสยี เปรยี บของนโยบายทใ่ี ชจ้ ดั การกบั ปญั หา คอื อะไรบา้ ง
...................................................................................................................
...................................................................................................................
- จะมกี ารปรบั ปรงุ นโยบายอยา่ งไรบา้ ง................................................
...................................................................................................................

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ ำ�เเนนินินกกิจจิ กกรรรรมมสสรร้าา้ งงสส�ำ ำ�นนกึ ึกพพลลเเมมืออื งง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 45

- มคี วามจำ�เปน็ ตอ้ งใช้นโยบายอื่นมาใช้ทดแทนหรือไม ่ ทำ�ไม ........
...................................................................................................................
...................................................................................................................
- มีอะไรบ้างทช่ี มุ ชนของเราไม่เห็นดว้ ยกบั นโยบายน้ี
...................................................................................................................
...................................................................................................................

46 แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสร้างสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

ขัน้ ตอนที่ ๒
การคัดเลอื กหน่งึ ปญั หา

คณุ ลกั ษณะของนกั เรียนโรงเรยี นสจุ ริตเม่อื จดั กจิ กรรมในข้ันตอนที่ ๒
 ทักษะกระบวนการคิด
 มีวนิ ยั
 จติ สาธารณะ
 ซ่ือสัตย์สจุ รติ

การคัดเลือกปัญหาของช้นั เรยี นเพ่ือใช้ส�ำหรับการศึกษา
มีวธิ ีการ ดังน้ี
- เลอื กปญั หาที่ส�ำคญั ท่สี ดุ ท่ชี มุ ชนเผชญิ อยู่
- รวบรวมข้อมูลที่จ�ำเป็นเพิ่มเติมเพ่ือจะได้เข้าใจปัญหาน้ันอย่าง
ถอ่ งแท้
- กำ� หนดเกณฑ์คัดเลอื กในการเลอื กสรรหัวขอ้ ทจี่ ะท�ำการศกึ ษา
- คดั เลือกหัวข้อทจี่ ะทำ� การศึกษา
- สามารถหาฉันทามติของกลุ่มในการเลือกปัญหาที่จะท�ำการ
ศกึ ษา

เรามีรูปแบบอะไรบา้ งท่ีใชใ้ นการตัดสนิ ใจ?
๑. เสียงขา้ งมาก (majority)
๒. ฉันทามติ (consensus)

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ ำ�เเนนนิ นิ กกิจิจกกรรรรมมสสรรา้ ้างงสส�ำ ำ�นนกึ ึกพพลลเเมมอื ืองง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 47

เสียงข้างมากหมายความวา่ อะไร?
เสยี งข้างมาก majority คือ
๑. จำ� นวนหรือส่วนท่มี ากกวา่ ครง่ึ
๒. จ�ำนวนคะแนนเสียงส่วนใหญ่ที่ได้มาจากการแข่งขันที่เกินจาก
จำ� นวนเสียงทีเ่ หลอื อยู่
ฉันทามติ หมายความว่าอะไร?
ฉันทามติ consensus คอื
“ข้อสรุป หรือ ผลของการตัดสินใจของกลุ่ม ท่ีผ่านการพูดคุย ปรึกษา
โตแ้ ยง้ ดว้ ยเหตผุ ล และคนส่วนใหญย่ อมรบั ในเหตุผลนน้ั ๆ”
กจิ กรรมเพือ่ หา “ฉันทามต”ิ
การใหน้ ้�ำหนกั ในการลงคะแนนกรณีใช้ Sticker สี ตดิ เลอื กปัญหา
แทนความหมาย เช่น
สีเขยี ว - เหน็ ดว้ ยกับแนวคิดทง้ั หมดของปัญหานน้ั
สเี หลอื ง - จะใหก้ ารสนบั สนนุ กบั ปญั หานนั้ หากเพอื่ นๆเลอื ก
สแี ดง - ไมส่ นบั สนนุ
Sticker แต่ละสี จะแสดงความเห็นทแ่ี ตกตา่ งกนั

48 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

ข้นั ตอนของฉันทามตใิ นห้องเรียน
๑. พูดคุยถึงแต่ละปัญหา หยิบยกค�ำถาม น�ำมาพูดคุยกันและ
พิจารณาถึงหนทางปฏบิ ตั ิในการแก้ไขที่เปน็ จรงิ ได ้
๒. หาจุดร่วมและความต่าง ข้อตกลงและข้อขัดแย้งระหว่าง
ปญั หาต่างๆ
๓. ใหก้ ารอำ� นวยการผสมผสานปญั หาทค่ี ลา้ ยกนั หรอื ปรบั ปรงุ แกไ้ ข
ปญั หา
๔. หยิบยกปญั หาใหม่ท่ีเกดิ จากการพูดคุย
๕. ตอ้ งนำ� เกณฑ์ต่อไปน้มี าพจิ ารณา
๕.๑ รัฐบาลมีอ�ำนาจหรือความรับชอบในการด�ำเนินการต่อ
ปัญหานหี้ รือไม่
๕.๒ ปญั หานถ้ี อื วา่ เปน็ ปญั หาเฉพาะเกย่ี วกบั นโยบายสาธารณะ
หรอื ไม ่
๕.๓ ปญั หานมี้ คี วามสำ� คญั ตอ่ เยาวชนหรอื ไม่ หรอื มผี ลกระทบ
ทางตรงหรือทางออ้ ม
๕.๔ มเี หตผุ ลเพยี งพอทจ่ี ะเชอ่ื วา่ นโยบายสาธารณะสามารถเปน็
ไปได้หรอื ไม่ หรือจะแกป้ ญั หาได้หรือไม่
๕.๕ นกั เรยี นสามารถหาขอ้ มลู เพม่ิ เตมิ ใหเ้ พยี งพอในการศกึ ษา
เกีย่ วกับปญั หานีห้ รือไม่ และท่ีสำ� คญั .. ฉันทามติ ในห้องเรยี นไดม้ าจาก...
* การสร้างสิ่งแวดล้อมที่ส่งเสริมให้มีการพูดคุยด้วยเหตุผล
และเปน็ แนวคดิ ท่ีดี

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ ำ�เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้า้างงสสำ��ำ นนึกึกพพลลเเมมอื ืองง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 49

* การให้นักเรียนออกความคิดเห็นท่ีหลากหลาย และค้นหา
แนวคดิ ท่ีแตกตา่ ง
* ในการตัดสนิ ใจ ไม่ควรใหน้ ักเรียนถูกชกั นำ� โดยเพื่อน หรือ
(โดยคร)ู
* ปล่อยให้มีท้ังความคิดที่ไม่เห็นด้วย หรือแนวความคิดที่
แตกต่างกันใช้กระบวนการในการผสมผสานความคิดท่ีแตกต่างกันนั้นจน
กระทงั่ มกี ารสรปุ เปน็ “ฉันทามต”ิ
กระบวนการสร้างฉนั ทามติ คอื อะไร
คอื “กระบวนการ” ที่
๑. สมาชกิ ทุกคนมสี ่วนร่วม
๒. สนับสนุนให้สมาชิกทุกคนออกความเห็นและความเห็นของ
ทุกคนถกู นำ� มาใช้
๓. ความเหน็ แตกตา่ ง (Difference) ถกู มองวา่ เปน็ ประโยชนแ์ ทนท่ี
จะมองวา่ เป็นอุปสรรค
๔. สมาชกิ ทย่ี งั ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั ขอ้ สรปุ เมอื่ กระบวนการเสรจ็ สน้ิ แลว้
ยอมรบั ทจ่ี ะใหเ้ วลาเปน็ เครอื่ งทดสอบข้อสรุปน้นั
๕. ต้องให้เวลาที่เพียงพอ กับทุกคนในการแสดงความคิดเห็น
ท�ำความเข้าใจความเหน็ ระหวา่ งกนั ก่อนตดั สินใจ แมจ้ ะใชเ้ วลานานก็ตาม
๖. สดุ ทา้ ย..สมาชกิ ทกุ คนมสี ่วนในการตดั สนิ ใจ

50 แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสร้างส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen)

ลำ� ดบั ปญั หาที่แตล่ ะกลุ่มเสนอ ปัญหาทช่ี ัน้ เรยี นเลอื กเพือ่ ศกึ ษา









แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ ำ�เเนนินินกกิจิจกกรรรรมมสสรร้าา้ งงสสำ�ำ�นนกึ ึกพพลลเเมมือืองง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 51

สรุปปญั หาท่ีชนั้ เรียนเลอื กเพ่ือศกึ ษา คือ ปญั หา ...................................
ข้นั ตอนที่ ๓

การรวบรวมขอ้ มูลเก่ยี วกบั ปญั หาทีจ่ ะศึกษา

คุณลักษณะของนักเรียนโรงเรียนสุจริตเมอ่ื จัดกิจกรรมในขน้ั ตอนที่ ๓
 ทักษะกระบวนการคดิ
 มวี ินยั
 ซ่อื สัตย์สจุ รติ
 อยูอ่ ย่างพอเพียง
 จติ สาธารณะ
ในขน้ั ตอนที่ ๓ น ้ี ประกอบดว้ ย
๑. การรวบรวมขอ้ มลู
๒. ตรวจสอบนโยบายทางเลือก
๓. น�ำเสนอและพัฒนานโยบายสาธารณะของตนเอง
๔. พัฒนาแผนปฏบิ ัตกิ าร

๓.๑ การรวบรวมขอ้ มูล
เมอ่ื ได้ปญั หาที่ช้ันเรยี นเลือกเพ่อื ศึกษาแลว้ ตอ่ ไปเป็นการ
รวบรวมข้อมูลท่ีอาจไปส�ำรวจ หรือค้นคว้าจากแหล่งข้อมูลท่ีชั้นเรียนเห็นว่า
เหมาะสม

52 แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสร้างสำ�นกึ พลเมือง (Project citizen)

การวางแผนในการหาข้อมูล
• ใครทร่ี บั ผิดชอบกับปญั หา
• ต้องการข้อมูลอะไร
• วธิ ีการทจี่ ะไดม้ าซึ่งขอ้ มลู

บคุ คล/องค์กร/แหลง่ ขอ้ มูลที่ ข้อมลู ที่ตอ้ งการ วธิ กี าร
เก่ยี วข้องกับปญั หา สาเหตขุ องปญั หา ท่ไี ด้มาซ่งึ ข้อมูล
คน้ หา บนั ทกึ
๑. หอ้ งสมดุ -หนงั สอื วารสาร วธิ กี ารแกไ้ ข

๒. Internet
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.

ใหน้ กั เรยี นแบง่ กลมุ่ เปน็ จำ�นวนเทา่ กบั แหลง่ ขอ้ มลู และเลอื กแหลง่
ข้อมูลที่กลุ่มแต่ละกลุ่มจะรับภารกิจไปหาข้อมูลที่เป็นประโยชน์เพื่อเป็น
แนวทางในการแก้ปญั หา
นกั เรยี นสามารถใหอ้ าสาสมคั ร เชน่ ผปู้ กครอง พๆี่ บคุ คลทม่ี คี วามรู้
เก่ยี วกบั ปญั หา ช่วยเหลอื แนะนำ� เพือ่ แลกเปลี่ยนขอ้ มลู และความรู้ ทเ่ี ปน็
ประโยชน์

แแนนววททาางงกกาารรดด�ำ �ำ เเนนนิ ินกกจิ จิ กกรรรรมมสสรรา้ ้างงสส�ำ �ำ นนึกกึ พพลลเเมมืออื งง ((PPrroojjeecctt cciittiizzeenn)) 53

ตวั อย่างแหล่งขอ้ มูล
๑. หอ้ งสมุด
๒. สำ�นักงานหนังสือพิมพ์ / นักข่าว เพราะนักข่าวจะเป็น
ผเู้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู ปัญหาต่าง ๆ ท่ีมีในชุมชนและการแกไ้ ขท่ีรัฐบาลกำ�ลงั
ดำ�เนินการอยู่ ซง่ึ นักเรยี นอาจจะได้รบั บทความ / รูปภาพเกยี่ วกบั ปญั หาที่
กำ�ลังศกึ ษา
๓. นกั วิชาการ ครู อาจารย์ นักศึกษา ในวิทยาลัย มหาวทิ ยาลยั
ที่อาจเป็นผู้มีประสบการณ์ / เป็นผู้เช่ียวชาญทางด้านปัญหาที่กำ�ลัง
ศกึ ษาอยู่ โดยการสอบถาม หาทอี่ ยู่ หมายเลขโทรศัพท์ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้
เพอื่ ขอให้ช่วยแนะนำ� ขอขอ้ มูลเกี่ยวกบั ปัญหาทีศ่ กึ ษา
๔. นักกฎหมาย ถือเป็นแหล่งข้อมูลที่ดีเย่ียมสำ�หรับปัญหา
ท้งั หลายในชมุ ชน อาจถามจากครแู ละเพือ่ นๆ ว่ามผี ้ปู กครองของนักเรียน
ที่เป็นทนายความหรือนักกฎหมายบ้างหรือไม่ ใช้สมุดโทรศัพท์ค้นหา
สำ�นกั งานกฎหมายรวมท้งั หมายเลขโทรศัพท์ เพื่อตดิ ตอ่ ขอสมั ภาษณ์
๕. องค์กรชุมชนและกลุ่มผลประโยชน์ ภาคเอกชน
๖. องคก์ รบรหิ ารสถานทรี่ าชการทเี่ กย่ี วขอ้ ง หรอื งานรบั ผดิ ชอบ
เก่ยี วข้องกับปญั หาของเรา
๗. เครือข่ายข้อมูลอเิ ล็กทรอนิกส์
การได้รับและบันทกึ ข้อมลู
๑. การหาขอ้ มลู ทางโทรศัพท์
๒. การนัดพบและสัมภาษณ์บุคคลต่าง ๆ
๓. การเขยี นจดหมายเพื่อขอขอ้ มูล

54 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen)

การเตรียมพรอ้ มในการหาข้อมลู
• การสมั ภาษณ์
– จดหมาย
– โทรศัพท์
– การนัดหมาย
– การไปพบด้วยตนเอง
• การสบื ค้น จากสอ่ื ส่งิ พมิ พ์ /อนิ เตอรเ์ น็ต
– การอา้ งองิ ที่มาของขอ้ มลู /รูปภาพ /ภาพเคล่ือนไหว
• แบบสอบถาม
– จดุ ประสงค์ ตอ้ งการทราบอะไร /เพอื่ อะไร /จากใคร /จำ�นวน
เทา่ ไร /เวลาใด

แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen) 55

56 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

แบบฟอร์มในการหาข้อมูลจาก Internet
และสื่อส่งิ พมิ พ์

ช่ือของสมาชิกทีม.......................................................................................
วนั ท่ี....................................................... ปญั หาทก่ี �ำลังศึกษา ..................
ชือ่ ส่อื / เวป็ ไซด์ ท่ตี อ้ งการหาข้อมลู .........................................................

๑. แหลง่ ข้อมูล .........................................................................................
ช่อื ส�ำนกั พิมพ.์ ......................................................................................
ผแู้ ตง่ ...................................................................................................
วันทต่ี พี ิมพ์ ..........................................................................................

๒. บันทกึ ขอ้ มลู ท่ีได้รับ
ก. ปัญหานใี้ นชุมชนของเราร้ายแรงเพียงใด .........................................
ข. การแพรก่ ระจายของปัญหาน้ใี นชุมชน หรือในประเทศ เปน็ อยา่ งไร
..........................................................................................................
ค. ท่านคิดว่าปญั หาของทา่ น
- ไมม่ ีกฎหมายท่จี ะจัดการกับปัญหา
ถูก............. ผดิ ............
- กฎหมายทจ่ี ะจัดการกบั ปญั หาไมเ่ พยี งพอ
ถกู ............. ผดิ ............
- กฎหมายทจ่ี ะจัดการกบั ปัญหามเี พียงพอแตไ่ มจ่ ริงจงั
ถูก............. ผดิ ............

แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสรา้ งสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 57

๓. มหี นว่ ยงานใดทำ� หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบปญั หานอ้ี ยู่ และไดท้ ำ� อะไรบา้ ง .......
....................................................................................................................
๔. มขี ้อขัดแยง้ ใดบ้างทีเ่ กี่ยวกบั นโยบายทีจ่ ัดการกับปัญหา .....................
....................................................................................................................
๕. ใครคือเสียงส่วนใหญ่ กลุ่มหรือหน่วยงานใดท่ีแสดงความคิดเห็น/
รบั ผิดชอบตอ่ ปัญหาน้ี
....................................................................................................................
- พวกเขาไดเ้ สนอนโยบายกับรฐั เพ่ือมาปรับใช้กับปญั หา
ไดอ้ ยา่ งไร..........................................................................................
- การใช้นโยบายของเขามปี ัญหา อุปสรรคอะไรบ้าง ..........................
.........................................................................................................
๖. ขอ้ เสนอแนะเก่ยี วกบั นโยบายหรอื แนวทางในการแก้ปญั หาของเรา
....................................................................................................................
๗. ความช่วยเหลอื ทพี่ วกเขาสามารถใหก้ ับเราในการแก้ปัญหา
มีอะไรได้บ้าง .......................................................................................


58 แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสร้างสำ�นึกพลเมอื ง (Project citizen)

แบบฟอร์มในการสมั ภาษณ์

ชื่อของสมาชิกทีม.....................................................................................
วันท.ี่ .................................. ปัญหาท่กี �ำลงั ศึกษา ......................................

๑. แหลง่ ขอ้ มลู
ชื่อผใู้ หข้ ้อมลู .......................................................................................
ต�ำแหน่งหน้าทแ่ี ละชอ่ื องคก์ ร ..............................................................
ที่อยู่ ...............................................เบอร์โทรศัพท์................................

๒. การขอทราบข้อมลู เกยี่ วกบั ปญั หา
ก. ปญั หาน้ีในชมุ ชนของเรารา้ ยแรงเพียงใด ........................................
ข. การแพร่กระจายของปญั หานี้ในชุมชน หรอื ในประเทศ เป็นอย่างไร
....................................................................................................................
ค. ท่านคิดวา่ ปัญหาของท่าน
- ไมม่ กี ฎหมายที่จะจัดการกับปญั หา
ถกู ............. ผิด ............
- กฎหมายทีจ่ ะจดั การกับปัญหาไมเ่ พียงพอ
ถกู ............. ผดิ ............
- กฎหมายที่จะจัดการกบั ปัญหามีเพียงพอแต่ไมจ่ ริงจงั
ถกู ............. ผดิ ............

แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสรา้ งสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 59

๓. มหี น่วยงานใดท�ำหนา้ ท่รี ับผดิ ชอบปญั หาน้ีอยู่ และได้ท�ำอะไรบา้ ง
...................................................................................................................
๔. มขี อ้ ขดั แยง้ ใดบา้ งทเี่ กย่ี วกบั นโยบายทจ่ี ดั การกบั ปญั หา ......................
....................................................................................................................
๕. ใครคือเสียงส่วนใหญ่ กลุ่มหรือหน่วยงานใดท่ีแสดงความคิดเห็น/
รบั ผิดชอบตอ่ ปัญหานี้ ..........................................................................
- พวกเขาได้เสนอนโยบายกับรัฐเพ่ือมาปรับใช้กับปัญหาได้อย่างไร
.........................................................................................................
- การใชน้ โยบายของเขามีปญั หา อุปสรรคอะไรบา้ ง ..........................
๖. ข้อเสนอแนะเก่ียวกับนโยบายหรือแนวทางในการแก้ปัญหาของเรา
...................................................................................................................
๗. ความชว่ ยเหลือ ทีพ่ วกเขาสามารถใหก้ ับเราในการแก้ปัญหา
มีอะไรไดบ้ า้ ง .......................................................................................
๘. ควรใชว้ ธิ ใี ดในการโนม้ นา้ วใหอ้ งคก์ รภาครฐั ยอมรบั นโยบายน.้ี .............
...................................................................................................................

60 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสรา้ งส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen)

๓.๒ การตรวจสอบนโยบายทางเลือก
หมายถึงการส�ำรวจตรวจหา กฎระเบียบ กฎหมาย หรือ
นโยบายสาธารณะอื่นๆท่ีเกี่ยวข้องกับปัญหาของนักเรียน ว่ามี หรือ ไม่มี
ท้ังนีร้ วมทง้ั นโยบายที่เตรยี มประกาศใช้ด้วย
ขั้นตอนนี้ถือว่าส�ำคัญมาก เป็นเป้าหมายท่ีต้องการให้
นักเรียน มีส่วนร่วมในการตรวจสอบนโยบายสาธารณะ หรือ กฎหมาย
ระเบียบปฏิบัติที่มีข้อบกพร่อง อันเป็นเหตุให้เกิดปัญหาที่ต้องหาแนวทาง
แกไ้ ข ถอื เปน็ หน้าท่ี และคุณลกั ษณะท่ีสำ� คัญของพลเมอื ง ซึ่งเป็นประเด็น
ทที่ ำ� ให้ Project Citizen แตกต่างจากโครงงานท่ัวไป
นกั เรยี นจะไดศ้ กึ ษานโยบายสาธารณะ ทเี่ กย่ี วขอ้ งกบั ปญั หา ในเรอ่ื ง
- หนว่ ยงานทีร่ ับผดิ ชอบ
- ข้อดี ขอ้ เสีย
- ผู้ท่สี นบั สนุนหรอื เห็นดว้ ยกับนโยบาย
- ผูท้ ีไ่ ดร้ บั ผลกระทบ ไมใ่ หก้ ารสนับสนุนหรือต่อตา้ นกับนโยบาย
- ปญั หาทเ่ี กดิ จากการใช้นโยบาย( มไี ม่ใช้/ มีใช้ไม่ได้/ ปฏบิ ตั จิ ริง
ไม่ได้ หรือ อ่นื ๆ)
- ข้อเสนอแนะเกยี่ วกับนโยบายนี้
ในอนาคต เมอื่ นกั เรยี นพบปญั หาในสงั คม ประสบการณน์ ้ี จะทำ� ให้
นกั เรยี นสามารถวเิ คราะหห์ าเหตแุ หง่ ปญั หานน้ั เพอ่ื พจิ ารณาหาทางแกไ้ ขได้

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 61

ตัวอย่างการตรวจสอบนโยบายสาธารณะ

๑) ระเบยี บ/กฎหมายนนั้ ชอ่ื .....................................................................
ประกาศใชเ้ มือ่ ........................หนว่ ยงานที่ประกาศใช้.........................
ขอ้ ดีของนโยบาย
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................
๓ .........................................................................................................
ข้อเสยี ของนโยบาย
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................
๓ .........................................................................................................
ผูท้ ี่สนับสนนุ หรือเหน็ ด้วยกับนโยบาย
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................
๓ .........................................................................................................
ผทู้ ไ่ี ดร้ บั ผลกระทบ ไมใ่ หก้ ารสนบั สนุนหรือตอ่ ต้านกับนโยบาย
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................
๓ .........................................................................................................

62 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

ปญั หาทเ่ี กดิ จากการใชน้ โยบาย (มไี มใ่ ช/้ มใี ชไ้ มไ่ ด/้ ปฏบิ ตั จิ รงิ ไมไ่ ด้ หรอื อนื่ ๆ)
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................
๓ .........................................................................................................
ข้อเสนอแนะเกี่ยวกบั นโยบายน้ี
๑ .........................................................................................................
๒ .........................................................................................................


แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งส�ำ นึกพลเมือง (Project citizen) 63

๓.๓ การพัฒนานโยบายสาธารณะของตนเอง
หมายถงึ การคดิ /พฒั นากำ� หนดนโยบายสาธารณะหรอื กฎระเบยี บ
เพือ่ แกป้ ัญหาของเราเอง โดย
- คดิ ขนึ้ มาใหม่ กำ� หนดเปน็ นโยบายทยี่ งั ไมเ่ คยมใี ครปฏบิ ตั มิ ากอ่ น หรอื
- สนับสนุนนโยบายเดิมที่มีใช้อยู่แล้ว ปรับปรุงให้ดีข้ึน น�ำเสนอ
รปู แบบทสี่ ามารถปฏิบัตไิ ดจ้ ริง
นโยบายทนี่ �ำเสนอจะต้อง
*** นกั เรยี นส่วนใหญใ่ นช้นั เหน็ ด้วย และ ตอ้ งไม่ขัดต่อกฎหมาย
รฐั ธรรมนูญ
*** เป็นนโยบายทยี่ ังไม่เคยมใี ครคดิ มาก่อน
*** เป็นการพัฒนานโยบายเดิมที่มีอยู่แล้ว ให้มีแนวทางปฏิบัติ
ทด่ี ขี ึน้ สามารถใช้แกป้ ัญหาได้จริง
ขั้นตอนนี้ นักเรียนจะได้พัฒนาทักษะกระบวนการคิด โดย
สร้างสรรค์จากข้อมูลที่ได้สืบหามาอย่างเพียงพอ เพ่ือพัฒนานโยบาย
สาธารณะ และกจิ กรรมท่สี ามารถใชแ้ ก้ปญั หาได้

64 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen)

ระบขุ อ้ มูลที่ศึกษาค้นควา้ ดงั หวั ขอ้ ต่อไปนี้
๑) นโยบายสาธารณะทพ่ี ฒั นาขน้ึ และคดิ วา่ ดที สี่ ดุ เพอื่ แกป้ ญั หาน้ี
คอื .............................................................................................................
๒) ขอ้ ดขี องนโยบาย คอื .............................................................
...................................................................................................................
๓) ขอ้ เสียของนโยบาย คอื .........................................................
...................................................................................................................
๔) หน่วยงานของรฐั ท่คี วรรบั ผดิ ชอบนโยบายทน่ี �ำเสนอ ............
....................................................................................................................
๕) นโยบายทน่ี ำ� เสนอ เปน็ ไปตามบทบญั ญตั ขิ องรฐั ธรรมนญู เพราะ
....................................................................................................................

นโยบายสาธารณะ .........................................................................
ประกอบดว้ ยกจิ กรรม ๑. ..............................................................
๒. ..............................................................
๓. ..............................................................
สถานท่ีทใี่ ชใ้ นการปฏิบัตงิ าน ..........................................................
บคุ คลทเี่ กยี่ วขอ้ ง ...............................................................................
.............................................................................
ผู้มอี �ำนาจในการบงั คับใช้นโยบาย ..................................................

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 65

๓.๔ การนำ� นโยบายท่คี ิดขึ้นไปปฏบิ ัตใิ ห้บรรลผุ ล
หมายถงึ การดำ� เนนิ การตามนโยบายทคี่ ดิ ขน้ึ ไดแ้ กก่ จิ กรรม
ตา่ งๆ ทส่ี นบั สนนุ นโยบายสาธารณะซงึ่ ไดร้ บั การปรบั ปรงุ แกไ้ ข หรอื พฒั นา
ขนึ้ ใหม่ ทคี่ ดิ ว่าจะสามารถแก้ปญั หาได้ โดย
๑. สอบถามความคิดเห็นผู้ที่เกี่ยวข้อง ถึงประโยชน์ ผลดี
ผลเสยี และความเปน็ ไปไดข้ องนโยบาย เพอ่ื เปน็ แนวทางในการปฏบิ ตั งิ าน
๒. วางแผนการด�ำเนนิ งานเป็นขั้นตอน
๓. ขออนญุ าตดำ� เนนิ งาน/ กจิ กรรม โดยบนั ทกึ ถงึ ผมู้ อี ำ� นาจ
ในสถานทที่ จี่ ะปฏบิ ตั งิ าน รวมถงึ การขอความอนเุ คราะหบ์ คุ ลากร หนว่ ยงาน
องคก์ รท่ีเกีย่ วขอ้ ง
๔. ลงมอื ปฏบิ ตั ติ ามนโยบายทว่ี างแผนไว้
ข้ันตอนนี้ นักเรียนจะได้ฝึกการวางแผน การปฏิบัติงาน
โดยแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ ในการด�ำเนินกิจกรรมให้บรรลุผลโดยใช้
เอกสารตารางชว่ ยคดิ ดงั นี้
๔.๑ กจิ กรรมหลักของนโยบาย คือ ....................................
...................................................................................................................
๔.๒ บคุ คลหรอื หนว่ ยงาน ทอี่ าจสนบั สนนุ นโยบายของเรา คอื
....................................................................................................................
๔.๓ ภารกจิ ทต่ี อ้ งปฏบิ ตั เิ พอ่ื ไดร้ บั การสนบั สนนุ จากบคุ คล/
หน่วยงาน คอื ............................................................................................
๔.๔ บคุ คลหรอื หนว่ ยงาน ทอี่ าจตอ่ ตา้ น/ไมเ่ หน็ ดว้ ยกบั นโยบาย
ของเรา คือ .................................................................................................

66 แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสรา้ งส�ำ นึกพลเมือง (Project citizen)

๔.๕ ภารกิจที่ต้องปฏิบัติเพ่ือให้บุคคล/หน่วยงานท่ีไม่เห็น
ด้วยกบั นโยบาย เข้าใจและยอมรับนโยบายของเรา คอื .............................
.....................................................................................................................
๔.๖ กจิ กรรมทต่ี อ้ งดำ� เนนิ การในการแกป้ ญั หาตามแนวนโยบาย
สาธารณะทคี่ ิดข้ึน คือ
๑) .......................................................................................
๒) .......................................................................................
๓) .......................................................................................
๔) .......................................................................................

สรุปภารกจิ /กิจกรรม ทีต่ ้องปฏิบตั แิ ละผรู้ บั ผิดชอบ ตามลำ� ดับ ดังนี้

ภารกจิ /กิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
๑.
๒.
๓.
๔.
๕.
๖.
๗.
๘.

แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen) 67

กรอบการปฏิบัติภารกิจ/กจิ กรรม
ภารกจิ ท่ี ๑ ........................................................................................
ผ้รู ับผดิ ชอบ ........................................................................................
กจิ กรรม ๑. .......................................................................................
๒. .......................................................................................
๓. .......................................................................................
อปุ สรรค/ปญั หา .....................................................................................
การแก้ไข .............................................................................................
ผลการด�ำเนนิ งาน ...............................................................................
ภารกจิ ท่ี ๒ ........................................................................................
ผูร้ บั ผิดชอบ ........................................................................................
กจิ กรรม ๑. .......................................................................................
๒. .......................................................................................
๓. .......................................................................................
อปุ สรรค/ปญั หา .....................................................................................
การแกไ้ ข .............................................................................................
ผลการด�ำเนินงาน ...............................................................................

68 แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสร้างสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

สิง่ สำ� คัญที่ต้องคำ� นงึ ถึง คือ
๑. แสดงใหเ้ หน็ ความเป็นไปได้ โดยใช้สถติ ิ ขอ้ มูล รปู ภาพ
๒. นำ� เสนอประโยชนท์ จ่ี ะไดร้ บั ทง้ั ตอ่ บคุ คล ชมุ ชน สงั คม ประเทศชาติ
๓. แสดงความคดิ เหน็ เพอื่ โนม้ นา้ วใหภ้ าครฐั ยอมรบั นโยบายของเรา
- ความจำ� เป็นในการแกป้ ัญหา
- วธิ ีการแกป้ ัญหาท่เี ปน็ รูปธรรม พรอ้ มหลกั ฐาน
- ผลการปฏบิ ัตติ ามโครงการท่บี รรลุเป้าหมาย
สามารถแกป้ ัญหาได้จรงิ
๔. นำ� ไปประกาศใช้เป็นนโยบายสาธารณะ
การท่ีหน่วยงาน หรือองค์กรภาครัฐ ยอมรับที่จะปรับปรุง หรือ
ประกาศใช้นโยบายสาธารณะที่นักเรียนได้พัฒนาข้ึน ถือเป็นผลงานที่
แสดงถึงความสำ� เร็จของโครงการ

แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen) 69

70 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

ข้นั ตอนที่ ๔
การพฒั นาแฟ้มผลงานของช้นั เรียน

คุณลักษณะของนักเรยี นโรงเรยี นสจุ ริตเม่ือจดั กิจกรรมในข้ันตอนท่ี ๔
 ทักษะกระบวนการคิด
 มีวินยั
 ซอ่ื สตั ยส์ จุ ริต

มจี ดุ ประสงคเ์ พอ่ื สรปุ โครงการดว้ ยแฟม้ ผลงานและผงั นทิ รรศการ
นำ�เสนอใหผ้ มู้ อี ำ�นาจประกาศใชน้ โยบาย และผอู้ า่ นทว่ั ไป ไดเ้ ขา้ ใจแนวทาง
แกป้ ญั หาด้วยนโยบายสาธารณะทีพ่ วกเราได้พัฒนาขน้ึ นน้ั สามารถปฏิบตั ิ
ได้ และแกป้ ัญหาได้จรงิ
๑. แฟม้ ผลงาน ประกอบด้วย
๑) การอธิบายถึงปัญหา ประกอบด้วยข้อมูลท่ีเชื่อถือได้ มี
แหล่งอ้างอิง เช่น ข้อมูลทางวิชาการ สถิติ รูปภาพงานวิจัยที่เก่ียวข้อง
ครอบคลมุ สาระสำ�คญั คือ
- ความสำ�คัญของปัญหา
- ความจำ�เป็นท่หี น่วยงานรัฐตอ้ งแกไ้ ขปัญหา
๒) การตรวจสอบนโยบายทางเลอื ก
- นำ�เสนอนโยบายท่ีมใี ช้อย่ใู นปัจจุบัน
- ขอ้ ขัดขอ้ ง/ปจั จยั ทท่ี ำ�ใหน้ โยบายทใ่ี ช้อยู่ไม่สัมฤทธ์ผิ ล

แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 71

๓) การนำ�นโยบายสาธารณะทเ่ี ราคดิ ขน้ึ เพอื่ จดั การกบั ปญั หา
ได้แก่ข้อมูลเก่ียวกับเหตุผลการพัฒนานโยบายสาธารณะใหม่ กิจกรรม
เปา้ หมายวธิ ดี ำ�เนนิ งานระยะเวลาสถานท่ีหนว่ ยงานทเ่ี กยี่ วขอ้ งงบประมาณ
ผลทค่ี าดว่าจะไดร้ บั
๔) การดำ�เนินกิจกรรมตามนโยบายสาธารณะท่ีเราคิดขึ้นใน
พน้ื ทีซ่ งึ่ สามารถแก้ปญั หาโดยใชค้ ณุ ลักษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสุจรติ
ไดจ้ รงิ ประกอบด้วยข้อมลู สถติ ิ รูปภาพประกอบกิจกรรม ผลงานที่แสดง
ให้เห็นถึงผลสัมฤทธ์ิในการแก้ปัญหา เพ่ือเสนอต่อรัฐบาล/หน่วยงานท่ี
รบั ผดิ ชอบ ให้ยอมรับนโยบายท่นี ำ�เสนอ
๒. ผงั นทิ รรศการ คอื การสรปุ ขอ้ มลู จากแฟม้ ผลงานทงั้ ๔ หวั ขอ้
ลงในแผน่ ปา้ ยนเิ ทศ แผน่ ละ ๑ หวั ขอ้ ตามลำ�ดบั เพอื่ นำ�เสนออยา่ งยอ่ ขอ้ มลู
จึงต้องกระชับ นำ�เสนอส่วนที่สำ�คัญ และจำ�เป็นท่ีแสดงให้เห็นแนวทาง
แก้ปัญหาด้วยนโยบายของเรา อย่างสัมฤทธิ์ผลได้อย่างชัดเจน การจัดผัง
นิทรรศการข้อมูลต้องชัดเจน และน่าสนใจ อาจใช้รูปภาพท่ีเก่ียวข้องกับ
ปัญหา ภาพกิจกรรมประกอบคำ�อธิบายส้ันๆ และสถิตทิ ี่ยืนยนั ความสำ�เร็จ
แนวทางในการสรปุ รวบรวมขอ้ มูล
๑. ความโนม้ นา้ วจติ ใจ ใหค้ ลอ้ ยตาม เหน็ ดว้ ยกบั ขอ้ มลู ทนี่ ำ�เสนอ
๒. การปฏบิ ัตไิ ด้
๓. ความประสานการร่วมมือ
๔. ผลสะทอ้ นจากประสบการณ์

72 แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสรา้ งสำ�นกึ พลเมือง (Project citizen)

ขน้ั ตอนที่ ๕
การน�ำเสนอแบบปากเปล่าด้วยแฟม้ และผงั นิทรรศการ
คณุ ลกั ษณะของนกั เรยี นโรงเรยี นสจุ รติ เมอื่ จดั กจิ กรรมในขน้ั ตอนท่ี ๕
 ทกั ษะกระบวนการคิด
 มวี ินยั
 จติ สาธารณะ
จดุ ประสงค์
๑. เพอ่ื ใหผ้ ฟู้ งั ไดร้ บั ทราบและเหน็ ความส�ำคญั ของปญั หาทเ่ี กดิ ขน้ึ
ในชุมชนซึง่ เราศกึ ษา
๒. เพื่ออธิบายและประเมินนโยบายทางเลือกอ่ืนๆ ให้ผู้ฟังเข้าใจ
ในผลดแี ละผลเสียของแต่ละนโยบาย
๓. เพอ่ื แลกเปลย่ี นความคดิ เหน็ เกย่ี วกบั นโยบายทช่ี นั้ เรยี นคดิ วา่
เป็นนโยบายที่ดที ่ีสุดในการแก้ปัญหา
๔. เพอ่ื แสดงใหเ้ หน็ วา่ ชน้ั เรยี นสามารถขบั เคลอ่ื นนโยบายสาธารณะ
ได้เช่นเดยี วกบั วธิ กี ารของฝ่ายบรหิ ารและฝ่ายนิติบัญญัติของรัฐ

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสรา้ งส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen) 73

เวลาทใ่ี ชใ้ นการน�ำเสนอ จะใช้เวลา ๑๐ นาที แบ่งเป็น ๒ สว่ น คอื
สว่ นท่ี ๑ การนำ� เสนอผลงาน ใชข้ อ้ มลู หลกั ทส่ี ำ� คญั ทสี่ ดุ เฉลยี่ ผงั ละ
๑ นาที จึงต้องเน้นเฉพาะส่วนทสี่ �ำคัญของแตล่ ะผงั พร้อมชภ้ี าพประกอบ
สว่ นท่ี ๒ เป็นชว่ งค�ำถามจากผูฟ้ งั หรือกรรมการ ใช้เวลา ๖ นาท ี
คำ� ถามมลี ักษณะดงั นี้
๑. ให้อธิบายบางจดุ ใหเ้ ข้าใจมากข้ึน
๒. ใหย้ กตวั อยา่ งประเด็นส�ำคัญ
๓. โตแ้ ยง้ บางประเดน็ จากข้อมลู ทน่ี �ำเสนอ
๔. ใหบ้ อกถงึ ประสบการณห์ รอื ปญั หาทเี่ กดิ ขน้ึ จากการเรยี นรู้
และการแกป้ ญั หา
แนวทางในการเตรียมนำ� เสนอ
๑. แบง่ หนา้ ทรี่ บั ผดิ ชอบใหช้ ดั เจน การนำ� เสนอจะใชน้ กั เรยี น ๒ คน
ต่อ ๑ ผงั คนที่ ๑ จะเปน็ ผู้นำ� เสนอ คนท่ี ๒ จะเป็นคนช้ีขอ้ ความในผังให้
สอดคลอ้ งกบั สาระทีเ่ พื่อนน�ำเสนอ
๒. ฝกึ ซอ้ มการนำ� เสนอใหค้ ลอ่ ง พดู ดว้ ยความเขา้ ใจ ไมใ่ ชก้ ารอา่ น
ใชเ้ สยี งดงั ชัดเจน นำ�้ เสยี งสอดคลอ้ งกบั สาระท่พี ูด ตรงเวลาทีก่ ำ� หนด
๓. เตรียมตอบค�ำถาม โดยทบทวนจากประสบการณ์การท�ำงาน
ร่วมกับเพ่ือนๆ ในช้ันเรียน และประสบการณ์ส่วนตัวท่ีเคยพบปัญหา
การแกป้ ญั หา และคณุ ค่าทไี่ ดเ้ รียนรู้

74 แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

ขั้นตอนท่ี ๖
สรุป ประเมินผลสะท้อนประสบการณ์

คณุ ลกั ษณะของนกั เรยี นโรงเรยี นสจุ รติ เมอ่ื จดั กจิ กรรมในขน้ั ตอนท่ี ๖
 ทกั ษะกระบวนการคิด
 มีวนิ ัย
 ซื่อสตั ยส์ จุ ริต
 อยู่อยา่ งพอเพียง
 จิตสาธารณะ

ทบทวนตนเอง เราได้เรยี นรอู้ ะไรบา้ งจากโครงการสร้างสำ�นึกพลเมอื ง
๑. การได้ทำ�งานร่วมกับเพ่ือนในช้นั เรียน ฉนั ไดเ้ รยี นรู้อะไรจาก
นโยบายสาธารณะบ้าง………………………………………………………………………
…………….…………………………………………................................................….
๒. การได้ทำ�งานร่วมกันท้ังช้ันเรียนเก่ียวกับนโยบายสาธารณะ
โดยการพัฒนาแฟม้ ผลงาน พวกเราได้เรยี นร้อู ะไรบา้ ง …………….……………
……………………………………………………………………...............…....……………..
๓. ทักษะท่ี ฉนั ได้เรียนรูห้ รอื ไดร้ บั การพฒั นาจากโครงการนี้ คอื
...................................................................................................................
๔. ทักษะท่ี พวกเราได้เรียนรูห้ รอื ได้รับการพัฒนาจากโครงการนี้
คือ .............................................................................................................

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสร้างสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 75

๕. ข้อดีจากการทำ�งานเป็นทีม คอื ..............................................
...................................................................................................................
๖. ขอ้ เสยี จากการทำ�งานเปน็ ทมี คอื ...........................................
...................................................................................................................
๗. งานท่ี ฉัน คดิ วา่ ทำ�ได้ดีในกิจกรรมนี้ คอื ……………………………
……….………………....………………...........................................................…….
๘. งานท่ี พวกเรา คดิ ว่าทำ�ได้ดีในกจิ กรรมนี้ คอื ………….....……
……….………………....………………...........................................................…….
๙. ฉนั คดิ วา่ จะสามารถพัฒนาทักษะในการแก้ปัญหาไดโ้ ดย ......
……….………………....………………...........................................................…….

๑๐. พวกเรา คดิ วา่ จะสามารถพฒั นาทกั ษะในการแกป้ ญั หาไดโ้ ดย
……….………………....………………...........................................................…….

๑๑. หากพวกเราต้องทำ�งานเร่ืองการแก้ปัญหานโยบายสาธารณะ
อีกครง้ั พวกเรา จะตอ้ งทำ�ส่ิงใดทแ่ี ตกต่างจากเดมิ ……….………………....…
……………..............................................................................................……
……….………………....………………...........................................................…….

มองปัญหารอบตัว รอบดา้ น
ปัญหาใหม่ ๆ ก็ย่อมตอ้ งการนโยบายสาธารณะใหม่ ๆ เช่นกนั

76 แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสร้างสำ�นึกพลเมอื ง (Project citizen)

สำ� นึกหน้าที่พลเมอื ง

ไดอ้ งค์ความรูค้ ดิ วิเคราะห์
ไดส้ ังเคราะหข์ ้อมลู แกป้ ัญหา
ไดค้ น้ คว้าหาความร้สู อู้ วิชชา
ได้วญิ ญาของมนษุ ย์กลับคืนมา

สำ� นึกดีคนดีกลบั มาเถิด
ขอจงเกิดคุณธรรมทกุ แห่งหน
ส�ำนกึ ดพี ลเมอื งดีเพื่อปวงชน
เปน็ สายชลหลอ่ เลยี้ งชนชาตไิ ทย

วันเฉลิม วุฒวิ ศิ ิษฏ์สกลุ ประพนั ธ์

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 77

78 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

แบบทดสอบความรู้ความเขา้ ใจกระบวนการ

กิจกรรมสรา้ งส�ำนกึ พลเมอื ง (Project Citizen)

คำ� ชแี้ จง จากคำ� ถามตอ่ ไปนจ้ี ำ� นวน ๑๐ ขอ้ จงเลอื กคำ� ตอบทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว
๑. ขอ้ ใดต่อไปน้คี อื ความหมายของค�ำว่า “พลเมอื ง”
๑. ประชาชนทใี่ ชป้ ระโยชน์จากสิทธทิ ี่ตนมีไม่สนใจใคร
๒. ประชาชนทม่ี จี ติ สำ� นกึ ทด่ี ี เคารพสิทธผิ ู้อนื่
๓. กลมุ่ คนท่ฟี ังเสยี งขา้ งมาก ไมฟ่ งั เสยี งข้างนอ้ ย
๔. กลุ่มคนที่ไดร้ ับสทิ ธิ เสรีภาพ ในการดำ� รงชีวิต
๒. ประชาธิปไตย หมายถงึ ขอ้ ใดต่อไปน้ี
๑. รูปแบบการปกครองทย่ี ดึ ถอื อำ� นาจอธปิ ไตยเป็นของปวงชน
๒. รูปแบบการปกครองทม่ี ผี นู้ ำ� เปน็ ใหญ่
๓. รูปแบบการปกครองโดยมพี ระมหากษตั รยิ เ์ ปน็ ผู้นำ� การปกครอง
๔. รูปแบบการปกครองโดยให้คนเข้าไปเลอื กตั้งเสยี งข้างมาก
๓. นโยบายสาธารณะ หมายถึง ข้อใดตอ่ ไปนี้
๑. การนกึ ถงึ ส่วนรวม
๒. ความมจี ิตสำ� นึกสาธารณะ
๓. แนวคดิ ของคนท่มี ผี ลตอ่ ส่วนรวม
๔. แนวทางกจิ กรรม การกระทำ� หรอื การเลอื กตดั สนิ ใจของรฐั บาลตอ่
ประชาชน

แนวทางการดำ�เนนิ กิจกรรมสรา้ งสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 79

๔. Project Citizen มีทั้งหมดกี่ข้นั ตอน
๑. ๓ ขนั้ ตอน
๒. ๔ ขน้ั ตอน
๓. ๕ ข้นั ตอน
๔. ๖ ข้ันตอน
๕. ขน้ั ตอนท่ี ๑ ของ Project Citizen ต้องการใหเ้ กิดสงิ่ ใด
๑. วเิ คราะห์นโยบายสาธารณะ
๒. กำ� หนดนโยบายสาธารณะ
๓. ลงพนื้ ที่สำ� รวจปญั หา
๔. วพิ ากษ์ปญั หาและก�ำหนดแนวทางแก้ไข
๖. ข้นั ตอนใดเปน็ การรวบรวมหลกั ฐาน หาขอ้ มลู ศกึ ษา พรบ. เพอ่ื น�ำไป
กำ� หนดนโยบายสาธารณะ
๑. ข้นั ตอน ท่ี ๓
๒. ขนั้ ตอน ท่ี ๔
๓. ข้นั ตอน ท่ี ๕
๔. ขน้ั ตอน ที่ ๖
๗. การใช้ Project Citizen ในการเรียนการสอนมุ่งเน้นให้เกิดส่ิงใด
ต่อไปนี้
๑. ความรู้
๒. ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลักษณะทดี่ ี
๓. ความเขา้ ใจ
๔. ผลสัมฤทธิ์ทสี่ งู ขนึ้

80 แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

๘. ฉนั ทามติ หมายถึง ข้อใดตอ่ ไปนี้
๑. เสียงสว่ นมากไมส่ นเสยี งขา้ งนอ้ ย ทำ� ตามเสยี งท่เี หน็ ด้วย
๒. ใหค้ วามหมายฉนั ทามตไิ ว้วา่ เปน็ ขอ้ ตกลงร่วมกนั ท่ีมลี กั ษณะเป็น
การยอมรบั แบบเอกฉันท์
๓. การหาข้อยุติโดยการคดั เลือกสง่ิ ท่ีดีทีส่ ดุ การทำ� ทุกอย่าง
๔. การถกเถียงปัญหาโดยไม่สนใจถึงเหตุผล ใช้อารมณ์ความรู้สึก
สว่ นตัวเข้ามาเกย่ี วขอ้ ง
๙. Project citizen มงุ่ สร้างสิง่ ใดใหเ้ กิดขน้ึ กบั นกั เรียนมากทสี่ ุด
๑. สร้างจติ ส�ำนกึ สว่ นรวมในการปกครอง ดูแลประเทศ
๒. สร้างทศั นคติความประหยัดใหเ้ กิดขึ้นกบั พลเมือง
๓. สร้างแนวคดิ การปกครองชมุ ชนในรูปแบบใหม่
๔. สร้างความกินดีอยูด่ ใี นสงั คมให้ยงั่ ยืน
๑๐. การสรา้ งส�ำนกึ พลเมืองทด่ี ีเปน็ หน้าที่ของบุคคลใดตอ่ ไปนี้
๑. ครูวินยั เพราะเปน็ ครูผู้สรา้ งสรรค์สังคม
๒. ป้าซ่ือสัตย์ เพราะเปน็ นายกเทศมนตรี
๓. ลุงสุจรติ เพราะเป็นต�ำรวจผูด้ แู ลบา้ นเมือง
๔. ทุกคนในสงั คม เพราะเป็นเจ้าของชุมชนและประเทศ

แนวทางการดำ�เนนิ กจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen) 81

82 แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสรา้ งสำ�นึกพลเมือง (Project citizen)

ตารางเฉลย

แบบทดสอบความร้คู วามเขา้ ใจกระบวนการ

กิจกรรมสร้างสำ� นกึ พลเมอื ง (Project Citizen)

ขอ้ เฉลย

๑. ๒. ประชาชนทมี่ จี ิตสำ� นกึ ทดี่ ี เคารพสิทธผิ ูอ้ ื่น
๒. ๑. รปู การปกครองท่ยี ึดถอื อำ� นาจอธิปไตยเปน็ ของปวงชน
๓. ๔. แนวทางกจิ กรรม การกระทำ� หรอื การเลอื กตัดสินใจของ
รฐั บาลตอ่ ประชาชน
๔. ๔. ๖ ขน้ั ตอน
๕. ๓. ลงพ้นื ทสี่ ำ� รวจปญั หา
๖. ๑. ขั้นตอนท่ี ๓
๗. ๒. ทกั ษะกระบวนการ คณุ ลกั ษณะทด่ี ี
๘. ๒. ใหค้ วามหมายฉนั ทามตไิ วว้ ่าเปน็ ขอ้ ตกลงร่วมกันที่มี
ลกั ษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์
๙. ๑. สร้างจิตส�ำนกึ ในการปกครองดแู ลประเทศ
๑๐. ๔. ทกุ คนในสงั คม เพราะเปน็ เจ้าของชุมชนและประเทศ

แนวทางการด�ำ เนนิ กจิ กรรมสร้างสำ�นึกพลเมือง (Project citizen) 83

ตารางเกณฑก์ ารตัดสินผลการเรยี นรู้

จำ� นวนคะแนนท่ใี ห้ ผลการตัดสนิ

๘ - ๑๐ ผ่าน
๐ - ๗ ไม่ผ่าน

หมายเหตุ : กรณนี กั เรียนไม่ผ่านการทดสอบให้ครูผสู้ อน สอนซอ่ มเสรมิ
ระเบียบวิธกี ารทำ� กิจกรรมการสร้างสำ� นกึ พลเมือง Project
Citizen อกี ครัง้ และสอบปากเปล่าถามความเข้าใจ
กระบวนการ

84 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

รายชือ่ คณะทำ� งาน

ทปี่ รกึ ษา รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พืน้ ฐาน
๑. นางรัตนา ศรีเหรญั ทปี่ รกึ ษาสำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน
๒. นายอนสุ รณ์ ฟูเจริญ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นกั พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๓. นายพธิ าน พนื้ ทอง
๔. นายชวลติ โพธน์ิ คร

คณะท�ำงานจากสำ� นักงาน ป.ป.ช.

๑. นายอทุ ศิ บัวศรี ผู้ชว่ ยเลขาธิการคณะกรรมการ ป.ป.ช.

๒. นายธติ ิ เมฆวณชิ ย ์ ผอู้ ำ� นวยการสำ� นักปอ้ งกันการทุจรติ ภาครัฐ

๓. นายสมพจน์ แพ่งประสทิ ธ์ิ เจ้าพนกั งานป้องกนั การทุจริตชำ� นาญการพิเศษ

๔. นายภิญโญยศ มว่ งสมมขุ เจ้าพนักงานป้องกนั การทจุ รติ ปฏิบัตกิ าร

๕. นายเฉลิมชัยวงค์ บริรกั ษ์ เจ้าพนักงานปอ้ งกนั การทุจรติ ปฏบิ ตั ิการ

๖. นายเทดิ ภูมิ ทศั นพิมล เจ้าพนกั งานป้องกันการทจุ ริตปฏิบตั กิ าร

คณะท�ำงานจาก สพฐ. และ สพท.
๑. นายเดช ศริ ินาม ผ้อู ำ� นวยการ สพป.เชียงใหม่ เขต ๖

๒. นายโสธร บญุ เลศิ รองผู้อ�ำนวยการ สพม. เขต ๓๒

๓. นายอนิรุทธ์ ลา่ มพระยา รองผอู้ �ำนวยการ สพม. เขต ๓๔

๔. นายมณเฑียร ม่วงศรีศักด์ิ รองผอู้ ำ� นวยการ สพม. เขต ๓๙

๕. นางสาวสรรเสรญิ สวุ รรณ ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.สิงหบ์ ุรี

แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสรา้ งสำ�นึกพลเมือง (Project citizen) 85

๖. นางสาวรัชนีวัลย์ จุลบาท ศึกษานิเทศก์ สพป.ศรสี ะเกษ เขต ๓

๗. นายอนิ สวน สาธเุ ม ศึกษานิเทศก์ สพป.กาฬสินธ์ุ เขต ๑

๘. นางวันเพ็ญ ศริ คิ ง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๙. นายสมเกยี รติ ตงุ คะเสรรี กั ษ ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ชยั ภมู ิ เขต ๓

๑๐. นายศุภกร มรกต ศึกษานิเทศก์ สพป.ราชบุรี เขต ๒

๑๑. นายนวิ ฒั น์ โชติสวสั ด ์ิ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.กาญจนบรุ ี เขต ๑

๑๒. นายอนันต์ แก้วแจ้ง ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พิษณุโลก เขต ๑

๑๓. นางจินดา ตุ่นหล้า ศกึ ษานิเทศก์ สพป.เชียงใหม่ เขต ๖

๑๔. นางธนพรรณ รอดกำ� เหนดิ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.พจิ ติ ร เขต ๑

๑๕. นางณฐั พร พ่วงเฟื่อง ศึกษานเิ ทศก์ สพป.พษิ ณโุ ลก เขต ๓

๑๖. นายจีรศกั ดิ์ รสลือชา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.สโุ ขทยั เขต ๒

๑๗. นางลาวลั ย์ ตรเี นตร ศึกษานเิ ทศก์ สพป.สมทุ รปราการ เขต ๑

๑๘. นางสาวกงิ่ นภา สกุลตัง้ ศึกษานิเทศก์ สพป.เลย เขต ๑

๑๙. นางสาวสภุ าภรณ์ กลั ยารตั น ์ ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.มกุ ดาหาร

๒๐. นายพงษ์เทพ มนัสตรง ศกึ ษานิเทศก์ สพป.ลำ� พนู เขต ๑

๒๑. นายวินัย อสณุ ี ณ อยุธยา ศกึ ษานิเทศก์ สพป.อุดรธานี เขต ๑

๒๒. นายอดลุ ย์ ผินโพ ศกึ ษานิเทศก์ สพป.อุบลราชธานี เขต ๓

๒๓. นายธนบดีพิพัฒน์ ด�ำนลิ ครูโรงเรียนบา้ นวังคอไห สพป.ชยั นาท

๒๔. นายนพิ นธ์ พรหมเมศร ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพป.สงขลา เขต ๒

๒๕. นางนปภา ศรเี อยี ด ศึกษานิเทศก์ สพป.ปตั ตานี เขต ๑

๒๖. นางภาวนา นคั รามนตร ี ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ปัตตานี เขต ๒

๒๗. นางศริ งิ าม ภูมิทัศน์ ศกึ ษานิเทศก์ สพม. เขต ๑๑

๒๘. นายอานนท์ วงศว์ ศิ ิษฏรังสี ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๒๙

๒๙. นายทวี บรรจง ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๑

๓๐. นายพีรวฒั น์ เศวตพชั ร ์ ศึกษานเิ ทศก์ สพม. เขต ๓๒

86 แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสร้างส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen)

๓๑. นายทองคูณ หนองพรา้ ว ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๒

๓๒. นายวีระ อุตสาหะ ศึกษานิเทศก์ สพม. เขต ๓๔

๓๓. นายแสนศกั ด์ิ มีสิทธ์ิ นติ กิ ร สพป.นครศรธี รรมราช เขต ๔

๓๔. นางพิศมยั สุวรรณมาโจ นกั วิชาการศึกษา สพป.นครพนม เขต ๒

๓๕. นายณัฐพล คมุ้ วงศ ์ นักวิชาการศึกษา สพป.มหาสารคาม เขต ๓

๓๖. นายวเิ ชียร ศริ คิ ง ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนอนบุ าลตากฟ้า

สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๓๗. นายเสวก บุญประสพ ผ้อู ำ� นวยการโรงเรยี นดงซ่อมวทิ ยาคม

สพป.ตาก เขต ๑

๓๘. วา่ ทร่ี อ้ ยโทกมั พล ผลพฤกษา ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นแกว้

สพป.จนั ทบรุ ี เขต ๑

๓๙. นายไกรสร พิมพ์ประชา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบ้านแบง

สพป.หนองคาย เขต ๒

๔๐. นายธนกฤติ พรมบตุ ร ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนบา้ นโคกเฟอื ง

สพป.บุรรี ัมย์ เขต ๓

๔๑. นายวิโรจน์ ฉายชวู งษ ์ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนบา้ นแปรง

สพป.นครราชสีมา เขต ๕

๔๒. นายสทิ ธิพงศ์ สั่งศร ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรียนบา้ นตะครอ้

สพป.นครสวรรค์ เขต ๓

๔๓. นางเพญ็ ศรี ศรสี ุนารถ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนบ้านเขวาทุ่ง

สพป.มหาสารคราม เขต ๒

๔๔. นายสมบูรณ์ ขุนไพชติ ผู้อำ� นวยการโรงเรียนส�ำนกั สงฆ์ศรีวชิ ัย

สพป.สงขลา เขต ๑

๔๕. นายสมพร นาคพิทักษ ์ ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นบ้านปงสนุก

แนวทางการด�ำ เนินกจิ กรรมสรา้ งส�ำ นึกพลเมือง (Project citizen) 87

สพป.ลำ� ปาง เขต ๑

๔๖. นายนุศิษย์ พรชีวโชติ ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนชมุ ชนบ้านเสิงสาง

สพป.นครราชสีมา เขต ๓

๔๗. นายพลธาวนิ วชั รทรธำ� รงค ์ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นวดั หนองบอนแดง

สพป.ชลบรุ ี เขต ๑

๔๘. นายวชิ ิต เตม็ นิล ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนวัดบ้านแหลมโตนด

สพป.พัทลงุ เขต ๑

๔๙. วา่ ทรี่ อ้ ยตรี ประเสรฐิ รจุ ริ า ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นยางนำ้� กลดั ใต้

สพป.เพชรบรุ ี เขต ๑

๕๐. นายกนก จำ� ปามลู ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนหนองขามนาดี

สพป.นครราชสมี า เขต ๖

๕๑. นายสพุ รรณ์ แกว้ นิสยั ผูอ้ ำ� นวยการโรงเรยี นสมสะอาดพทิ ยาสรรพ์

สพป.กาฬสนิ ธ์ุ เขต ๓

๕๒. นายขวัญใจ อุดมรัตน ์ ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนบา้ นแกวทิ ยาคม

สพป.กาฬสนิ ธ์ุ เขต ๒

๕๓. นายภานพุ งศ์ นวลบุญมา ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นบา้ นผอื (สวัสดร์ิ าษฎรว์ ิทยา)

สพป.ขอนแกน่ เขต ๑

๕๔. นางนิรมล บวั เนยี ม ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนวัดเจา้ มูล

สพป. กรุงเทพมหานคร

๕๕. นายอิสมาน มวุ รรณสินธุ ์ ผอู้ �ำนวยการโรงเรียนประชาบ�ำรงุ

สพป.นราธิวาส เขต ๓

๕๖. นางอำ� พร สทุ ธัง ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนชมุ ชนบา้ นปลาขาว

สพป.อบุ ลราชธานี เขต ๕

๕๗. นางอมรรตั น์ เชงิ หอม ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นบา้ นหาดแพง (หาดแพงวทิ ยา)

88 แนวทางการด�ำ เนินกิจกรรมสรา้ งส�ำ นกึ พลเมือง (Project citizen)

สพป.นครพนม เขต ๒

๕๘. นายนรงค์ โสภา ผู้อ�ำนวยการโรงเรยี นวดั ศรสี าคร สพป.สิงห์บุรี

๕๙. นายนพิ นธ์ ยศดา ผู้อ�ำนวยการโรงเรียนดงบังพิสัยนวการนสุ รณ์

สพม.เขต ๒๖

๖๐. นางสาวองั คณา นารสี าร รองผ้อู ำ� นวยการโรงเรยี นเมืองวิทยาคาร

สพม. เขต ๒๙

๖๑. นางพชั ภสั สร เสนทัพพระ รองผู้อำ� นวยการโรงเรียนสรุ นารีวิทยา

สพม. เขต ๓๑

๖๒. นายดลิ ก ราตร ี ครู โรงเรยี นดงยางวิทยาคม สพม. เขต ๒๙

๖๓. นายจำ� ลอง นว่ มนมุ่ ครู โรงเรยี นวดั ปากคลอง (ประปามหาราช) ๓

สพป.พระนครศรีอยธุ ยา เขต ๑

๖๔. นายยรรยงค์ ดำ� รงคศ์ ักด์ ิ ครู โรงเรียนบ้านพนั เสา สพป.พิษณโุ ลก เขต ๑

๖๕. นายวนั เฉลิม วฒุ ิศษิ ฏส์ กลุ ครู โรงเรยี นบา้ นนกงาง สพป.ระนอง

๖๖. นายอดุ รพฒั น์ บญุ มา ครู โรงเรียนบ้านนาฟ่อน สพป.เชียงใหม่ เขต ๕

๖๗. นางอังสนา พไิ สยสามนตเ์ ขต

ครู โรงเรยี นราชวินติ มธั ยม สพม. เขต ๑

๖๘. นายพงศธร ผ่านส�ำแดง ครู โรงเรยี นดงบงั พสิ ยั นวการนสุ รณ์ สพม. เขต ๒๖

๖๙. นายฉตั ยา สารวี ลั ย ์ ครู โรงเรยี นวารนิ ชำ� ราบ สพม. เขต ๒๙

๗๐. นายมงคล ปญั ญารตั น ์ ครู โรงเรยี นยุพราชวิทยาลยั สพม. เขต ๓๔

๗๑. นายอนุรักษ์ ปาทา ครู โรงเรียนไชยปราการ สพม. เขต ๓๔

๗๒. นางสนุ นั ท์ ธาราศักด ์ิ ครู โรงเรียนไชยปราการ สพม. เขต ๓๔

๗๓. นายไพทรู ย์ ไวยธญั กจิ ครู โรงเรยี นพระบางวิทยา สพม. เขต ๔๒

๗๔. นายสพลกิตต์ิ สังขท์ พิ ย์ ครู โรงเรียนตากฟ้าวชิ าประสทิ ธ์ิ สพม. เขต ๔๒

๗๕. นายฐาปณัฐ อุดมศรี ครู โรงเรยี นตาคลปี ระชาสรรค์ สพม. เขต ๔๒

๗๖. นายศิวกร รัตติโชติ นักทรพั ยากรบคุ คล กล่มุ พฒั นาระบบบริหาร

แนวทางการดำ�เนินกิจกรรมสร้างส�ำ นกึ พลเมอื ง (Project citizen) 89

๗๗. นางสาวจุฬาลักษณ์ ทรัพย์สทุ ธิ

นกั วชิ าการศึกษา กลมุ่ พฒั นาระบบบรหิ าร

๗๘. นางวนั ดี จติ รไพวรรณ นักวชิ าการศึกษาสำ� นกั ตดิ ตาม

และประเมนิ ผลการจัดการศึกษา

๗๙. นายคู่บุญ สกุนตนาค นกั วิชาการศกึ ษา

ส�ำนักพัฒนานวตั กรรมการจัดการศึกษา

๘๐. นางเกศกัญญา อนกุ ูล นกั วิชาการศึกษา

ส�ำนกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศึกษา

๘๑. นายภธู ร จันทะหงษ์ ปณุ ยจรัสธ�ำรง

ผู้อ�ำนวยการกลมุ่ บริหารท่ัวไป

สำ� นกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา

๘๒. นายจักรพงษ์ วงคอ์ ้าย นกั วิชาการศกึ ษา

สำ� นกั พฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

๘๓. นางพชิ ชาภา วรวิทยาการ เจ้าพนกั งานธรุ การ

สำ� นักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา

๘๔. นายสุจิตรา พชิ ยั เจ้าพนกั งานธุรการ

สำ� นกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา

๘๕. นายบญุ ช่วย เหมศักด์ิ พนกั งานธุรการ

ส�ำนกั พัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา

๘๖. นางสมลิตร ไพรเถ่อื น พนกั งานธุรการ

ส�ำนกั พัฒนานวัตกรรมการจดั การศกึ ษา

๘๗. นางเนตรทราย แสงธปู พนกั งานธรุ การ

สำ� นักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา

๘๘. นางสาวศรัญญา โชต ิ พนกั งานบนั ทกึ ขอ้ มูล

90 แนวทางการดำ�เนินกจิ กรรมสร้างสำ�นกึ พลเมอื ง (Project citizen)

ส�ำนักพัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา
๘๙. นางจณิ หน์ ิภา ดำ� สนิท พนักงานบนั ทึกข้อมลู
สำ� นกั พฒั นานวัตกรรมการจัดการศึกษา
๙๐. นางวัชรนิ ทร์ ทองวลิ ัย พนักงานพมิ พด์ ดี
ส�ำนักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา
๙๑. นายบดนิ ทร์ วรวส ุ พนักงานพิมพด์ ดี
ส�ำนักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา
๙๒. นางสาวจุฑารตั น์ ก๋องคำ� พนกั งานพมิ พด์ ีด
ส�ำนักพฒั นานวัตกรรมการจัดการศกึ ษา
๙๓. นางสาวมณธกิ า จิตตส์ อาด เจ้าหนา้ ท่ีบรหิ ารทั่วไป
ส�ำนักพัฒนานวัตกรรมการจัดการศึกษา
๙๔. นายสหสั พล ษรบัณฑติ เจ้าหน้าทีบ่ รหิ ารทั่วไป
สำ� นกั พัฒนานวตั กรรมการจดั การศึกษา


แนวทางการด�ำ เนนิ กิจกรรมสร้างส�ำ นึกพลเมอื ง (Project citizen) 91


Click to View FlipBook Version