ค่มู อื การประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครฐั
(Integrity and Transparency Assessment: ITA)
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
2 หนา้
สารบัญ 1
1
เรอ่ื ง 2
3
1. ITA 2021 4
1.1 ความเป็นมา 4
1.2 หลกั การพ้นื ฐาน 7
1.3 เปา้ หมายตามนโยบายของประเทศ 7
1.4 ปฏิทินการประเมนิ 7
1.5 หน่วยงานทีเ่ ก่ียวขอ้ ง 8
8
2 การลงทะเบียนเข้ารว่ มการประเมิน 8
2.1 บัญชีผใู้ ช้งานและรหัสผ่าน 8
2.2 วิธีการลงทะเบยี นเข้าร่วมการประเมิน 8
10
3. การนาเขา้ ข้อมูลประกอบการประเมนิ 10
3.1 ผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสยี ภายใน 10
3.2 วธิ ีการนาเขา้ ข้อมลู ผ้มู สี ว่ นไดส้ ่วนเสียภายใน 10
3.3 ผู้มสี ่วนได้สว่ นเสียภายนอก 10
3.4 วิธีการนาเขา้ ขอ้ มูลผ้มู สี ่วนได้ส่วนเสยี ภายนอก 18
18
4. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลผู้มสี ่วนไดส้ ว่ นเสียภายใน 18
4.1 แบบวัด IIT 18
4.2 กล่มุ ตัวอยา่ งแบบวัด IIT 19
4.3 วิธกี ารรวบรวมข้อมูลแบบวดั IIT 23
4.4 รายละเอียดตัวช้วี ดั ของแบบวัด IIT 23
23
5. การเก็บรวบรวมข้อมูลผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสียภายนอก 23
5.1 แบบวัด EIT 24
5.2 กล่มุ ตวั อย่างแบบวัด EIT 25
5.3 วธิ ีการรวบรวมขอ้ มูลแบบวดั EIT 34
5.4 รายละเอียดตัวชี้วัดของแบบวดั EIT 34
34
6. การเกบ็ รวบรวมข้อมลู ตามแบบวดั OIT 34
6.1 แบบวัด OIT
6.2 วธิ ีการเก็บรวบรวมข้อมลู ตามแบบวดั OIT
6.3 วธิ ีการช้ีแจงเพิม่ เตมิ แบบวัด OIT
6.4 เงื่อนไขสาคัญเกยี่ วกบั แบบวัด OIT
6.5 รายละเอยี ดตวั ชี้วดั ของแบบวัด OIT
7. การรายงานผลการประเมนิ
7.1 เงื่อนไขการประกาศและแสดงผลการประเมนิ
7.2 การคานวณผลการประเมนิ
7.3 ผลการประเมนิ
1
ITA 2021
1.1 ความเปน็ มา
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ถือเป็นเคร่ืองมือในการขับเคล่ือนนโยบายของรัฐเครื่องมือหน่ึง โดยเป็น
เครื่องมือในเชิงบวกท่ีมุ่งพัฒนาระบบราชการไทยในเชิงสร้างสรรค์มากกว่ามุ่งจับผิด เปรียบเสมือนเคร่ืองมือ
ตรวจสุขภาพองค์กรประจาปี โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยงานภาครัฐท่ัวประเทศได้รับทราบถึงสถานะและ
ปัญหาการดาเนินงานด้านคุณธรรมและความโปร่งใสขององค์กร ผลการประเมินท่ีได้จะช่วยให้หน่วยงาน
ภาครัฐสามารถนาไปใช้ในการปรับปรุงพัฒนาองค์กรให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน การให้บริการ
สามารถอานวยความสะดวก และตอบสนองต่อประชาชนได้ดียิ่งข้ึน ขณะเดียวกันการประเมิน ITA ยังเป็น
เครือ่ งมอื ในการยกระดับมาตรฐานการดาเนนิ งานภาครัฐ และแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการ
ต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ดังนั้น การประเมิน ITA จึงไม่ได้เป็นเพียงการประเมินคุณธรรมการ
ดาเนินงาน การป้องกันการทุจริตในองค์กรและการเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ แต่ยังเป็นการประเมิน
ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชน เพ่ือให้ทราบถึงช่องว่างของความไม่เป็นธรรมและ
ความด้อยประสิทธิภาพ สาหรับนาไปจัดทาแนวทางมาตรการต่าง ๆ ในการป้องกันการทุจริตและประพฤติ
มชิ อบในระบบราชการไทยตอ่ ไป
การประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 นับปีท่ี 9 ของการดาเนินการท่ีผ่านมา และเป็น
ปที ี่ 4 ท่ีได้ปรบั เข้าสู่การประเมินในรูปแบบออนไลน์ โดยการพัฒนาร่วมกันกับคณะเศรษฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย ในการออกแบบและพัฒนาเครื่องมือการประเมินให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งข้ึน ประกอบกับ
สานักงาน ป.ป.ช. ได้ออกแบบและพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศรองรับการประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment System: ITAS)
ซึ่งนามาใช้เป็นศูนย์กลางในการดาเนินการประเมินได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงการประเมิน ITA ในรูปแบบ
ปัจจุบันได้ส่งผลให้หน่วยงานภาครัฐได้เกิดความตระหนักในการบริหารงานและกากับดูแลการดาเนินงานให้มี
คุณธรรมและให้ความสาคัญกับความโปร่งใสขององค์กรของรัฐเป็นอย่างมากและครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐ
ไปท่ัวประเทศ ซ่ึงจะเห็นได้ว่าตั้งแต่ปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 เป็นต้นมาน้ันได้เกิดการเปล่ียนแปลงและ
พัฒนาการของหนว่ ยงานภาครัฐในทางปฏิบัตอิ ยา่ งเห็นได้ชดั โดยเฉพาะอย่างย่ิงความตน่ื ตัวและหนั มาให้ความ
สนใจต่อการพัฒนาแฟลตฟอร์มอีเล็กทรอนิกส์ของตนเองให้ทันสมัยและน่าสนใจมากข้ึน ที่สาคัญคือส่งผลให้
หน่วยงานมีการจัดการข้อมูลข่าวสารอย่างเป็นระบบระเบียบและเตรียมความพร้อมในการเปิดเผยข้อมูลต่อ
สาธารณะให้ไดร้ บั ทราบและส่งเสริมให้เกดิ การตรวจสอบอีกดว้ ย
ในการขับเคลื่อนการประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เป็นการทางานร่วมกันของ
หน่วยงานร่วมกากับติดตามท้ัง 5 หน่วยงาน ได้แก่ สานักงาน ป.ป.ช. สานักงาน ป.ป.ท. กรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถ่ิน สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ และสานักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา
วทิ ยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โดยมีหน่วยงานภาครัฐ จานวน 8,300 แห่งท่ัวประเทศ เข้าร่วมการประเมิน
ซ่ึงครอบคลุมหน่วยงานภาครัฐทั้งในฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร ตุลาการ และองค์กรอิสระ กล่าวได้ว่าเป็นการ
ประเมินดา้ นธรรมาภบิ าลและการบริหารจดั การภาครฐั ทีม่ ีขนาดใหญท่ ส่ี ดุ ของประเทศไทยในปัจจบุ นั
2
1.2 หลักการพื้นฐาน
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กาหนดกรอบแนวทางในการดาเนินงาน
ที่เช่ือมโยงและต่อเน่ืองจากการประเมินในปีท่ีผ่านมา อีกท้ังยังคานึงถึงการเก็บข้อมูลอย่างรอบด้านและ
หลากหลายมิติ การกาหนดระเบียบวิธีการประเมินผลที่เป็นไปตามหลักการทางสถิติและทางวิชาการเพ่ือให้
ผลการประเมินสามารถสะท้อนสขุ ภาวะขององค์กรในดา้ นคุณธรรมและความโปร่งใสได้อย่างแท้จริง โดยมีการ
เกบ็ ขอ้ มูลจาก 3 ส่วน ดงั นี้
ส่วนที่ 1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในหน่วยงานภาครัฐ (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรภาครัฐทุกระดับท่ีปฏิบัติงานมาไม่น้อยกว่า 1 ปี ได้มีโอกาส
สะท้อนและแสดงความคิดเห็นต่อคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานตนเอง โดยสอบถามการรับรู้และ
ความคิดเห็นใน 5 ตัวชีว้ ดั ได้แก่
ตัวช้วี ัดท่ี 1 การปฏิบัติหนา้ ท่ี
ตัวชี้วัดท่ี 2 การใชง้ บประมาณ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 3 การใช้อานาจ
ตวั ชว้ี ดั ท่ี 4 การใชท้ รพั ย์สินของราชการ
ตวั ชี้วัดท่ี 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต
ส่วนที่ 2 การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐ (External Integrity and
Transparency Assessment: EIT) โดยเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อหน่วยงานภาครัฐในช่วง
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้มีโอกาสสะท้อนและแสดงความคิดเห็นต่อการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
โดยสอบถามการรบั รู้และความคดิ เหน็ ใน 3 ตัวช้วี ดั ไดแ้ ก่
ตวั ช้วี ดั ที่ 6 คณุ ภาพการดาเนินงาน
ตัวช้ีวัดที่ 7 ประสทิ ธิภาพการสอื่ สาร
ตัวชี้วดั ที่ 8 การปรบั ปรงุ ระบบการทางาน
ส่วนที่ 3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของหน่วยงาน (Open Data Integrity and Transparency
Assessment: OIT) เป็นการตรวจสอบระดับการเปิดเผยขอ้ มลู ของหน่วยงานภาครฐั ที่เผยแพร่ไว้ทางหน้าเวบ็ ไซต์
หลักของหน่วยงาน โดยมคี ณะที่ปรึกษาการประเมิน ITA ในฐานะผูเ้ ชี่ยวชาญและคนกลาง (third party) เป็น
ผู้ตรวจสอบข้อมูลและให้คะแนน พร้อมข้อเสนอแนะตามหลักเกณฑ์การประเมินท่ีกาหนด แบ่งออกเป็น 2
ตัวช้ีวดั ไดแ้ ก่
ตวั ชี้วดั ที่ 9 การเปิดเผยข้อมูล
ตัวชวี้ ัดย่อยที่ 9.1 ข้อมลู พน้ื ฐาน
ตวั ชี้วัดย่อยท่ี 9.2 การบรหิ ารงาน
ตัวชี้วัดยอ่ ยที่ 9.3 การบรหิ ารเงนิ งบประมาณ
ตัวชว้ี ดั ยอ่ ยที่ 9.4 การบริหารและพฒั นาทรัพยากรบคุ คล
ตัวชี้วัดยอ่ ยท่ี 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส
ตัวชว้ี ัดท่ี 10 การป้องกนั การทจุ รติ
ตัวชว้ี ดั ยอ่ ยที่ 10.1 การดาเนินการเพื่อป้องกันการทจุ ริต
ตัวชี้วดั ยอ่ ยท่ี 10.2 มาตรการภายในเพ่ือป้องกนั การทจุ รติ
3
1.3 เปา้ หมายตามนโยบายของประเทศ
การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐยังได้รับการให้
ความสาคัญและการยอมรับในระดับประเทศ ดังจะเห็นได้จากการถูกกาหนดเป็นเป้าหมายหรือส่วนหน่ึงของ
นโยบายและแผนงานระดบั ประเทศ ไดแ้ ก่
▪ คณะรัฐมนตรี ในการประชุมเมื่อวันที่ 23 มกราคม 2561 ได้มีมติเห็นชอบให้หน่วยงานภาครัฐ
ทุกหน่วยงานให้ความร่วมมือและเข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2561 – 2564 โดยใช้แนวทางและเครื่องมือการประเมินตามที่
สานักงาน ป.ป.ช. กาหนด
▪ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ (พ.ศ.
2561 – 2580) ได้กาหนดให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
เป็นหนึ่งในตัวชี้วัดของแผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยในระยะแรกได้กาหนดให้
ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
ดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนขึ้นไป
▪ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ฉบับ
ปรับปรุงเดือนกันยายน 2563) ได้กาหนดให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ เป็นตัวชี้วัดของแผนการปฏิรูปประเทศฯ โดยกาหนดให้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2565
หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ จานวนไม่
น้อยกว่าร้อยละ 80 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนข้ึนไป
▪ แผนบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ได้
กาหนดให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เป็นตัวชี้วัดของ
แนวทางที่ 1 ปลูกฝังวิธีคิด ปลุกจิตสานึกให้มีวัฒนธรรมและพฤติกรรมซื่อสัตย์สุจริต โดยกาหนดให้ภายใน
ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของ
หน่วยงานภาครัฐ จานวนไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนข้ึนไป
▪ แผนปฏิบัติการด้านการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ ระยะที่ 1 (พ.ศ. 2563 – 2565)
ได้กาหนดให้การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ เป็นตัวชี้วัดของ
แผนย่อยการป้องกันการทุจริตและประพฤติมิชอบ โดยกาหนดให้ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
หน่วยงานที่เข้าร่วมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ จานวน
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 65 จะต้องได้คะแนน 85 คะแนนข้ึนไป
นอกจากน้ี หน่วยงานกากับดูแลหน่วยงานภาครัฐ ยังได้มีการนาผลการประเมินคุณธรรมและความ
โปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ไปประกอบการประเมินผลประสิทธิภาพของหน่วยงานหรือ
ประเมินผลผู้บริหารองค์การภาครัฐอีกด้วย เช่น การประเมินผู้บริหารองค์การ โดยสานักงานคณะกรรมการ
พัฒนาระบบราชการ การประเมินประสิทธิภาพขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกรมส่งเสริมการ
ปกครองท้องถ่ิน เป็นต้น
4
1.4 ปฏิทินการประเมิน
กรอบระยะเวลาของการประเมิน ITA ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 ยังคงมีขั้นตอนเชน่ เดียวกับปี
ท่ีผ่านมา แต่ได้มีการปรับปรุงและเพ่ิมเติมบางข้ันตอนและระยะเวลาเพ่ือให้เกิดประโยชน์ต่อการปรับปรุงพัฒนา
ในด้านคุณธรรมและความโปร่งใสของหน่วยงานภาครัฐ ตลอดจนเพ่ือเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วมในการ
ประเมนิ มากย่ิงข้ึน ดงั นี้
ขัน้ ตอน ม.ค. ก.พ. ม.ี ค. เม.ย. พ.ค. ม.ิ ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
ชว่ งเตรียมความพรอ้ มประเมิน
การเผยแพรป่ ฏทิ ินการประเมิน
การเผยแพร่คู่มือรายละเอียดการประเมิน
ช่วงดาเนินการประเมิน
การลงทะเบยี นเขา้ สรู่ ะบบ
การระบุข้อมลู ผู้มีสว่ นไดส้ ่วนเสยี ภายใน/ภายนอก
การเก็บรวบรวมข้อมลู ตามแบบวดั IIT และแบบวดั EIT
การรายงานขอ้ มลู ตามแบบวัด OIT
การตรวจสอบและให้คะแนนแบบวัด OIT
การชแ้ี จงเพมิ่ เตมิ และยืนยนั ผลแบบวัด OIT
การประมวลผลการประเมนิ
การจัดทารายงานผลการประเมนิ
ชว่ งเผยแพร่ผลการประเมิน
การนาเสนอผลการประเมินตอ่ คณะอนกุ รรมการและคณะกรรมการ
การประกาศและเผยแพร่รายงานผลการประเมิน
*ระยะเวลาอาจมกี ารเปลีย่ นแปลงได้ตามความเหมาะสม โดยจะมีการแจง้ ใหท้ ราบล่วงหน้า
1.5 หนว่ ยงานทเ่ี กี่ยวขอ้ งในการประเมิน
หน่วยงานที่เกย่ี วข้องในการประเมิน ITA ประจาปงี บประมาณ พ.ศ. 2564 มดี งั นี้
1) คณะกรรมการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
คณะอนุกรรมการกากับและพัฒนาการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงานของหน่วยงาน
ภาครัฐ และสานักงาน ป.ป.ช. จะเป็นหน่วยงานศูนย์กลางในการดาเนินการประเมินในภาพรวม โดยมีหน้าท่ี
ในการกาหนดกลไกและกระบวนการในการขับเคล่ือนการประเมินคณุ ธรรมและความโปร่งใสในการดาเนินงาน
ของหน่วยงานภาครัฐ รวมไปถึงหลักการและหลักเกณฑ์ต่างๆ ในการประเมิน การกากับติดตามการประเมิน
และการดาเนินการตอ่ ผลการประเมนิ เพื่อนาเสนอต่อคณะกรรมการ ป.ป.ช. และคณะรฐั มนตรี
2) หน่วยงานกากับติดตามการประเมิน ประกอบด้วย สานักงาน ป.ป.ช. สานักงานคณะกรรมการ
ป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ สานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ สานักงาน
ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ท้ังใน
ระดับส่วนกลางและในระดับพ้ืนที่ จะมีบทบาทในการร่วมกาหนดแนวทางและร่วมกากับติดตามการประเมิน
รวมไปถึงการประสานงานในระหว่างกระบวนการตา่ งๆ ในการประเมินแก่หนว่ ยงานภายใต้การกากับดูแลของ
ตนเอง
5
3) คณะที่ปรกึ ษาการประเมิน จะเป็นกลุ่มคณะที่มีบทบาทหน้าที่ในการให้คาปรึกษาแก่หน่วยงานท่ี
เข้ารับการประเมนิ อย่างใกล้ชิด ทั้งในด้านกระบวนการประเมินและในด้านเนื้อหาในการประเมิน รวมไปถงึ ทา
หนา้ ทีใ่ นการดาเนินการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การตรวจสอบและใหค้ ะแนนตามแบบสารวจทก่ี าหนด
4) หน่วยงานภาครัฐทเี่ ขา้ ร่วมการประเมิน มีจานวนรวมทั้งส้นิ 8,300 หน่วยงาน ดังนี้
๑) องค์กรอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู (หนว่ ยงานธรุ การ) จานวน 5 หน่วยงาน
๒) องค์กรศาล (หน่วยงานธรุ การ) จานวน 3 หนว่ ยงาน
๓) องคก์ รอยั การ (หน่วยงานธรุ การ) จานวน 1 หน่วยงาน
๔) หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา จานวน 3 หน่วยงาน
๕) ส่วนราชการระดับกรม จานวน 146 หน่วยงาน
๖) องคก์ ารมหาชน จานวน 56 หน่วยงาน
๗) รฐั วิสาหกิจ จานวน 51 หน่วยงาน
๘) หน่วยงานของรฐั อ่นื ๆ จานวน 19 หน่วยงาน
๙) กองทนุ จานวน 7 หน่วยงาน
๑๐) สถาบนั อุดมศกึ ษา จานวน 83 หน่วยงาน
๑๑) จงั หวดั จานวน 76 หนว่ ยงาน
๑๒) องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั จานวน 76 หนว่ ยงาน
๑๓) เทศบาลนคร จานวน 30 หน่วยงาน
๑๔) เทศบาลเมอื ง จานวน 195 หน่วยงาน
๑๕) เทศบาลตาบล จานวน 2,247 หน่วยงาน
๑๖) องค์การบริหารส่วนตาบล จานวน 5,300 หน่วยงาน
๑๗) องค์กรปกครองสว่ นทอ้ งถ่ินรปู แบบพิเศษ จานวน 2 หนว่ ยงาน
ท้ังนี้ หนว่ ยงานทีเ่ ข้าร่วมการประเมนิ จะจาแนกออกเปน็ 10 กลุ่ม ดังน้ี
กลุ่มที่ 1 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดชัยนาท นนทบุรี ปทุมธานี
พระนครศรีอยุธยา ลพบุรี สมุทรปราการ สระบรุ ี สิงหบ์ ุรี และอา่ งทอง จานวนรวม 729 แห่ง
กลุ่มท่ี 2 จังหวัด องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินรูปแบบพิเศษใน
จงั หวัดจันทบุรี ฉะเชงิ เทรา ชลบรุ ี ตราด นครนายก ปราจนี บุรี ระยอง และสระแกว้ จานวนรวม 592 แหง่
กลุ่มที่ 3 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวัดชัยภูมิ นครราชสีมา บุรีรัมย์ ยโสธร
ศรีสะเกษ สุรินทร์ อบุ ลราชธานี และอานาจเจริญ จานวนรวม 1,475 แหง่
กลุ่มท่ี 4 จังหวัดและองคก์ รปกครองสว่ นท้องถ่ินในจังหวัดกาฬสินธุ์ ขอนแก่น นครพนม บึงกาฬ
มหาสารคาม มกุ ดาหาร ร้อยเอ็ด เลย สกลนคร หนองคาย หนองบัวลาภแู ละอดุ รธานี จานวนรวม 1,510 แหง่
กลุ่มท่ี 5 จงั หวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดเชียงราย เชียงใหม่ น่าน แพร่ พะเยา
แม่ฮอ่ งสอน ลาปาง และลาพนู จานวนรวม 830 แหง่
กลุ่มท่ี 6 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดกาแพงเพชร ตาก นครสวรรค์ พิจิตร
พษิ ณโุ ลก เพชรบูรณ์ สโุ ขทัย อุตรดติ ถ์ และอทุ ยั ธานี จานวนรวม 879 แหง่
กลุ่มที่ 7 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวัดกาญจนบุรี นครปฐม ประจวบคีรขี ันธ์
เพชรบรุ ี ราชบุรี สมุทรสงคราม สมทุ รสาคร และสุพรรณบุรี จานวนรวม 706 แห่ง
กลุ่มที่ 8 จังหวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ินในจังหวัดกระบ่ี ชุมพร นครศรีธรรมราช พังงา
ภเู กต็ ระนอง และสุราษฎรธ์ านี จานวนรวม 573 แห่ง
6
กลุ่มท่ี 9 จงั หวัดและองค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน ในจังหวัดตรัง นราธิวาส ปัตตานี พัทลุง ยะลา
สงขลา และสตูล จานวนรวม 631 แหง่
กลุ่มที่ 10 องค์กรอิสระ องค์กรอัยการ ศาล หน่วยงานในสังกัดรัฐสภา กรมหรือเทียบเท่า
องค์การมหาชน รฐั วิสาหกิจ หน่วยงานของรฐั อ่นื ๆ สถาบันอุดมศึกษา กองทุน และองค์กรปกครองส่วน
ทอ้ งถ่นิ รปู แบบพิเศษ (กรงุ เทพมหานคร) จานวนรวม 375 แหง่
7
การลงทะเบียนเข้ารว่ มการประเมิน
2.1 บัญชผี ใู้ ชง้ านและรหสั ผา่ น
หน่วยงานท่ีเข้าร่วมการประเมิน จะมีผู้ใช้งาน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ของ
หน่วยงาน ประกอบด้วย 2 ชุด คือ “ผู้ดูแลระบบ” และ “ผู้บริหาร” โดยในกรณีหน่วยงานที่เคยเข้าร่วมการ
ประเมินในปีท่ีผ่านมา ให้ใช้ช่ือผู้ใช้งานและรหัสผ่านเดิมในการลงทะเบียนเข้าร่วมการประเมิน ส่วนในกรณี
หน่วยงานท่ีมีการเข้าร่วมการประเมินครั้งแรกหรือหน่วยงานที่จัดตั้งหน่วยงานขึ้นใหม่ ให้ใช้ชื่อผู้ใช้งานและ
รหสั ผ่านใหม่ที่สานกั งาน ป.ป.ช. ได้จัดสง่ ใหเ้ รียบรอ้ ยแลว้
2.2 วธิ ีการลงทะเบยี นเขา้ รว่ มการประเมิน
> เข้าสเู่ วบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th จากน้นั ดาเนินการ ดงั นี้
>> เขา้ สเู่ มนู Log in
>> พมิ พ์ ผใู้ ชง้ าน (Username) และรหัสผ่าน (Password) ของหนว่ ยงาน
> หนว่ ยงานจะต้องทบทวนข้อมูลสว่ นบคุ คลและช่องทางการติดต่อให้ถกู ต้องครบถว้ นเพ่อื ประโยชน์
ในการติดต่อจากคณะทป่ี รึกษาการประเมินหรือสานักงาน ป.ป.ช.
> ในกรณีที่หน่วยงานลืมชื่อผู้ใช้งานหรือรหัสผ่านของหน่วยงาน หรือไม่สามารถเข้าใช้งานได้
ให้หน่วยงานกดเลือก “ลืมรหัสผ่าน” จากนน้ั ระบบจะให้ท่านยืนยนั ตัวตนผ่านทางอีเมล์ท่ที ่านได้
ระบุไว้ในระบบ ITAS และหากการยนื ยันตัวตนถกู ต้องระบบจะให้ท่านต้ังรหสั ผา่ นและเข้าส่รู ะบบ
ไดต้ ามปกติ
8
การนาเข้าขอ้ มลู ประกอบการประเมิน
3.1 ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียภายใน
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน หมายถึง บุคลากรของหน่วยงานภาครัฐ ต้ังแต่ระดับผู้บริหาร
ผู้อานวยการ/หัวหน้า ข้าราชการ/พนักงาน ไปจนถึงลูกจ้าง/พนักงานจา้ ง ท่ีปฏิบัติงานให้กับหน่วยงานภาครัฐ
มาเป็นระยะเวลาไมน่ ้อยกวา่ 1 ปี นับจากวันทนี่ าเขา้ ข้อมลู
3.2 วธิ กี ารนาเขา้ ขอ้ มลู ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสียภายใน
> เข้าสู่เวบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th จากนั้น ดาเนนิ การดังน้ี
>> เข้าสู่เมนู จัดการข้อมูลหน่วยงาน
>> เขา้ สู่เมนู จานวนผู้มีสว่ นได้ส่วนเสียภายใน
>> พิมพ์ จานวนผ้มู สี ว่ นได้สว่ นเสียภายในทง้ั หมด ในข้อ 3.1
> ระบบจะคานวณจานวนกลมุ่ ตัวอย่างขน้ั ตา่ โดยอตั โนมัติ จากจานวนผมู้ สี ว่ นได้ส่วนเสยี ภายใน
ท้งั หมด โดยหนว่ ยงานสามารถดูจานวนกลุ่มตวั อยา่ งข้นั ต่าได้ท่ีเมนู โดยดาเนนิ การดังนี้
>> เข้าสเู่ มนู ติดตามสถานะ
>> เข้าสเู่ มนู รายละเอยี ดสถานะการตอบแบบวัดการรับรู้
> ผู้บริหารของหน่วยงานจะต้องมีการตรวจสอบ รับรองความถูกต้อง และอนุมัติข้อมูลเพ่ือให้
ถกู ตอ้ งตามขอ้ เทจ็ จรงิ มากทสี่ ดุ จึงจะครบถว้ นตามข้ันตอนทก่ี าหนด โดยดาเนินการดงั นี้
>> เขา้ สู่เมนู แบบสารวจ
>> เขา้ สู่เมนู อนมุ ตั ิผูม้ ีสว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายใน
3.3 ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี ภายนอก
ผมู้ ีสว่ นได้ส่วนเสียภายนอก หมายถึง บุคคล นิติบุคคล บรษิ ัทเอกชน หรอื หน่วยงานของรัฐอ่ืนทีเ่ คย
มารับบริการหรอื มาตดิ ต่อตามภารกิจของหนว่ ยงานภาครัฐ ภายในปีงบประมาณ พ.ศ. 2564
3.4 วธิ กี ารนาเขา้ ข้อมูลผู้มีส่วนได้สว่ นเสยี ภายนอก
> เข้าสู่เว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th จากนนั้ ดาเนินการดงั นี้
>> เข้าสู่เมนู จดั การข้อมลู หนว่ ยงาน
>> เขา้ สเู่ มนู จานวนผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียภายนอก
>> พิมพ์ ประมาณการจานวนผูม้ สี ว่ นได้ส่วนเสียภายนอกท้งั หมด ในข้อ 3.3
>> พมิ พ์ รายช่อื และข้อมลู ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสียภายนอกตามแบบฟอร์มที่กาหนด โดยจะต้องมี
จานวนไม่นอ้ ยกว่า 3 เท่า ของจานวนกล่มุ ตวั อย่างขัน้ ตา่ หรือเท่าทีห่ น่วยงานสามารถให้
ขอ้ มูลได้ โดยสามารถดาเนินการได้ 2 วิธีคือ
1) พิมพร์ ายช่อื และข้อมลู ผู้มีส่วนไดส้ ่วนเสยี ภายนอกลงในระบบ ITAS โดยตรง
2) ดาวโหลดแบบฟอร์ม (ไฟล์ Excel) จากระบบ ITAS จากน้ัน พมิ พ์รายชื่อและข้อมลู ผู้มี
ส่วนไดส้ ่วนเสยี ภายนอกลงในแบบฟอร์ม และนาเข้าไฟลด์ งั กล่าวเขา้ สรู่ ะบบ ITAS
9
> ระบบจะคานวณจานวนกลุ่มตัวอย่างข้ันต่าโดยอัตโนมัติ จากประมาณการจานวนผู้มีส่วนได้ส่วน
เสียภายนอกทัง้ หมด โดยหน่วยงานสามารถดจู านวนกลุ่มตวั อยา่ งขั้นตา่ ได้ โดยดาเนินการดงั น้ี
>> เข้าสเู่ มนู ติดตามสถานะ
>> เขา้ สู่เมนู รายละเอียดสถานการณต์ อบแบบวัดการรบั รู้
> ผู้บริหารของหน่วยงานจะต้องมีการตรวจสอบ รับรองความถูกต้อง และอนุมัติข้อมูลเพ่ือให้
ถกู ตอ้ งตามข้อเทจ็ จริงมากท่สี ดุ จึงจะครบถ้วนตามขัน้ ตอนทกี่ าหนด โดยดาเนินการดงั นี้
>> เขา้ ส่เู มนู แบบสารวจ
>> เขา้ สู่เมนู อนุมัตผิ ้มู สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ภายนอก
10
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ผ้มู ีสว่ นไดส้ ว่ นเสียภายใน
4.1 แบบวดั IIT
แบ บ วัดการรับ รู้ของผู้มีส่วน ได้ส่วนเสียภ ายใน (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) เป็นแบบวัดที่ให้ผู้ตอบเลือกตัวเลือกคาตอบตามการรับรขู้ องตนเอง โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
เกบ็ ขอ้ มูลจากผ้มู สี ่วนได้สว่ นเสยี ภายใน โดยเป็นการประเมินระดับการรับรขู้ องผู้มีส่วนได้ส่วนเสยี ภายในทีม่ ตี ่อ
หน่วยงานตนเอง ใน 5 ตัวชี้วัด ไดแ้ ก่ ตัวชวี้ ัดการปฏิบัติหน้าที่ ตวั ชี้วดั การใชง้ บประมาณ ตัวช้ีวัดการใชอ้ านาจ
ตัวช้วี ัดการใชท้ รัพย์สินของราชการ และตวั ชีว้ ดั การแก้ไขปญั หาการทุจริต
4.2 กล่มุ ตัวอยา่ งแบบวัด IIT
กลุ่มตัวอย่างขั้นต่าของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน กาหนดจานวนร้อยละ 10 ของจานวนผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียภายในทั้งหมด แต่จะต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า 30 คน กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายใน
จานวนน้อยกว่า 30 คน ให้เก็บขอ้ มูลจากผู้มสี ว่ นได้สว่ นเสียภายในท้ังหมด กรณหี น่วยงานมผี ู้มีสว่ นได้ส่วนเสีย
ภายในจานวนมากกว่า 4,000 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในไม่น้อยกว่า 400 คน โดยระบบ
ITAS จะคานวณจานวนกลมุ่ ตวั อย่างขน้ั ต่าของแตล่ ะหน่วยงานโดยอตั โนมตั ิ
จานวนกลุ่มตัวอย่างขั้นต่า หมายถึง จานวนน้อยที่สุดที่จะต้องมีผู้ตอบแบบวดั ให้ได้ครบถ้วน เพ่ือให้
มีข้อมูลที่เพียงพอสาหรับการประมวลผลคะแนนจากแบบวัดได้ อย่างไรก็ตาม ระบบไม่ได้จากัดจานวนผู้ตอบ
เพยี งจานวนขน้ั ตา่ เท่าน้ัน หน่วยงานจึงสามารถเชิญชวนใหม้ ีผู้เข้ามามีสว่ นรว่ มตอบแบบวดั ได้มากทีส่ ุด
4.3 วิธีการรวบรวมขอ้ มลู แบบวดั IIT
> เข้าสูเ่ ว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th จากน้ัน ดาเนนิ การดงั นี้
>> เข้าส่เู มนู กลอ่ งข้อความ (mail box) บริเวณมมุ ขวาบนของหน้าแรกในระบบ ITAS
>> คัดลอก QR code หรือ URL ช่องทางการเขา้ ตอบแบบวดั IIT
> นา URL หรือ QR code ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในของ
หน่วยงาน โดยหน่วยงานควรคานึงถึงช่องทางการเผยแพร่ท่ีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจะสามารถ
เข้าถึงได้อย่างสะดวกและคานึงถึงการเผยแพร่ให้ครอบคลุมท่ัวถึงทุกส่วนงานและทุกระดับของ
หน่วยงาน (หน่วยงานสามารถดาวโหลดแบบฟอร์มสาเร็จรูปสาหรับใช้ในการประชาสัมพันธ์การ
ตอบแบบวัด IIT ไดท้ หี่ น้าแรกของระบบ ITAS หัวข้อ เอกสารดาวโหลด)
> ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในจะเข้ามาตอบแบบวัด IIT ด้วยตนเองผ่านทาง URL หรือ QR code ซ่ึง
จะเปน็ การตอบเขา้ สูร่ ะบบ ITAS โดยตรง
> หน่วยงานจะต้องกากับติดตามและส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในเข้ามาตอบตามระยะเวลา
ที่กาหนดให้ไดม้ ากที่สุด และไมน่ อ้ ยกวา่ จานวนกลุม่ ตวั อย่างขน้ั ต่าตามท่ีกาหนด
4.4 รายละเอียดตัวชี้วัดของแบบวดั IIT
ตวั ชี้วัดที่ 1 การปฏิบัติหน้าที่ เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรูข้ องบุคลากรภายใน
หน่วยงานต่อการปฏิบัติงานของบุคลากรอื่นในหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นท่ีเกี่ยวข้องกับ
การปฏบิ ัตงิ านโดยยึดหลักตามมาตรฐาน มีความโปร่งใส ปฏิบัติงานหรอื ดาเนินการตามขน้ั ตอนและระยะเวลา
11
ท่ีกาหนดไว้อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกัน ไม่ว่าจะเป็นผู้มาติดต่อท่ัวไปหรือผู้มาติดต่อที่
รู้จักกันเป็นการส่วนตัว รวมไปถึงการปฏิบัติงานอย่างมุ่งมั่น เต็มความสามารถ และมีความรับผิดชอบต่องาน
ในหน้าที่ที่รับผิดชอบ ซึ่งล้วนถือเป็นลักษณะการปฏิบัติหน้าท่ีในฐานะเจ้าหน้าท่ีของรัฐอย่างมีคุ ณธรรม
นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรู้ในประเด็นที่เก่ียวข้องกับพฤติกรรมการเรียกรับเงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์
อ่ืน ๆ ของบุคลากรอื่นในหน่วยงานทั้งในกรณีที่แลกกับการปฏิบัติหน้าที่ และในกรณีช่วงเทศกาลหรือวาระ
สาคัญต่าง ๆ ตามขนบธรรมเนียม ประเพณี หรือแม้แต่กรณีการให้เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืน ๆ
ตอ่ บุคคลภายนอก ซงึ่ ถือเปน็ ความเสย่ี งท่ีอาจจะกอ่ ให้เกิดการรบั สินบนได้ในอนาคต
ตวั ช้วี ัดที่ 1 การปฏบิ ตั หิ น้าที่ ประกอบด้วยขอ้ คาถามจานวน 6 ข้อ ดงั นี้
ประเด็นการประเมิน น้อยที่สดุ ระดบั มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก
i1 บุคลากรในหน่วยงานของทา่ น ปฏบิ ัติงาน/ให้บรกิ าร
แกผ่ ู้มาติดต่อ ตามประเด็นดังต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด
▪ เป็นไปตามขน้ั ตอนท่กี าหนด
▪ เป็นไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด
ประเด็นการประเมนิ น้อยทีส่ ดุ ระดับ มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i2 บุคลากรในหน่วยงานของทา่ น ปฏิบัตงิ าน/ใหบ้ ริการ
แกผ่ ู้มาติดต่อทั่ว ๆ ไป กบั ผมู้ าตดิ ต่อทร่ี ้จู ักเป็นการ
ส่วนตวั อย่างเทา่ เทียมกนั มากนอ้ ยเพียงใด
ประเด็นการประเมิน น้อยทส่ี ุด ระดบั มากทส่ี ุด
หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก
i3 บุคลากรในหน่วยงานของทา่ น มีพฤตกิ รรม
ในการปฏิบตั ิงาน ตามประเด็นดงั ตอ่ ไปน้ี อย่างไร
▪ มงุ่ ผลสาเร็จของงาน
▪ ใหค้ วามสาคญั กบั งานมากกว่าธุระส่วนตัว
▪ พร้อมรบั ผดิ ชอบ หากความผิดพลาดเกิดจากตนเอง
ประเดน็ การประเมิน ระดับ
i4 บคุ ลากรในหนว่ ยงานของทา่ น มกี ารเรยี กรับสิ่งดังต่อไปน้ี จากผ้มู าติดต่อ มี ไมม่ ี
เพือ่ แลกกบั การปฏิบตั ิงาน การอนมุ ัติ อนุญาต หรือใหบ้ ริการ หรือไม่
▪ เงนิ
▪ ทรัพยส์ ิน
▪ ประโยชน์อน่ื ๆ ทอ่ี าจคานวณเป็นเงินได้ เช่น การลดราคา การรับความบนั เทิง เปน็ ต้น
หมายเหต:ุ เปน็ การเรยี กรบั ที่นอกเหนอื จากทก่ี ฎหมายกาหนดให้รับได้ เช่น ค่าธรรมเนยี ม คา่ บรกิ าร ค่าปรับ เป็นต้น
12
ประเดน็ การประเมนิ ระดับ
มี ไม่มี
i5 นอกเหนือจากการรับจากญาตหิ รือจากบุคคล ที่ให้กันในโอกาสตา่ ง ๆ โดยปกติ
ตามขนบธรรมเนยี ม ประเพณี หรือวฒั นธรรม หรอื ใหก้ ันตามมารยาททปี่ ฏบิ ตั กิ นั
ในสังคมแลว้ บคุ ลากรในหน่วยงานของท่าน มีการรับส่งิ ดังตอ่ ไปนี้ หรือไม่
▪ เงิน
▪ ทรพั ย์สนิ
▪ ประโยชน์อื่น ๆ ทอี่ าจคานวณเป็นเงนิ ได้ เช่น การลดราคา การรบั ความบันเทงิ
เปน็ ตน้
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั
มี ไม่มี
i6 บคุ ลากรในหน่วยงานของท่าน มีการใหส้ ง่ิ ดังต่อไปนี้ แก่บุคคลภายนอกหรือ
ภาคเอกชน เพ่ือสร้างความสัมพันธ์ท่ดี ีและคาดหวังใหม้ ีการตอบแทนในอนาคต
หรอื ไม่
▪ เงนิ
▪ ทรัพยส์ นิ
▪ ประโยชน์อืน่ ๆ เช่น การยกเว้นคา่ บริการ การอานวยความสะดวกเปน็ กรณีพเิ ศษ
เป็นต้น
ตัวชี้วัดท่ี 2 การใช้งบประมาณ เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรับรู้ของบุคลากร
ภายในหน่วยงานต่อการดาเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานของตนเอง ในประเด็นท่ีเก่ียวข้องกับการใช้จ่ายเงิน
งบประมาณ นับต้ังแต่การจัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปีและเผยแพร่อย่างโปร่งใส ไปจนถึง
ลักษณะการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยงานอย่างคุ้มค่า เป็นไปตามวัตถุประสงค์ และไม่เอื้อประโยชน์แก่
ตนเองหรอื พวกพอ้ ง การเบกิ จา่ ยเงินของบุคลากรภายในในเรอื่ งต่าง ๆ เช่น ค่าทางานล่วงเวลา ค่าวัสดุอปุ กรณ์
หรือค่าเดินทาง ฯลฯ ตลอดจนกระบวนการจัดซ้ือจัดจ้างและการตรวจรับพัสดุด้วย นอกจากน้ี ยังให้
ความสาคัญกับการเปิดโอกาสให้บุคลากรภายในมีส่วนร่วมในการตรวจสอบการใช้ จ่ายงบประมาณ ของ
หนว่ ยงานตนเองได้
ตวั ชี้วดั ท่ี 2 การใชง้ บประมาณ ประกอบดว้ ยข้อคาถามจานวน 6 ขอ้ ดงั น้ี
ประเดน็ การประเมิน น้อยทีส่ ุด ระดบั มากทส่ี ดุ
หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i7 ทา่ นรู้เกยี่ วกับแผนการใชจ้ ่ายงบประมาณประจาปี
ของหนว่ ยงานของท่าน มากน้อยเพยี งใด
13
ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยท่สี ุด ระดับ มากท่สี ดุ
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
i8 หนว่ ยงานของท่าน ใช้จา่ ยงบประมาณ โดยคานงึ ถึง
ประเด็นดังต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด
▪ คมุ้ คา่
▪ ไมบ่ ดิ เบือนวัตถุประสงค์ของงบประมาณทตี่ ั้งไว้
ประเดน็ การประเมิน น้อยทส่ี ุด ระดับ มากที่สดุ
หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i9 หนว่ ยงานของท่าน ใช้จ่ายงบประมาณเพ่ือประโยชน์
ส่วนตัว กลุ่ม หรอื พวกพ้อง มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากทส่ี ุด
หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i10 บคุ ลากรในหนว่ ยงานของทา่ น มกี ารเบิกจา่ ยเงนิ
ทเี่ ปน็ เท็จ เช่น คา่ ทางานลว่ งเวลา ค่าวสั ดอุ ุปกรณ์
หรือค่าเดนิ ทาง ฯลฯ มากนอ้ ยเพียงใด
ประเดน็ การประเมิน น้อยทีส่ ุด ระดับ มากทส่ี ุด
หรือไม่มีเลย น้อย มาก
i11 หน่วยงานของท่าน มีการจดั ซือ้ จัดจา้ ง/การจดั หา
พัสดุ และการตรวจรับพัสดใุ นลักษณะดงั ต่อไปน้ี
มากน้อยเพยี งใด
▪ โปร่งใส ตรวจสอบได้
▪ เออ้ื ประโยชน์ให้ผูป้ ระกอบการรายใดรายหนง่ึ
ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด ระดบั มากทส่ี ุด
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
i12 หน่วยงานของท่าน เปิดโอกาสให้ท่าน มีส่วนรว่ ม
ในการตรวจสอบการใชจ้ ่ายงบประมาณ ตามประเด็น
ดงั ต่อไปน้ี มากน้อยเพยี งใด
▪ สอบถาม
▪ ทกั ท้วง
▪ รอ้ งเรยี น
14
ตัวชี้วัดที่ 3 การใชอ้ านาจ เป็นตวั ชี้วดั ที่มีวัตถุประสงค์เพือ่ ประเมินการรับรขู้ องบุคลากรภายใน
หน่วยงานต่อการใช้อานาจของผู้บังคับบัญชาของตนเอง ในประเด็ นที่เกี่ยวข้องกับการมอบหมายงาน
การประเมินผลการปฏิบัติงาน การคัดเลือกบุคลากรเพ่ือให้สิทธิประโยชน์ต่าง ๆ ซึ่งจะต้องเป็นไปอย่างเป็นธรรม
และไมเ่ ลอื กปฏิบัติ รวมไปถงึ การใช้อานาจสั่งการให้ผใู้ ต้บงั คบั บัญชาทาในธรุ ะส่วนตวั ของผู้บังคับบัญชาหรือทา
ในสิ่งที่ไม่ถูกต้อง นอกจากน้ี ยังประเมินเกี่ยวกับกระบวนการบริหารงานบุคคลที่อาจเกิดการแทรกแซงจากผู้มี
อานาจ การซื้อขายตาแหน่ง หรอื การเออ้ื ผลประโยชน์ให้กลมุ่ หรอื พวกพอ้ ง
ตวั ชว้ี ดั ที่ 3 การใชอ้ านาจ ประกอบด้วยขอ้ คาถามจานวน 6 ข้อ ดงั นี้
ประเดน็ การประเมนิ น้อยท่สี ุด ระดบั มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก
i13 ท่านไดร้ ับมอบหมายงานตามตาแหน่งหนา้ ที่จาก
ผู้บงั คับบญั ชาอยา่ งเปน็ ธรรม มากน้อยเพียงใด
ประเด็นการประเมิน น้อยท่ีสุด ระดับ มากท่ีสุด
หรือไม่มีเลย น้อย มาก
i14 ทา่ นได้รบั การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงาน ตามระดบั
คณุ ภาพของผลงานอย่างถูกต้อง มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากที่สดุ
หรือไม่มีเลย น้อย มาก
i15 ผ้บู ังคับบญั ชาของท่าน มีการคัดเลือกผเู้ ข้ารบั
การฝึกอบรม การศึกษาดูงาน หรือการให้ทุนการศึกษา
อยา่ งเป็นธรรม มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด ระดับ มากทีส่ ดุ
หรือไม่มเี ลย น้อย มาก
i16 ท่านเคยถกู ผูบ้ งั คับบญั ชาสัง่ การใหท้ าธุระสว่ นตวั
ของผูบ้ ังคับบญั ชา มากนอ้ ยเพียงใด
ประเดน็ การประเมนิ น้อยท่ีสดุ ระดบั มากที่สุด
หรือไม่มเี ลย น้อย มาก
i17 ท่านเคยถกู ผบู้ ังคับบัญชาสัง่ การให้ทาในสง่ิ ท่ไี ม่
ถูกต้อง หรือมีความเส่ยี งต่อการทจุ รติ มากน้อยเพยี งใด
15
ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยทส่ี ุด ระดับ มากทส่ี ุด
หรอื ไม่มีเลย นอ้ ย มาก
i18 การบริหารงานบุคคลของหน่วยงานของท่าน
มลี ักษณะดงั ต่อไปนี้ มากน้อยเพียงใด
▪ ถูกแทรกแซงจากผูม้ ีอานาจ
▪ มกี ารซื้อขายตาแหนง่
▪ เออ้ื ประโยชน์ให้กลุ่มหรือพวกพอ้ ง
ตัวชี้วัดท่ี 4 การใช้ทรัพย์สินของราชการ เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรบั รูข้ อง
บุคลากรภายในหน่วยงานต่อการใช้ทรัพย์สินของราชการ ในประเด็นที่เก่ียวข้องกับพฤติกรรมของบุคลากร
ภายใน ในการนาทรัพย์สนิ ของราชการของหน่วยงานไปเป็นของตนเองหรอื นาไปให้ผอู้ ่ืน และพฤติกรรมในการ
ขอยืมทรัพย์สินของราชการ ทั้งการยืมโดยบุคลากรภายในหน่วยงานและการยืมโดยบุคคลภายนอกหน่วยงาน
ซึ่งหน่วยงานจะต้องมีกระบวนการในการขออนุญาตที่ชัดเจนและสะดวก นอกจากนี้ หน่วยงานจะต้องมีการ
จดั ทาแนวทางปฏิบัติเก่ียวกับการใช้ทรัพย์สินของราชการท่ีถูกต้อง เพื่อเผยแพร่ให้บุคลากรภายในได้รับทราบ
และนาไปปฏิบัติ รวมไปถึงหน่วยงานจะต้องมีการกากับดูแลและตรวจสอบการใช้ทรัพย์สินของราชการของ
หน่วยงานด้วย
ตวั ชี้วัดท่ี 4 การใช้ทรพั ยส์ นิ ของราชการ ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ขอ้ ดงั นี้
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทีส่ ดุ ระดบั มากทีส่ ุด
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
i19 บุคลากรในหนว่ ยงานของทา่ น มกี ารเอาทรัพยส์ นิ
ของราชการ ไปเป็นของสว่ นตัว หรือนาไปให้กลุ่มหรอื
พวกพ้อง มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมิน น้อยที่สุด ระดับ มากทส่ี ดุ
หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i20 ขัน้ ตอนการขออนญุ าตเพ่ือยืมทรัพยส์ นิ ของราชการ
ไปใชป้ ฏบิ ัติงานในหนว่ ยงานของท่าน มีความสะดวก
มากน้อยเพยี งใด
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด ระดับ มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก
i21 ถ้าต้องมีการขอยมื ทรัพย์สนิ ของราชการ
ไปใช้ปฏบิ ัติงาน บุคลากรในหน่วยงานของทา่ น
มกี ารขออนุญาตอยา่ งถูกต้อง มากน้อยเพยี งใด
16
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทีส่ ดุ ระดับ มากทสี่ ุด
หรือไม่มเี ลย น้อย มาก
i22 บุคคลภายนอกหรอื ภาคเอกชน มกี ารนาทรัพย์สิน
ของราชการไปใช้ โดยไม่ได้ขออนญุ าตอยา่ งถูกต้อง
จากหนว่ ยงานของท่าน มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยที่สุด ระดับ มากทส่ี ุด
หรอื ไม่มเี ลย น้อย มาก
i23 ท่านรแู้ นวปฏบิ ตั ขิ องหนว่ ยงานของทา่ น เก่ยี วกบั
การใช้ทรัพย์สินของราชการที่ถูกต้อง มากนอ้ ยเพียงใด
ประเด็นการประเมนิ น้อยที่สุด ระดบั มากท่สี ุด
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
i24 หนว่ ยงานของท่าน มีการกากบั ดูแลและตรวจสอบ
การใชท้ รัพยส์ ินของราชการ เพื่อป้องกนั ไม่ให้มกี าร
นาไปใชป้ ระโยชน์สว่ นตัว กลุ่ม หรอื พวกพ้อง มากน้อย
เพยี งใด
ตัวชี้วัดท่ี 5 การแก้ไขปัญหาการทุจริต เป็นตัวชี้วัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ
บุคลากรภายในหน่วยงานต่อการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ในประเด็นที่เก่ียวข้องกับการให้
ความสาคัญของผู้บริหารสูงสุดในการต่อต้านการทุจริตอย่างจริงจัง โดยหน่วยงานจะต้องทบทวนนโยบายที่
เกี่ยวข้องกับการป้องกันการทุจริตในหน่วยงานให้มีประสิทธิภาพ และจัดทาแผนงานด้านการป้องกันและ
ปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน เพื่อให้เกิดการแก้ไขปัญหาการทุจริตได้อย่างเป็นรูปธรรม รวมไปถึงการ
ประเมินเก่ียวกับประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาการทุจริตของหน่วยงาน ที่จะต้องทาให้การทุจริตในหน่วยงาน
ลดลงหรือไม่มีเลย และจะต้องสร้างความเช่ือม่ันให้บุคลากรภายใน ในการร้องเรียนเม่ือพบเห็นการทุจริต
ภายในหน่วยงานด้วย นอกจากน้ี หน่วยงานจะต้องมีกระบวนการเฝ้าระวัง ตรวจสอบการทุจริตภายใน
หน่วยงาน รวมถึงการนาผลการตรวจสอบของฝ่ายตรวจสอบ จากท้ังภายในและภายนอกหน่วยงาน
ไปปรับปรุงการทางาน เพื่อปอ้ งกันการทจุ ริต
ตวั ชว้ี ดั ที่ 5 การแกไ้ ขปัญหาการทจุ ริต ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 6 ขอ้ ดังนี้
ประเด็นการประเมนิ น้อยที่สดุ ระดับ มากทส่ี ดุ
หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
i25 ผูบ้ รหิ ารสูงสดุ ของหนว่ ยงานของท่าน ให้ความสาคัญ
กับการต่อต้านการทุจริต มากน้อยเพยี งใด
17
ประเดน็ การประเมิน ระดบั
มี ไมม่ ี
i26 หน่วยงานของทา่ น มีการดาเนินการ ดงั ต่อไปน้ี หรือไม่
▪ ทบทวนนโยบายหรือมาตรการป้องกนั การทจุ ริตในหนว่ ยงานใหม้ ีประสิทธิภาพ
▪ จัดทาแผนงานดา้ นการปอ้ งกันและปราบปรามการทุจริตของหน่วยงาน
ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยที่สดุ ระดับ มากทสี่ ดุ
นอ้ ย มาก
หรอื ไม่มเี ลย
i27 ปัญหาการทุจริตในหน่วยงานของท่าน
ไดร้ บั การแก้ไข มากน้อยเพียงใด
หมายเหตุ: หากท่านเห็นวา่ หนว่ ยงานของท่านไม่มปี ัญหาการทุจรติ ใหต้ อบ “มากท่ีสดุ ”
ประเด็นการประเมนิ ระดับ
i28 หน่วยงานของท่าน มีการดาเนนิ การดังต่อไปนี้ น้อยทส่ี ุด นอ้ ย มาก มากที่สดุ
ตอ่ การทุจรติ ในหนว่ ยงาน มากนอ้ ยเพยี งใด หรอื ไม่มีเลย
▪ เผา้ ระวังการทุจริต
▪ ตรวจสอบการทุจริต
▪ ลงโทษทางวินยั เม่ือมีการทจุ ริต
หมายเหต:ุ หากหนว่ ยงานของทา่ นไมม่ ีการทจุ ริต จงึ ทาให้ไมม่ ีการลงโทษทางวินยั ให้ตอบ "มากท่ีสดุ "
ระดับ
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยท่สี ุด น้อย มาก มากท่สี ดุ
หรือไม่มเี ลย
i29 หนว่ ยงานของท่าน มีการนาผลการตรวจสอบของ
ฝ่ายตรวจสอบท้งั ภายในและภายนอกหนว่ ยงาน
ไปปรับปรุงการทางาน เพอื่ ป้องกันการทุจรติ
ในหนว่ ยงาน มากน้อยเพยี งใด
หมายเหต:ุ ฝ่ายตรวจสอบภายใน หมายถึง สว่ นงานตรวจสอบภายในของหน่วยงาน ฝ่ายตรวจสอบภายนอก หมายถึง หน่วยงานทมี่ ีอานาจหน้าท่ี
ตรวจสอบการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ เชน่ สานักงานการตรวจเงินแผน่ ดิน สานกั งาน ป.ป.ช. สานักงาน ป.ป.ท. เปน็ ตน้
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทส่ี ดุ ระดับ มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
i30 หากทา่ นพบเหน็ แนวโนม้ การทุจริตทจ่ี ะเกดิ ขึ้น
ในหน่วยงานของท่าน ท่านมีความคิดเห็นตอ่ ประเดน็
ดงั ต่อไปนี้ อยา่ งไร
▪ สามารถร้องเรยี นและส่งหลกั ฐานได้อย่างสะดวก
▪ สามารถตดิ ตามผลการรอ้ งเรยี นได้
▪ ม่ันใจวา่ จะมีการดาเนนิ การอยา่ งตรงไปตรงมา
▪ มั่นใจวา่ จะปลอดภัยและไม่มีผลกระทบต่อตนเอง
18
การเก็บรวบรวมขอ้ มลู ผู้มีสว่ นได้สว่ นเสยี ภายนอก
5.1 แบบวดั EIT
แบบวัดการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก (External Integrity and Transparency
Assessment: EIT) เปน็ แบบวดั ท่ีให้ผู้ตอบเลือกตัวเลือกคาตอบตามการรับรู้ของตนเอง โดยมีวัตถปุ ระสงคเ์ พ่ือ
เก็บขอ้ มูลจากผู้มสี ่วนได้ส่วนเสียภายนอก โดยเปน็ การประเมินระดับการรับรู้ของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกที่
มีต่อหน่วยงานท่ีประเมิน ใน 3 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ตัวชี้วดั คุณภาพการดาเนินงาน ตัวช้ีวัดประสิทธิภาพการส่ือสาร
และตัวชว้ี ดั การปรบั ปรุงระบบการทางาน
5.2 กล่มุ ตวั อยา่ งแบบวัด EIT
กลุ่มตัวอย่างข้ันต่าของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก กาหนดจานวนร้อยละ 10 ของประมาณการ
จานวนผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกท้ังหมด แต่จะต้องมีจานวนไม่น้อยกว่า 30 คน กรณีหน่วยงานมีผู้มีส่วนได้
ส่วนเสยี ภายนอกจานวนน้อยกว่า 30 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้สว่ นเสียภายนอกทั้งหมด กรณีหน่วยงาน
มีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจานวนมากกว่า 4,000 คน ให้เก็บข้อมูลจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกไม่น้อยกว่า
400 คน โดยระบบ ITAS จะคานวณจานวนกลมุ่ ตัวอย่างขัน้ ตา่ ของแต่ละหนว่ ยงานโดยอัตโนมัติ
จานวนกลุ่มตัวอย่างข้ันต่า หมายถึง จานวนน้อยท่ีสุดที่จะต้องมีผู้ตอบแบบวัดให้ได้ครบถ้วน เพ่ือให้
มีข้อมูลท่ีเพียงพอสาหรับการประมวลผลคะแนนจากแบบวัดได้ อย่างไรก็ตาม ระบบไม่ได้จากัดจานวนผู้ตอบ
เพียงจานวนขน้ั ตา่ เทา่ นั้น หน่วยงานจึงสามารถเชิญชวนให้มผี เู้ ข้ามามีสว่ นร่วมตอบแบบวัดไดม้ ากท่สี ดุ
5.3 วิธกี ารรวบรวมข้อมลู แบบวดั EIT
5.3.1 คณะทป่ี รึกษาเก็บรวบรวมขอ้ มูลแบบวดั EIT
คณ ะที่ป รึกษ าการป ระเมิน จะวิเคราะห์ ข้อมูล ผู้มีส่ วน ได้ส่ วน เสี ยภ าย น อก แต่ ละป ระเภ ทต ามท่ี
หน่วยงานนาเข้าข้อมูลไว้ในระบบ ITAS เพื่อให้สามารถเก็บรวบรวมขอ้ มูลทีม่ ีคุณภาพสอดคล้องกับภารกิจของ
หน่วยงานและสะท้อนความเป็นตัวแทนท่ีดี จากนั้นจะกาหนดแนวทางและดาเนินการเก็บรวบรวมข้อมูลตาม
หลักวิชาการให้ได้ไม่น้อยกว่าจานวนกลุ่มตัวอย่างข้ันต่าตามท่ีกาหนด ทั้งน้ี คณะที่ปรึกษาการประเมินอาจ
ขอรับข้อมูลรายช่ือและช่องทางการติดต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเพิ่มเติม หรืออาจขอเข้าเก็บรวบรวม
ขอ้ มลู ภาคสนามที่หน่วยงาน หรือแหลง่ ขอ้ มูลตามท่สี านกั งาน ป.ป.ช. กาหนด
5.3.2 หน่วยงานประชาสัมพันธเ์ ชญิ ชวนการตอบแบบวัด EIT
> เขา้ สเู่ ว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th จากน้นั ดาเนนิ การดงั น้ี
>> เข้าสเู่ มนู กลอ่ งขอ้ ความ (mail box) บรเิ วณมุมขวาบนของหน้าแรกในระบบ ITAS
>> คดั ลอก QR code หรอื URL ช่องทางการเขา้ ตอบแบบวดั EIT
> นา URL หรือ QR code ไปเผยแพร่และประชาสัมพันธ์แก่ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกของ
หน่วยงาน โดยหน่วยงานควรคานึงถึงชอ่ งทางการเผยแพร่ท่ีผมู้ ีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจะสามารถ
เข้าถึงได้อย่างสะดวกและคานึงถึงการเผยแพร่ให้ครอบคลุมทั่วถึงทุกส่วนงานและทุกภารกิจของ
หน่วยงาน (หน่วยงานสามารถดาวโหลดแบบฟอร์มสาเร็จรูปสาหรับใช้ในการประชาสัมพันธ์การ
ตอบแบบวดั EIT ได้ทหี่ น้าแรกของระบบ ITAS หัวข้อ เอกสารดาวโหลด)
19
> ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกจะเข้ามาตอบแบบวัด EIT ด้วยตนเองผ่านทาง URL หรือ QR code
ซ่งึ จะเปน็ การตอบเขา้ สู่ระบบ ITAS โดยตรง
> หน่วยงานมีบทบาทในการประชาสัมพันธ์และส่งเสริมให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอกเข้ามาตอบ
ตามระยะเวลาที่กาหนดให้ได้มากที่สุดเท่าท่ีสามารถดาเนินการได้ ควบคู่ไปกับการจัดเก็บข้อมูล
ของคณะท่ปี รกึ ษาซ่งึ จะต้องจัดเก็บขอ้ มลู ใหไ้ ด้ไม่น้อยกวา่ จานวนกลมุ่ ตวั อยา่ งข้ันตา่ ตามท่กี าหนด
5.3.3 ผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสียเข้าตอบแบบวดั EIT ดว้ ยตนเอง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก สามารถเข้าตอบแบบวัด EIT ของแต่ละหน่วยงานได้ด้วยตนเอง โดยค้นหา
ชอ่ งทางการเข้าตอบจากระบบ ITAS ที่เว็บไซต์ https://itas.nacc.go.th โดยเป็นการเปิดโอกาสให้ผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียภายนอกที่เคยมารับบริการหรือมาติดต่อกับหน่วยงานในปี พ.ศ. 2564 ได้มีโอกาสได้เข้ามาตอบ
แบบวดั EIT ไดด้ ้วยตนเองผา่ นระบบ ITAS โดยตรง
5.4 รายละเอียดตัวชี้วดั ของแบบวัด EIT
ตัวช้ีวัดที่ 6 คุณภาพการดาเนินงาน เป็นตัวชี้วัดท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ
ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการคุณภาพการดาเนินงาน ในประเด็นที่
เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติหน้าท่ีของเจ้าหน้าท่ี โดยยึดหลักตามมาตรฐาน ขั้นตอน และระยะเวลาท่ีกาหนดไว้
อย่างเคร่งครัด และจะต้องเป็นไปอย่างเท่าเทียมกันไม่เลือกปฏิบัติ รวมถึงจะต้องให้ข้อมูลเก่ียวกับการ
ดาเนินการ/ให้บริการของหน่วยงานแก่รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียอย่างตรงไปตรงมา
ไม่ปิดบังหรือบิดเบือนข้อมูล ซ่ึงสะท้อนถึงการปฏิบัติหน้าที่อย่างมีคุณธรรม และยังประเมินการรับรู้เกี่ยวกับ
ประสบการณ์ตรงในการถูกเจา้ หน้าท่ีเรียกรบั เงิน ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่น ๆ เพ่ือแลกกับการปฏิบัติหน้าที่
ด้วย นอกจากน้ี ยังประเมินการรับรู้เก่ียวกับการบริหารงานและการดาเนินงานในภาพรวมของหน่วยงาน
ท่ีจะต้องคานึงถึงประโยชน์ของประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก ไม่มีการเอื้อประโยชน์ให้กับบุคคลใดบุคคล
หน่ึง หรอื กลุ่มใดกล่มุ หนึง่
ตวั ชว้ี ัดท่ี 6 คณุ ภาพการดาเนินงาน ประกอบด้วยขอ้ คาถามจานวน 5 ข้อ ดงั น้ี
ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยท่ีสดุ ระดบั มากทส่ี ดุ
หรือไม่มีเลย นอ้ ย มาก
e1 เจา้ หนา้ ท่ขี องหน่วยงานท่ีทา่ นตดิ ตอ่ ปฏิบตั งิ าน/
ให้บริการแก่ท่าน ตามประเด็นดงั ตอ่ ไปนี้ มากน้อย
เพียงใด
▪ เป็นไปตามขัน้ ตอนทกี่ าหนด
▪ เปน็ ไปตามระยะเวลาท่ีกาหนด
ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด ระดบั มากทส่ี ดุ
หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
e2 เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานท่ีท่านตดิ ตอ่ ปฏบิ ัตงิ าน/
ใหบ้ ริการแก่ทา่ น กับผู้มาตดิ ต่อคนอ่ืน ๆ อย่างเท่าเทียม
กนั มากน้อยเพยี งใด
20
ประเดน็ การประเมนิ น้อยที่สุด ระดับ มากท่สี ุด
หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
e3 เจา้ หน้าทข่ี องหน่วยงานท่ีทา่ นตดิ ต่อ ให้ข้อมูล
เกย่ี วกับการดาเนินการ/ใหบ้ ริการแก่ท่าน
อยา่ งตรงไปตรงมา ไมป่ ิดบงั หรือบิดเบือนข้อมูล
มากน้อยเพียงใด
ประเดน็ การประเมนิ ระดับ
e4 ในระยะเวลา 1 ปที ่ผี ่านมา ทา่ นเคยถูกเจา้ หน้าท่ีของหนว่ ยงานที่ท่านติดต่อ
รอ้ งขอใหจ้ า่ ยหรือใหส้ ่ิงดงั ต่อไปนี้ เพื่อแลกกบั การปฏบิ ัติงาน การอนุมัติ อนญุ าต มี ไมม่ ี
หรือให้บริการ หรอื ไม่
▪ เงิน
▪ ทรพั ยส์ ิน
▪ ประโยชนอ์ น่ื ๆ ที่อาจคานวณเป็นเงนิ ได้ เช่น การลดราคา การให้ความบนั เทิง เป็นต้น
หมายเหตุ: เปน็ การให้ท่ีนอกเหนือจากท่ีกฎหมายกาหนด เช่น ค่าธรรมเนยี ม คา่ บริการ ค่าปรบั เป็นต้น
ประเด็นการประเมิน นอ้ ยท่สี ดุ ระดบั มากท่สี ดุ
หรอื ไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
e5 หน่วยงานทีท่ า่ นตดิ ต่อ มีการดาเนินงาน โดยคานึง
ถึงประโยชนข์ องประชาชนและส่วนรวมเป็นหลัก
มากน้อยเพยี งใด
ตัวช้ีวัดท่ี 7 ประสิทธิภาพการส่ือสาร เป็นตัวช้ีวัดท่ีมีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการรับรู้ของ
ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อประสิทธิภาพการสื่อสาร ในประเด็น
ท่ีเกี่ยวข้องกับการเผยแพร่ข้อมูลของหน่วยงานในเร่ืองต่างๆ ต่อสาธารณชน ผ่านช่องทางท่ีหลากหลาย
สามารถเข้าถึงได้ง่าย และไม่ซับซ้อน โดยข้อมูลที่เผยแพร่จะต้องครบถ้วนและเป็นปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างย่ิง
ผลการดาเนนิ งานของหนว่ ยงานและขอ้ มูลทีส่ าธารณชนควรรบั ทราบ รวมถงึ การจัดให้มชี ่องทางใหผ้ ู้รับบริการ
ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สามารถส่งคาติชมหรือความคิดเห็นเกี่ยวกับการดาเนินงาน/การให้บริการ
และมีการชี้แจงในกรณีท่ีมีข้อกังวลสงสัยได้อย่างชัดเจน นอกจากนี้ ยังประเมินการรับรู้เก่ียวกับการจัดให้มี
ช่องทางให้ผู้มาติดต่อสามารถร้องเรียนการทุจริตของเจ้าหน้าที่ในหน่วยงานด้วย ซึ่งสะท้อนถึงการส่ือสารกับ
ผู้รบั บรกิ าร ผมู้ าตดิ ตอ่ หรือผูม้ ีส่วนได้สว่ นเสยี อยา่ งมีประสิทธิภาพ
ตัวช้ีวัดท่ี 7 ประสิทธิภาพการสือ่ สาร ประเด็นสารวจ ประกอบดว้ ยข้อคาถามจานวน 5 ข้อ ดงั นี้
21
ประเดน็ การประเมนิ น้อยทีส่ ุด ระดบั มากท่ีสุด
หรอื ไม่มีเลย น้อย มาก
e6 การเผยแพร่ขอ้ มูลของหนว่ ยงานทที่ ่านตดิ ต่อ
มีลกั ษณะดงั ต่อไปนี้ มากน้อยเพยี งใด
▪ เขา้ ถงึ งา่ ย ไมซ่ ับซอ้ น
▪ มีช่องทางหลากหลาย
ประเด็นการประเมิน นอ้ ยท่ีสุด ระดับ มากที่สุด
หรือไม่มเี ลย นอ้ ย มาก
e7 หน่วยงานทท่ี า่ นตดิ ต่อ มีการเผยแพรผ่ ลงานหรือ
ขอ้ มลู ทีส่ าธารณชนควรรบั ทราบอย่างชดั เจน มากน้อย
เพยี งใด
ประเดน็ การประเมนิ ระดบั
มี ไมม่ ี
e8 หน่วยงานที่ทา่ นติดต่อ มีช่องทางรับฟงั คาติชมหรอื ความคิดเห็นเกีย่ วกบั
การดาเนินงาน/การให้บริการ หรือไม่
ประเดน็ การประเมิน นอ้ ยท่สี ุด ระดับ มากทสี่ ุด
หรือไม่มเี ลย น้อย มาก
e9 หน่วยงานท่ที า่ นตดิ ต่อ มีการชี้แจงและตอบคาถาม
เมอ่ื มีข้อกงั วลสงสัยเกย่ี วกับการดาเนนิ งานได้อย่าง
ชดั เจน มากนอ้ ยเพยี งใด
หมายเหตุ: หากทา่ นไมม่ ขี อ้ กงั วลสงสัยใหต้ อบ “มากท่ีสดุ ”
ประเดน็ การประเมิน ระดับ
มี ไมม่ ี
e10 หนว่ ยงานทท่ี า่ นตดิ ต่อ มีชอ่ งทางให้ผมู้ าติดต่อรอ้ งเรียนการทจุ ริตของ
เจ้าหนา้ ท่ใี นหน่วยงาน หรอื ไม่
ตัวชี้วัดท่ี 8 การปรับปรุงระบบการทางาน เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือประเมินการรับรู้ของ
ผู้รับบริการ ผู้มาติดต่อ หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานต่อการปรับปรุงระบบการทางาน ในประเด็นท่ี
เกี่ยวข้องกับการปรับปรุงพัฒนาหน่วยงาน ท้ังการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่และกระบวนการทางานของ
หน่วยงานให้ดียิ่งข้ึน รวมไปถึงการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงานเพ่ือให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมาก
ย่ิงขึ้น โดยควรมีกระบวนการเปิดโอกาสให้ผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อ เข้ามามีส่วนร่วมในการปรับปรุง
พัฒนาการดาเนินงานเพ่ือให้สอดคล้องกับความต้องการด้วย ทั้งนี้ นอกจากหน่วยงานจะต้องปรับปรุงพัฒนา
การดาเนนิ งานให้ดีขึน้ แลว้ ยังควรใหค้ วามสาคญั กับการปรับปรุงการดาเนินงานใหม้ ีความโปร่งใสมากข้ึนอีกดว้ ย
22
ตวั ชี้วัดที่ 8 การปรบั ปรุงระบบการทางาน ประกอบด้วยข้อคาถามจานวน 5 ขอ้ ดังนี้
ระดับ
ประเดน็ การประเมนิ นอ้ ยทสี่ ุด นอ้ ย มาก มากที่สุด
หรอื ไม่มีเลย
e11 เจ้าหนา้ ทีข่ องหนว่ ยงานทีท่ ่านติดต่อ
มกี ารปรบั ปรงุ คณุ ภาพการปฏิบตั ิงาน/การให้บริการ
ให้ดีข้ึน มากน้อยเพียงใด
หมายเหต:ุ หากทา่ นติดตอ่ คร้ังแรก ใหเ้ ปรยี บเทียบกบั คุณภาพการปฏิบตั ิงาน/การใหบ้ รกิ ารที่ท่านคาดหวังไวก้ อ่ นมาตดิ ตอ่
ระดบั
ประเด็นการประเมนิ นอ้ ยทส่ี ุด น้อย มาก มากทส่ี ุด
หรอื ไม่มเี ลย
e12 หน่วยงานที่ท่านตดิ ต่อ มีการปรบั ปรงุ วิธกี ารและ
ข้นั ตอนการดาเนินงาน/การใหบ้ รกิ ารใหด้ ขี น้ึ มากน้อย
เพียงใด
หมายเหต:ุ หากท่านตดิ ต่อคร้ังแรก ให้เปรียบเทียบกบั วธิ ีการและขนั้ ตอนการดาเนนิ งาน/การใหบ้ รกิ ารทีท่ ่านคาดหวงั ไวก้ อ่ นมาตดิ ตอ่
ประเด็นการประเมิน ระดบั
มี ไม่มี
e13 หนว่ ยงานทีท่ า่ นตดิ ต่อ มีการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการดาเนินงาน/
การให้บริการ ให้เกิดความสะดวกรวดเร็วมากข้นึ หรือไม่
ระดับ
ประเด็นการประเมนิ น้อยทส่ี ดุ นอ้ ย มาก มากที่สดุ
หรือไม่มเี ลย
e14 หน่วยงานท่ีท่านติดต่อ เปิดโอกาสให้ผู้รบั บริการ
ผมู้ าตดิ ต่อ หรือผมู้ ีสว่ นได้สว่ นเสยี เข้าไปมสี ว่ นรว่ มใน
การปรับปรงุ พฒั นาการดาเนินงาน/การให้บริการของ
หนว่ ยงานใหด้ ีขึ้น มากน้อยเพียงใด
หมายเหตุ: การมีสว่ นรว่ ม เช่น ร่วมวางแผน รว่ มดาเนินการ รว่ มแลกเปลย่ี นความคิดเหน็ และรว่ มติดตามประเมนิ ผล เป็นต้น
ประเดน็ การประเมนิ น้อยทสี่ ดุ ระดับ มากทส่ี ดุ
หรือไม่มีเลย น้อย มาก
e15 หน่วยงานที่ท่านติดต่อ มีการปรบั ปรุงการ
ดาเนนิ งาน/การให้บริการ ให้มคี วามโปรง่ ใสมากขนึ้
มากน้อยเพียงใด
23
การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามแบบวัด OIT
6.1 แบบวัด OIT
แบบวัดการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment: OIT)
เป็นแบบวัดท่ีให้ผู้ตอบเลือกตอบมีหรือไม่มีการเปิดเผยข้อมูล พร้อมท้ังระบุ URL เพ่ือเช่ือมโยงไปสู่แหล่งท่ีอยู่
ของการเปิดเผยข้อมูล และระบุคาอธิบายเพิ่มเติมประกอบคาตอบ โดยมีวัตถุประสงค์เพ่ือเก็บข้อมูลจาก
เว็บไซต์ของหน่วยงาน โดยเป็นการประเมินระดับการเปิดเผยข้อมูลต่อสาธารณะของหน่วยงานเพ่ือให้
ประชาชนสามารถเข้าถึงข้อมูลในเว็บไซต์หลักของหน่วยงานได้ ใน 2 ตัวช้ีวัด ได้แก่ ตัวช้ีวัดการเปิดเผยข้อมูล
(ประกอบด้วย 5 ตัวช้ีวัดย่อย ได้แก่ ข้อมูลพื้นฐาน การบริหารงาน การบริหารเงินงบประมาณ การบริหาร
และพัฒนาทรัพยากรบุคคล และการส่งเสริมความโปร่งใส) และตัวชี้วัดการป้องกันการทุจริต (ประกอบด้วย
2 ตวั ช้ีวดั ยอ่ ย ได้แก่ การดาเนนิ การเพือ่ ปอ้ งกันการทุจรติ และมาตรการภายในเพ่ือปอ้ งกันการทจุ รติ )
6.2 วิธกี ารเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลตามแบบวัด OIT
6.2.1 วิธกี ารตอบแบบวัด OIT
> เขา้ สู่เวบ็ ไซต์ https://itas.nacc.go.th จากนนั้ ดาเนนิ การดังนี้
>> เข้าสู่เมนู แบบสารวจ
>> เขา้ สเู่ มนู แบบตรวจการเปิดเผยข้อมูลสาธารณะ (OIT)
>> การตอบแบบวดั OIT จะต้องระบุข้อมูลใหค้ รบถ้วนทง้ั 3 สว่ น ไดแ้ ก่
(1) มี / ไม่มี
(2) URL เพื่อเชื่อมโยงไปสูข่ ้อมูล
(3) ระบุคาอธบิ ายเพม่ิ เตมิ ประกอบคาตอบ
> ผู้บริหารของหน่วยงานจะต้องมีการตรวจสอบ รับรองความถูกต้อง และอนุมัติข้อมูลเพ่ือให้
ถกู ตอ้ งตามขอ้ เท็จจริงมากทีส่ ุด จึงจะครบถ้วนตามขน้ั ตอนทกี่ าหนด โดยดาเนนิ การดงั นี้
>> เขา้ สูเ่ มนู แบบสารวจ
>> เขา้ สเู่ มนู อนมุ ตั ิแบบตรวจการเปิดเผยขอ้ มูลสาธารณะ
6.2.2 วิธกี ารตรวจสอบและให้คะแนนแบบวัด OIT
คณะที่ปรึกษาการประเมินจะตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูลตามแบบ OIT โดยตรวจสอบจากคาตอบ
มี / ไม่มี URL ท่ีเชอ่ื มโยงไปสขู่ อ้ มูล และคาอธบิ ายประกอบคาตอบท่ีหน่วยงานได้ระบุไว้ในระบบ ITAS โดยจะ
พิจารณาความถูกตอ้ งครบถ้วนตามหลกั เกณฑ์ท่ีกาหนด
6.3 วธิ ีการชแี้ จงเพ่ิมเติมแบบวัด OIT
เมื่อคณะท่ีปรึกษาการประเมินได้ตรวจสอบการเปิดเผยข้อมูลและให้คะแนนแบบวัด OIT แล้ว
หน่วยงานจะได้รับทราบผลคะแนนแบบวัด OIT เบอื้ งต้น พรอ้ มทั้งคาอธิบายประกอบการให้คะแนน โดยในกรณีที่
หน่วยงานไม่เห็นด้วยกับผลคะแนนแบบวัด OIT หน่วยงานสามารถชี้แจงหรืออธิบายเพ่ิมเติมเกี่ยวกับข้อมูลท่ีได้
ระบุไว้ในระบบ ITAS หรอื ท่ไี ด้เปิดเผยไว้ในเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อใหค้ ณะทีป่ รึกษาการประเมินได้ทบทวนการ
ให้คะแนนแบบวัด OIT ให้มีความถูกต้องและเป็นธรรมต่อหน่วยงานมากท่ีสดุ โดยหากพ้นช่วงระยะเวลาการชแี้ จง
เพ่ิมเติมแบบวัด OIT จะถือว่าหน่วยงานไม่ประสงค์ที่จะขอให้คณะท่ีปรึกษาการประเมินได้ทบทวนการให้คะแนน
แบบวดั OIT ท้งั นี้ รูปแบบ วธิ กี ารและระยะเวลาการขอช้แี จงเพิ่มเติมเป็นไปตามทส่ี านักงาน ป.ป.ช. กาหนด
24
6.4 เง่ือนไขสาคัญเกยี่ วกับแบบวดั OIT
6.4.1 คานิยามสาคัญทเ่ี ก่ียวกับของการดาเนินการในแบบวัด OIT
> เวบ็ ไซต์ หมายถงึ เว็บไซต์หลกั ของหนว่ ยงานภาครัฐทใี่ ช้ในการส่ือสารต่อสาธารณะ
> กรณหี น่วยงานประเภท “จังหวัด” กาหนดคานิยาม ดังนี้
>> “หน่วยงาน” หมายถึง จังหวัด ซึ่งมีขอบเขตของการประเมินในภาพรวมของการบริหาร
ราชการส่วนภูมิภาคซ่ึงมีขอบเขตการประเมินครอบคลุมเฉพาะกลไกการบริหารราชการ
ระดับจังหวัด ประกอบด้วย สานักงานจังหวัด และส่วนราชการส่วนภูมิภาคที่อยู่ในการ
ควบคุมดูแลของผู้ว่าราชการจังหวัด (ไม่รวมส่วนราชการในจังหวัดท่ีข้ึนตรงต่อส่วนกลาง
และส่วนราชการระดับอาเภอ สงั กดั กระทรวงมหาดไทย)
>> “ผบู้ ริหาร” หมายถึง ผวู้ า่ ราชการจังหวดั
ดังน้ัน การเปิดเผยข้อมูลกรณีหน่วยงานประเภท “จังหวัด” จึงเป็นข้อมูลในภาพรวมของจังหวัด
(เว้นแตข่ อ้ o13 – o17, o21 – o24 อาจเป็นขอ้ มลู ของสว่ นราชการระดับจงั หวัดภายในจังหวัด)
> “ปี พ.ศ. 2564” หมายถึง รอบปีที่หน่วยงานบริหารราชการ โดย หากหน่วยงานบริหารราชการ
โดยใช้ปีงบประมาณ ให้ใช้ข้อมูลของ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 หากหน่วยงานบริหารราชการ
โดยใช้ปีปฏิทิน ให้ใช้ข้อมูลของปี พ.ศ. 2564 และหากหน่วยงานบริหารราชการโดยใช้รอบปี
อย่างอื่นนอกเหนือจากปีงบประมาณหรือปีปฏิทิน ให้ใช้ข้อมูลของรอบปีที่หน่วยงานใช้ ประจาปี
พ.ศ. 2564 ทงั้ น้ี กรณที ี่หน่วยงานบริหารราชการโดยใช้ปีปฏิทนิ หรือรอบปีอ่ืน ซงึ่ ทาให้ไมส่ ามารถ
ตอบข้อคาถามท่ีเกี่ยวข้องกับการกากับติดตามรอบ 6 เดือน ให้ใช้ข้อมูลในรอบ 3 เดือนในการตอบ
ข้อคาถาม
> “การใหบ้ รกิ าร” หมายถึง การให้บริการตามอานาจหน้าทหี่ รือภารกิจตามกฎหมายของหน่วยงาน
สาหรับหน่วยงานท่ีมีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นจานวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การ
ปฏิบัติงานหรอื การใหบ้ ริการที่มคี วามสาคญั ตอ่ ภารกิจของหน่วยงาน
6.4.2 เงอื่ นไขทว่ั ไปของการดาเนนิ การในแบบวดั OIT
> หน่วยงานจะตอ้ งเปิดเผยข้อมลู บนเวบ็ ไซตห์ ลักของหนว่ ยงาน
> หน่วยงานจะต้องรักษาและคงสภาพเว็บไซตห์ ลักของหน่วยงานให้สาธารณชนสามารถเขา้ ถึงไดท้ ุก
ช่วงเวลา อย่างไรก็ตาม ในกรณีเกิดเหตุจาเป็นทางเทคนิคทาให้เว็บไซต์หลักของหน่วยงานไม่
สามารถเข้าถงึ ไดช้ วั่ คราว หน่วยงานจะต้องแกไ้ ขใหส้ ามารถเข้าถงึ ได้โดยเร็วหรือภายในระยะเวลา
5 วนั นบั แตว่ ันท่ีไดร้ บั แจง้ จากคณะทป่ี รกึ ษาการประเมิน
> หน่วยงานจะตอ้ งอธิบายให้ชัดเจนว่าข้อมูลเปดิ เผยอยู่ในตาแหน่งใดบนเว็บไซต์หลักของหนว่ ยงาน
และประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้อย่างไรจากหน้าเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน เนื่องจากการ
ตรวจสอบการเปดิ เผยข้อมูลจะพจิ ารณาจากความสามารถในการเขา้ ถึงข้อมูลของประชาชนท่ัวไป
> กรณีท่ีหน่วยงานที่ไม่สามารถเปิดเผยขอ้ มูลใดได้ เนื่องจากมีข้อจากัดหรือเหตุผลความจาเป็นทาให้
ไม่สามารถเผยแพร่ข้อมูลตามรายละเอียดที่กาหนดได้ ให้หน่วยงานอธิบายเหตุผลความจาเป็นมา
อย่างละเอียดหรือจะต้องระบุเหตุผลด้านกฎหมายหรือข้อจากัดอันสุดวิสัยลงในช่องคาอธิบาย
เพม่ิ เตมิ ประกอบคาตอบ
25
> ในกรณีหน่วยงานไม่สามารถดาเนินการหรือจัดกิจกรรมโครงการฝึกอบรม ประชุม สัมมนา หรือ
ศกึ ษาดูงานตามหลักเกณฑท์ ี่กาหนดไว้ในแบบวัด OIT อนั เนื่องมาจากมติคณะรฐั มนตรี หรือคาส่ัง
จังหวัด หรือคาส่ังของแต่ละส่วนราชการ ขอให้ระบุเหตุผลที่ไม่สามารถดาเนินการตามประเด็น
การประเมินท่ีกาหนด รวมถึงระบุคาสั่ง หรือประกาศ หรือมาตรการท่ีส่งผลให้หน่วยงานไม่
สามารถดาเนินการได้ไว้ในช่องคาอธิบายเพ่ิมเติมประกอบคาตอบ โดยไม่ต้องเผยแพร่ข้อมูล
ดังกล่าวต่อสาธารณะทางเว็บไซต์หลักของหน่วยงาน โดยหากคณะท่ีปรึกษาพิจารณาแล้วเห็นว่า
มีเหตุผลอนั นา่ เชือ่ ถอื ได้ จะไมน่ าประเดน็ การประเมินนน้ั มาคดิ คะแนน
6.5 รายละเอียดตัวชว้ี ดั ของแบบวัด OIT
ตัวช้ีวัดท่ี 9 การเปิดเผยข้อมูล เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูลท่ีเป็น
ปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพื่อเปิดเผยข้อมูลต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับทราบ
ใน 5 ประเด็น คือ (1) ข้อมูลพ้ืนฐาน ได้แก่ ข้อมูลพ้ืนฐาน ข่าวประชาสัมพันธ์ และการปฏิสัมพันธ์ข้อมูล
(2) การบริหารงาน ได้แก่ แผนดาเนินงาน การปฏิบัติงาน และการให้บริการ (3) การบริหารเงินงบประมาณ
ได้แก่ แผนการใช้จา่ ยงบประมาณประจาปี และการจัดซือ้ จัดจา้ งหรอื การจัดหาพัสดุ (4) การบริหารและพฒั นา
ทรัพยากรบุคคล ได้แก่ นโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล การดาเนินการตามนโยบายการบริหารทรัพยากร
บุคคล และหลักเกณฑ์การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล และ (5) การส่งเสริมความโปร่งใสในหน่วยงาน
ได้แก่ การจัดการเร่ืองร้องเรียนการทุจรติ และประพฤติมิชอบ และการเปิดโอกาสให้เกิดการมีส่วนร่วม ซึ่งการ
เผยแพร่ข้อมลู ในประเด็นขา้ งตน้ แสดงถงึ ความโปร่งใสในการบรหิ ารงานและการดาเนินงานของหน่วยงาน
ตัวช้ีวัดที่ 9 การเปดิ เผยข้อมลู ประกอบดว้ ย 5 ตวั ชว้ี ดั ยอ่ ย (33 ข้อมลู ) ดังน้ี
ตวั ชว้ี ดั ยอ่ ยท่ี 9.1 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน
ข้อมูลพนื้ ฐาน
ขอ้ ข้อมลู องค์ประกอบด้านขอ้ มูล
o1 โครงสร้าง o แสดงแผนผังแสดงโครงสรา้ งการแบง่ สว่ นราชการของหน่วยงาน
o แสดงตาแหน่งท่ีสาคัญ และการแบ่งส่วนงานภายใน ยกตัวอย่างเช่น
สานัก กอง ศนู ย์ ฝ่าย สว่ น กลุ่ม เปน็ ตน้
o2 ข้อมูลผู้บริหาร o แสดงข้อมูลของผู้บริหารสูงสุดหรือหัวหน้าหน่วยงาน และผู้ดารง
ตาแหน่งทางการบริหารของหนว่ ยงาน
o แสดงข้อมูล อย่างน้อยประกอบด้วย ด้วยชื่อ-นามสกุล ตาแหน่ง
รปู ถ่าย และชอ่ งทางการตดิ ต่อของผ้บู รหิ ารแตล่ ะคน
o3 อานาจหน้าท่ี o แสดงขอ้ มูลหน้าท่แี ละอานาจของหนว่ ยงานตามที่กฎหมายกาหนด
o4 แผนยุทธศาสตรห์ รอื o แสดงแผนการดาเนินภารกจิ ของหน่วยงานทม่ี ีระยะมากกวา่ 1 ปี
แผนพฒั นาหนว่ ยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ ยกตัวอย่างเช่น ยุทธศาสตร์หรือ
แนวทาง เปา้ หมาย ตวั ชวี้ ัด เปน็ ต้น
o เป็นแผนทมี่ รี ะยะเวลาบังคับใช้ครอบคลมุ ปี พ.ศ. 2564
26
ขอ้ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบดา้ นข้อมูล
o5 ข้อมูลการติดต่อ
แสดงข้อมลู การตดิ ตอ่ อย่างน้อยประกอบดว้ ย
o6 กฎหมายทเ่ี กี่ยวข้อง o ทอ่ี ยูห่ นว่ ยงาน
o หมายเลขโทรศพั ท์
o หมายเลขโทรสาร
o ทอี่ ยู่ไปรษณยี อ์ เิ ล็กทรอนิกส์
o แผนทีต่ ้งั หนว่ ยงาน
o แสดงกฎหมายที่เก่ียวข้องกับการดาเนินงานหรือการปฏิบัติงานของ
หน่วยงาน
การประชาสมั พนั ธ์ องคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มลู
ขอ้ ขอ้ มลู
o7 ขา่ วประชาสมั พนั ธ์ o แสดงข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ ท่ีเกี่ยวข้องกับการดาเนินงานตามอานาจ
หนา้ ท่ีหรือภารกิจของหน่วยงาน
o เปน็ ข้อมลู ข่าวสารที่เกดิ ขึ้นในปี พ.ศ. 2564
การปฏิสมั พนั ธข์ ้อมูล องคป์ ระกอบด้านขอ้ มลู
ข้อ ขอ้ มลู
o8 Q&A o แสดงตาแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานท่ีบุคคลภายนอกสามารถ
สอบถามข้อมูลต่าง ๆ ได้ และหน่วยงานสามารถสื่อสารให้คาตอบกับ
o9 Social Network ผู้สอบถามได้ โดยมีลักษณ ะเป็นการส่ือสารได้สองทาง (Q&A)
ยกตัวอย่างเช่น Web board, กลอ่ งขอ้ ความถาม-ตอบ เปน็ ต้น
o แสดงตาแหน่งบนเว็บไซต์ของหน่วยงานที่สามารถเช่ือมโยงไปยัง
เครือข่ายสังคมออนไลน์ของหน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น Facebook,
Twitter, Instagram เป็นตน้
ตัวชวี้ ดั ยอ่ ยท่ี 9.2 การบริหารงาน
การดาเนนิ งาน
ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมลู
o10 แผนดาเนนิ งานประจาปี o แสดงแผนการดาเนนิ ภารกิจของหนว่ ยงานทมี่ รี ะยะ 1 ปี
o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ ยกตัวอย่างเช่น โครงการหรือ
กจิ กรรม งบประมาณทใี่ ช้ ระยะเวลาในการดาเนินการ เปน็ ต้น
o เป็นแผนท่ีมรี ะยะเวลาบังคับใชใ้ นปี พ.ศ. 2564
o11 รายงานการกากบั o แสดงความกา้ วหนา้ ในการดาเนินงานตามแผนดาเนินงานประจาปี
ตดิ ตามการดาเนนิ งาน o มีเนื้ อห าห รือรายละเอียดความ ก้าวห น้ า ยกตัวอย่างเช่น
ประจาปี รอบ 6 เดือน ความก้าวหน้าการดาเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียด
งบประมาณทีใ่ ชด้ าเนินงาน เป็นต้น
o เปน็ ข้อมลู ในระยะเวลา 6 เดอื นแรกของปี พ.ศ. 2564
27
ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบด้านขอ้ มูล
o12 รายงานผลการ o แสดงผลการดาเนินงานตามแผนดาเนนิ งานประจาปี
ดาเนนิ งานประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดาเนินงาน ยกตัวอย่างเช่น ผลการ
ดาเนินการโครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา
อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสมั ฤทธ์ิตามเป้าหมาย เป็นตน้
o เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2563
การปฏิบัตงิ าน
ข้อ ขอ้ มูล องค์ประกอบดา้ นข้อมูล
o13 คู่มอื หรือมาตรฐานการ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติงานที่เจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานใช้
ปฏบิ ัตงิ าน ยดึ ถอื ปฏบิ ตั ใิ ห้เป็นมาตรฐานเดยี วกนั
o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน ยกตัวอย่างเช่น เป็นคู่มือ
ปฏิบัติภารกิจใด สาหรับเจ้าหน้าท่ีหรือพนักงานตาแหน่งใด กาหนด
วธิ กี ารขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิอยา่ งไร เป็นตน้
การให้บริการ
ขอ้ ขอ้ มูล องค์ประกอบด้านขอ้ มลู
o14 คมู่ อื หรือมาตรฐานการ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการปฏิบัติท่ีผู้รับบริการหรือผู้มาติดต่อกับ
ให้บริการ หนว่ ยงานใช้เป็นข้อมูลในการขอรบั บรกิ ารหรือตดิ ตอ่ กบั หนว่ ยงาน
o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติ ยกตัวอย่างเช่น เป็นคู่มือสาหรับ
บริการหรือภารกิจใด กาหนดวิธีการข้ันตอนการให้บริการหรือการ
ตดิ ต่ออย่างไร เป็นตน้
o15 ข้อมูลเชิงสถติ ิการ o แสดงขอ้ มลู สถติ ิการใหบ้ รกิ ารของหน่วยงาน
ให้บรกิ าร o เปน็ ข้อมลู ในระยะเวลาอย่างน้อย 6 เดอื นแรกของปี พ.ศ. 2564
o16 รายงานผลการสารวจ o แสดงผลสารวจความพงึ พอใจการให้บริการของหน่วยงาน
ความพึงพอใจการ o เปน็ รายงานผลของปี พ.ศ. 2563
ใหบ้ ริการ
o17 E–Service o แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถขอรับบริการกับหน่วยงาน
ผา่ นชอ่ งทางออนไลน์ เพือ่ ช่วยอานวยความสะดวกแก่ผู้ขอรับบริการ
o สามารถเข้าถึงหรือเช่ือมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเวบ็ ไซต์หลัก
ของหน่วยงาน
หมายเหตุ: การใหบ้ รกิ าร หมายถงึ การให้บริการตามอานาจหนา้ ที่หรอื ภารกจิ ตามกฎหมายของหนว่ ยงาน สาหรับหนว่ ยงานที่
มีการปฏิบัติงานหรือการให้บริการเป็นจานวนมาก อาจมุ่งเน้นเผยแพร่การปฏิบัติงานหรือการให้บริการที่มีความสาคัญต่อ
ภารกจิ ของหนว่ ยงาน
28
ตวั ชว้ี ัดย่อยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
แผนการใชจ้ า่ ยงบประมาณประจาปี
ข้อ ข้อมลู องคป์ ระกอบด้านข้อมลู
o18 แผนการใช้จ่าย o แสดงแผนการใช้จา่ ยงบประมาณของหนว่ ยงานทม่ี รี ะยะ 1 ปี
งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ ยกตัวอย่างเช่น งบประมาณตาม
แหล่งทีไ่ ด้รบั การจัดสรร งบประมาณตามประเภทรายการใชจ้ ่าย เป็นต้น
o เปน็ แผนท่มี รี ะยะเวลาบังคับใช้ในปี พ.ศ. 2564
o19 รายงานการกากับ o แสดงความก้าวหน้าในการดาเนินงานตามแผนการใช้จ่าย
ติดตามการใชจ้ ่าย งบประมาณประจาปี
งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า ยกตัวอย่างเช่น ความก้าวหน้า
รอบ 6 เดือน การใช้จา่ ยงบประมาณ เป็นตน้
o เป็นข้อมลู ในระยะเวลา 6 เดอื นแรกของปี พ.ศ. 2564
o20 รายงานผลการใช้จา่ ย o แสดงผลการดาเนนิ งานตามแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี
งบประมาณประจาปี o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการใช้จ่ายงบประมาณ ยกตัวอย่างเช่น
ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา อุปสรรค ข้อเสนอแนะ ผลสัมฤทธิ์
ตามเปา้ หมาย เปน็ ต้น
o เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2563
การจัดซอื้ จัดจ้างหรือการจดั หาพสั ดุ
ขอ้ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบดา้ นข้อมลู
o21 แผนการจัดซ้อื จัดจา้ ง o แสดงแผนการจัดซื้อจัดจ้างหรือแผนการจัดหาพัสดุตามท่ีหน่วยงาน
หรือแผนการจัดหาพสั ดุ จะต้องดาเนินการตามพระราชบัญญัตกิ ารจดั ซ้ือจัดจ้างและการบริหาร
พสั ดุภาครัฐ พ.ศ. 2560
o เป็นขอ้ มูลการจัดซอ้ื จดั จา้ งในปี พ.ศ. 2564
o22 ประกาศตา่ ง ๆ เกยี่ วกับ o แสดงประกาศตามที่หน่วยงานจะต้องดาเนนิ การตามพระราชบัญญัติ
การจดั ซอื้ จัดจ้างหรือ การจัดซ้ือจัดจ้างและการบริหารพัสดุภาครัฐ พ.ศ. 2560 ยกตัวอย่าง
การจดั หาพสั ดุ เชน่ ประกาศเชิญชวน ประกาศผลการจัดซ้ือจัดจ้าง เป็นต้น
o เปน็ ขอ้ มลู การจดั ซ้ือจดั จ้างในปี พ.ศ. 2564
o23 สรปุ ผลการจัดซื้อจัดจา้ ง o แสดงสรุปผลการจดั ซื้อจดั จา้ งของหน่วยงาน
หรือการจดั หาพัสดุราย o มีข้อมูลรายละเอียดผลการจัดซ้ือจัดจ้าง ยกตัวอย่างเช่น งานท่ีซื้อ
เดอื น หรือจ้าง วงเงินที่ซ้ือหรือจ้าง ราคากลาง วิธีการซ้ือหรือจ้าง รายชื่อ
ผู้เสนอราคาและราคาที่เสนอ ผู้ได้รับการคัดเลือกและราคาที่ตกลง
เหตุผลที่คัดเลือกโดยสรุป เลขที่และวันท่ีของสัญญาหรือข้อตกลงใน
การซ้อื หรอื จา้ ง เป็นตน้
o จาแนกข้อมูลเป็นรายเดือน (กรณีไม่มีการจัดซื้อจัดจ้างในรอบเดือน
ใดใหเ้ ผยแพร่วา่ ไมม่ กี ารจดั ซอื้ จดั จ้างในเดือนนนั้ )
o เปน็ ข้อมลู ในระยะเวลาอยา่ งนอ้ ย 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564
29
ข้อ ข้อมูล องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล
o24 รายงานผลการจดั ซอื้ จัด o แสดงผลการจดั ซ้อื จัดจา้ งของหนว่ ยงาน
จ้างหรอื การจัดหาพัสดุ o มีข้อมูลรายละเอียด ยกตัวอย่างเช่น งบประมาณที่ใช้ในการจัดซ้ือ
ประจาปี จัดจา้ ง ปญั หา อุปสรรค ขอ้ เสนอแนะ เปน็ ต้น
o เป็นรายงานผลของปี พ.ศ. 2563
ตัวช้วี ดั ย่อยท่ี 9.4 การบริหารและพัฒนาทรพั ยากรบคุ คล
การบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคล
ขอ้ ข้อมูล องคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มลู
o25 นโยบายการบรหิ าร o เป็นนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่ยังใช้
ทรัพยากรบุคคล บังคบั ในหนว่ ยงานในปี พ.ศ. 2564
o แสดงนโยบาย หรือแผนการบริหารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลที่มี
จุดมุ่งหมายหรือวัตถุประสงค์ เพ่ือก่อให้เกดิ การบริหารทรัพยากรบุคคล
ทม่ี คี วามโปร่งใสและมคี ุณธรรม
o เป็นนโยบายหรือแผนการบริการและพัฒนาทรัพยากรบุคคลของ
ผ้บู รหิ ารสงู สดุ ที่กาหนดในนามของหนว่ ยงาน
o26 การดาเนินการตาม o เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. 2564
นโยบายการบริหาร o แสดงการดาเนินการตามนโยบายหรือแผนการบริหารและพัฒนา
ทรพั ยากรบุคคล ทรัพยากรบุคคล ยกตัวอยา่ งเช่น การวางแผนกาลังคน การสรรหาคนดี
คนเก่งเพ่ือปฏิบัติงานตามภารกิจของหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร
การสร้างทางก้าวหน้าในสายอาชีพ การพัฒนาคุณภาพชีวิต การบรรจุ
และแต่งต้ังบุคลากร การประเมินผลการปฏิบัติงาน การส่งเสริม
จริยธรรมและรักษาวินัยของบคุ ลากรในหน่วยงาน เป็นตน้
o เปน็ การดาเนินการทีม่ ีความสอดรับกบั นโยบาย หรือแผนการบรหิ าร
และพฒั นาทรพั ยากรบุคคล
o27 หลกั เกณฑ์การบริหาร แสดงหลักเกณฑ์การบรหิ ารและพัฒนาทรัพยากรบุคคลทยี่ ังใช้บังคับใน
และพัฒนาทรัพยากร หนว่ ยงานในปี พ.ศ. 2564 อย่างนอ้ ยประกอบดว้ ย
บคุ คล o การสรรหาและคดั เลือกบุคลากร
o การบรรจุและแตง่ ตงั้ บคุ ลากร
o การพัฒนาบุคลากร
o การประเมนิ ผลการปฏิบตั ิงานบคุ ลากร
o การให้คณุ ให้โทษและการสร้างขวัญกาลงั ใจ
o28 รายงานผลการบริหาร o เป็นรายงานผลของปีทีผ่ ่านมา พ.ศ. 2563
และพัฒนาทรัพยากร o แสดงผลการบรหิ ารและพฒั นาทรัพยากรบคุ คล
บคุ คลประจาปี o มีข้อมูลรายละเอยี ดของการดาเนนิ การ ยกตวั อย่างเช่น ผลการ
ดาเนนิ การตามนโยบายการบริหารทรัพยากรบุคคล ผลการวเิ คราะห์
การบริหารและพฒั นาทรัพยากรบคุ คล เปน็ ตน้
30
ตวั ชีว้ ดั ย่อยที่ 9.5 การส่งเสรมิ ความโปรง่ ใส
การจัดการเรื่องรอ้ งเรยี นการทุจรติ และประพฤติมิชอบ
ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบด้านข้อมูล
o29 แนวปฏิบัติการจดั การ o แสดงคู่มือหรือแนวทางการดาเนินการต่อเรื่องร้องเรียนท่ีเก่ียวข้อง
เรือ่ งร้องเรยี นการทจุ ริต กับการทุจรติ และประพฤติมชิ อบของเจ้าหน้าที่ของหน่วยงาน
และประพฤติมชิ อบ o มีข้อมูลรายละเอียดของการปฏิบัติงาน ยกตัวอยา่ งเช่น รายละเอียด
วิธีการท่ีบุคคลภายนอกจะทาการร้องเรียน รายละเอียดข้ันตอนหรือ
วิธีการในการจัดการต่อเรือ่ งร้องเรียน ส่วนงานที่รบั ผิดชอบ ระยะเวลา
ดาเนนิ การ เปน็ ต้น
o30 ช่องทางแจ้งเร่ือง o แสดงช่องทางท่ีบุคคลภายนอกสามารถแจ้งเรื่องร้องเรียนเก่ียวกับ
ร้องเรียนการทุจริตและ การทุจริตและประพฤติมิชอบของเจ้าหน้าท่ีของหน่วยงานผ่านทาง
ประพฤตมิ ชิ อบ ช่องทางออนไลน์ โดยแยกต่างหากจากช่องทางท่ัวไป เพื่อเป็นการ
คุ้ ม ค ร อ ง ข้ อ มู ล ข อ ง ผู้ แ จ้ ง เบ า ะ แ ส แ ล ะ เพื่ อ ใ ห้ ส อ ด ค ล้ อ ง กั บ แ น ว
ปฏบิ ตั กิ ารจดั การเร่อื งรอ้ งเรยี นการทุจริตและประพฤติมชิ อบ
o สามารถเข้าถึงหรือเช่ือมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเวบ็ ไซต์หลัก
ของหนว่ ยงาน
o31 ขอ้ มูลเชิงสถติ เิ รื่อง o แสดงข้อมูลสถิติเรื่องร้องเรียนการทุจริตและประพฤติมิชอบของ
ร้องเรียนการทุจรติ และ เจา้ หนา้ ทข่ี องหนว่ ยงาน
ประพฤตมิ ิชอบ o มีข้อมูลความก้าวหน้าการจัดการเรื่องร้องเรียน ยกตัวอย่างเช่น
จานวนเร่ือง เร่ืองที่ดาเนินการแล้วเสร็จ เร่ืองที่อยู่ระหว่างดาเนินการ
เป็นต้น (กรณไี มม่ ีเร่อื งร้องเรียนให้เผยแพร่ว่าไม่มีเรอ่ื งร้องเรียน)
o เป็นข้อมลู ในระยะเวลาอยา่ งน้อย 6 เดือนแรกของปี พ.ศ. 2564
การเปดิ โอกาสให้เกดิ การมสี ่วนร่วม
ข้อ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบดา้ นขอ้ มลู
o32 ชอ่ งทางการรับฟังความ o แสดงช่องทางที่บุคคลภายนอกสามารถแสดงความคิดเห็นต่อการ
คดิ เหน็ ดาเนนิ งานตามอานาจหน้าทหี่ รือภารกจิ ของหนว่ ยงานผ่านทางช่องทาง
ออนไลน์
o สามารถเข้าถึงหรือเช่ือมโยงไปยังช่องทางข้างต้นได้จากเว็บไซต์หลัก
ของหน่วยงาน
o33 การเปิดโอกาสใหเ้ กดิ o แสดงการดาเนินการหรือกิจกรรมท่ีแสดงถึงการเปิดโอกาส
การมสี ่วนร่วม ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีส่วนร่วมในการดาเนินงานตามภารกิจ
ของหน่วยงาน ยกตัวอย่างเช่น ร่วมวางแผน ร่วมดาเนินการ ร่วม
แลกเปล่ยี นความคิดเหน็ หรือรว่ มติดตามประเมินผล เป็นต้น
o เปน็ การดาเนินการในปี พ.ศ. 2564
31
ตัวชี้วัดที่ 10 การป้องกันการทุจริต เป็นตัวช้ีวัดที่มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการเผยแพร่ข้อมูล
ท่ีเป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของหน่วยงาน เพ่ือเปิดเผยการดาเนินการต่าง ๆ ของหน่วยงานให้สาธารณชนได้รับ
ทราบ ใน 2 ประเด็น คือ (1) การดาเนินการเพ่ือป้องกันการทุจริต ได้แก่ เจตจานงสุจริตของผู้บริหาร
การประเมินความเสี่ยงเพื่อการป้องกันการทุจริต การเสรมิ สร้างวัฒนธรรมองค์กร และแผนปฏิบัติการป้องกัน
การทุจริต และ (2) มาตรการภายในเพ่ือป้องกันการทุจริต ได้แก่ มาตรการภายในเพ่ือส่งเสริมความโปร่งใส
และป้องกันการทุจริต ซึ่งการเผยแพร่ข้อมูลในประเด็นข้างต้นแสดงถึงการให้ความสาคัญต่อผลการประเมิน
เพ่ือนาไปสู่การจัดทามาตรการส่งเสริมความโปร่งใสภายในหน่วยงาน และมีการกากับติดตามการนาไปสู่การ
ปฏิบตั อิ ย่างเป็นรูปธรรม
ตวั ช้วี ัดที่ 10 การปอ้ งกนั การทจุ รติ ประกอบด้วย 2 ตวั ชวี้ ัดย่อย (10 ขอ้ มลู ) ดังนี้
ตัวช้ีวดั ย่อยที่ 10.1 การดาเนนิ การเพ่ือปอ้ งกนั การทจุ ริต
เจตจานงสจุ ริตของผู้บริหาร
ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบดา้ นข้อมลู
o34 เจตจานงสุจรติ ของ o แสดงเน้ือหาเจตนารมณ์หรือคามั่นว่าจะปฏิบัติหน้าที่และบริหาร
ผู้บรหิ าร หนว่ ยงานอยา่ งซอ่ื สัตยส์ ุจริต โปร่งใสและเปน็ ไปตามหลกั ธรรมาภิบาล
o ดาเนนิ การโดยผู้บรหิ ารสูงสุดคนปจั จุบนั ของหน่วยงาน
o35 การมสี ว่ นรว่ มของ o แสดงการดาเนินการหรือกิจกรรมที่แสดงถึงการมีส่วนร่วมของ
ผ้บู รหิ าร ผบู้ รหิ ารสงู สุดคนปัจจบุ นั
o เป็นการดาเนินการหรือกิจกรรมท่ีแสดงให้เห็นถึงการให้ความสาคัญ
กับการปรับปรุง พัฒนา และส่งเสริมหน่วยงานด้านคุณธรรมและ
โปรง่ ใส
o เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. 2564
การประเมนิ ความเส่ียงเพอื่ ปอ้ งกันการทจุ ริต
ข้อ ขอ้ มูล องคป์ ระกอบด้านข้อมลู
o36 การประเมินความเสี่ยง o แสดงผลการประเมินความเส่ียงของการดาเนินงานหรือการปฏิบัติ
การทุจรติ ประจาปี หน้าท่ีที่อาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง
ผลประโยชน์สว่ นตนกับผลประโยชน์ส่วนรวมของหน่วยงาน
o มีข้อมูลรายละเอียดของผลการประเมิน ยกตัวอย่างเช่น เหตุการณ์
ความเสี่ยงและระดับของความเส่ียง มาตรการและการดาเนินการใน
การบริหารจัดการความเสี่ยง เป็นตน้
o เปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2564
o37 การดาเนินการเพ่ือ o แสดงการดาเนินการหรือกิจกรรมท่ีแสดงถึงการจัดการความเสี่ยงใน
จดั การความเสย่ี งการ กรณีท่ีอาจก่อให้เกิดการทุจริตหรือก่อให้เกิดการขัดกันระหว่าง
ทุจริต ผลประโยชนส์ ว่ นตนกบั ผลประโยชนส์ ่วนรวมของหน่วยงาน
o เป็นกิจกรรมหรือการดาเนินการที่สอดคล้องกับมาตรการหรือการ
ดาเนินการเพอื่ บริหารจัดการความเสีย่ งตามข้อ O36
o เปน็ การดาเนินการในปี พ.ศ. 2564
32
การเสรมิ สร้างวัฒนธรรมองค์กร
ขอ้ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล
o38 การเสริมสรา้ งวัฒนธรรม o แสดงการดาเนินการหรือกิจกรรมของหน่วยงานท่ีแสดงถึงการ
องค์กร เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้เจ้าหน้าที่ของหน่วยงานมีทัศนคติ
คา่ นิยมในการปฏบิ ัตงิ านอยา่ งซ่ือสตั ยส์ ุจรติ อย่างชัดเจน
o เป็นการดาเนินการในปี พ.ศ. 2564
แผนป้องกันการทุจรติ
ขอ้ ข้อมูล องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล
o39 แผนปฏบิ ัติการปอ้ งกนั o แสดงแผนปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์เพ่ือป้องกันการทุจริตหรือ
การทจุ ริต พัฒนาด้านคณุ ธรรมและความโปรง่ ใสของหน่วยงาน
o มีข้อมูลรายละเอียดของแผนฯ ยกตัวอย่างเช่น โครงการ กิจกรรม
งบประมาณ ช่วงเวลาดาเนินการ เป็นต้น
o เป็นแผนทีม่ รี ะยะเวลาบงั คับใช้ครอบคลมุ ปี พ.ศ. 2564
o40 รายงานการกากับ o แสดงความก้าวหนา้ ในการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัติการปอ้ งกนั การ
ตดิ ตามการดาเนินการ ทุจรติ ตามข้อ o39
ปอ้ งกนั การทุจริต o มีข้อมูลรายละเอียดความก้าวหน้า ยกตัวอย่างเช่น ความก้าวหน้า
ประจาปี รอบ 6 เดือน การดาเนินการแต่ละโครงการ/กิจกรรม รายละเอียดงบประมาณท่ีใช้
ดาเนนิ งาน เป็นต้น
o เปน็ ข้อมูลในระยะเวลา 6 เดอื นแรกของปี พ.ศ. 2564
o41 รายงานผลการ o แสดงผลการดาเนินงานตามแผนปฏบิ ัตกิ ารปอ้ งกนั การทุจริต
ดาเนินการป้องกนั การ o มีข้อมูลรายละเอียดสรุปผลการดาเนินการ ยกตัวอย่างเช่น ผลการ
ทุจรติ ประจาปี ดาเนินการโครงการหรือกิจกรรม ผลการใช้จ่ายงบประมาณ ปัญหา
อปุ สรรค ขอ้ เสนอแนะ ผลสมั ฤทธิต์ ามเป้าหมาย เปน็ ต้น
o ใช้รายงานผลของปี พ.ศ. 2563
ตัวช้ีวัดยอ่ ย 10.2 มาตรการภายในเพ่ือปอ้ งกนั การทุจรติ
มาตรการส่งเสรมิ ความโปร่งใสและป้องกันการทุจริตภายในหนว่ ยงาน
ข้อ ขอ้ มลู องคป์ ระกอบด้านขอ้ มูล
o42 มาตรการสง่ เสริม o แสดงการวิเคราะห์ผลการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการ
คุณธรรมและความ ดาเนนิ งานของหนว่ ยงานภาครัฐ ในปี พ.ศ. 2563
โปรง่ ใสภายในหน่วยงาน o มีข้อมูลรายละเอียดการวิเคราะห์ ยกตัวอย่างเช่น ประเด็นท่ีเป็น
ข้อบกพร่องหรือจุดอ่อนท่ีจะต้องแก้ไขโดยเร่งด่วนที่มีความสอดคล้อง
กับผลการประเมินฯ ประเด็นท่ีจะต้องพัฒนาให้ดีขึ้น แนวทางการนา
ผลการวเิ คราะห์ไปส่กู ารปฏิบตั ิของหน่วยงาน เป็นต้น
o มีมาตรการเพ่ือขับเคล่ือนการส่งเสริมคุณธรรมและความโปร่งใส
ภายในหน่วยงานให้ดีขึ้น ซึ่งสอดคล้องตามผลการวิเคราะห์ผลการ
ประเมินฯ โดยมีรายละเอียดต่างๆ ยกตัวอย่างเช่น การกาหนด
33
ข้อ ขอ้ มลู องค์ประกอบดา้ นขอ้ มูล
ผู้รับผิดชอบหรือผู้ท่ีเก่ียวข้อง การกาหนดขั้นตอนหรือวิธีการปฏิบัติ
การกาหนดแนวทางการกากับติดตามให้นาไปสู่การปฏิบัติและการ
รายงานผล เป็นต้น
o43 การดาเนินการตาม o แสดงผลการดาเนินการตามมาตรการเพ่ือสง่ เสริมคุณธรรมและความ
มาตรการส่งเสริม โปร่งใสภายในหน่วยงาน
คุณธรรมและความ o มีข้อมูลรายละเอียดการนามาตรการเพ่ือส่งเสริมคุณธรรมและความ
โปรง่ ใสภายในหน่วยงาน โปร่งใสภายในหน่วยงานในขอ้ o42 ไปสกู่ ารปฏิบัติอยา่ งเป็นรูปธรรม
o เปน็ การดาเนนิ การในปี พ.ศ. 2564
34
การรายงานผลการประเมิน
7.1 เงอื่ นไขการประกาศและแสดงผลการประเมนิ
กรณีทีห่ น่วยงานดาเนนิ การไมค่ รบถ้วนตามข้ันตอนที่กาหนด จะไม่ได้รับการประกาศผลการประเมิน
อย่างเป็นทางการและไม่แสดงผลการประเมินต่อสาธารณะ แต่แสดงให้หน่วยงานรับทราบเท่าน้ัน โดยมี
เงื่อนไขการประกาศและแสดงผลการประเมนิ ดงั น้ี
> กรณีหน่วยงานไมไ่ ดล้ งทะเบียนเขา้ รว่ มการประเมินตามขั้นตอนและระยะเวลาที่กาหนด
> กรณีหน่วยงานไม่ได้นาเข้าข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายในและข้อมูลผู้มีส่วนได้ส่วนเสียภายนอก
ตามขัน้ ตอนและระยะเวลาท่ีกาหนด
> กรณหี นว่ ยงานไม่ไดต้ อบแบบ OIT ตามขน้ั ตอนและระยะเวลาท่ีกาหนด
> กรณหี นว่ ยงานมจี านวนผู้ตอบแบบ IIT น้อยกว่าจานวนคา่ ขั้นต่าที่กาหนด
7.2 การคานวณผลการประเมิน
การประมวลผลคะแนน มีขั้นตอนการประมวลผลคะแนนตามลาดบั ดังนี้
คะแนน แบบ IIT แบบ EIT แบบ OIT
คะแนนขอ้ คาถาม คะแนนเฉลยี่ ของ คะแนนเฉลย่ี ของ คะแนนของข้อคาถาม
ข้อคาถามจากผู้ตอบทุกคน ขอ้ คาถามจากผู้ตอบทุกคน
คะแนนเฉลย่ี ของ
คะแนนตวั ชี้วัดยอ่ ย – – ทุกข้อคาถาม
ในตัวชวี้ ัดยอ่ ย
คะแนนตัวช้วี ดั คะแนนเฉล่ียของ คะแนนเฉลีย่ ของ คะแนนเฉลยี่ ของ
ทุกข้อคาถามในตวั ชี้วัด ทกุ ข้อคาถามในตวั ช้ีวัด ทุกตัวชี้วดั ยอ่ ยในตวั ชี้วดั
คะแนนแบบสารวจ คะแนนเฉลี่ยของ คะแนนเฉลี่ยของ คะแนนเฉล่ียของ
ทกุ ตวั ชี้วดั ในแบบสารวจ ทกุ ตัวชว้ี ัดในแบบสารวจ ทกุ ตวั ชีว้ ัดในแบบสารวจ
น้าหนักแบบสารวจ รอ้ ยละ 30 ร้อยละ 30 รอ้ ยละ 40
คะแนนรวม ผลรวมของคะแนนแบบสารวจที่ถว่ งน้าหนัก
7.3 ผลการประเมิน
7.3.1 ผลคะแนนและระดับผลการประเมิน
ผลการประเมินจะประกอบด้วย ค่าคะแนน โดยมีคะแนนเต็ม 100 คะแนน และระดับผลการ
ประเมนิ โดยจาแนกออกเป็น 7 ระดบั ดังนี้
คะแนน ระดบั
95.00 – 100 AA
85.00 – 94.99 A
75.00 – 84.99 B
65.00 – 74.99 C
55.00 – 64.99 D
50.00 – 54.99 E
0 – 49.99 F
35
7.3.2 ผลตามเป้าหมายตวั ชว้ี ัดของแผนแมบ่ ทฯ
ผลการประเมิน ITA เมื่อเปรียบเทียบตามค่าเป้าหมายของตัวชี้วัดที่กาหนดตามนโยบายและ
แผนงานระดับประเทศ ได้แก่ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นท่ี 21 การต่อต้านการทุจริตและ
ประพฤติมิชอบ (พ.ศ. 2561 - 2580) ซึ่งในระยะแรกของแผนแม่บทฯ (พ.ศ. 2561 - 2565) ได้กาหนดค่าเป้าหมาย
ของตัวชี้วดั ให้หน่วยงานภาครัฐมีผลการประเมิน ITA ผ่านเกณฑ์ (85 คะแนน) มสี ัดสว่ นไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80
นอกจากน้ี แผนงานบูรณาการต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบก็ได้กาหนดค่าเป้าหมายในปี พ.ศ. 2564
ให้หนว่ ยงานภาครัฐมีผลการประเมนิ ITA ผา่ นเกณฑช์ ่วงคะแนนมสี ัดส่วนไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 65 ดังน้ี
เปา้ หมาย ตัวช้วี ดั คา่ เป้าหมาย
ประชาชนมีวัฒนธรรม รอ้ ยละของหน่วยงานท่ี 2563 2564 2565
และพฤติกรรมซื่อสัตย์ ผ่านเกณฑ์การประเมิน
สุจริต ITA ร้อยละ 50 รอ้ ยละ 65 ร้อยละ 80
(85 คะแนน) (85 คะแนน) (85 คะแนน)