The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มคู่มือโรงเรียนสุจริต

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่มคู่มือโรงเรียนสุจริต

เล่มคู่มือโรงเรียนสุจริต

1

ส่วนท่ี 1

บทนำ

ความเป็นมา โครงการโรงเรียนสุจรติ

โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “ ปอ้ งกนั การทุจริต ”
ภายใต้ช่อื “ โรงเรียนสจุ ริต ” , เกิดขึน้ เนือ่ งจาก ยุทธศาสตร์ชาตวิ า่ ด้วยการปอ้ งกันปราบปรามการทุจรติ
ระยะที่ ๓ (พ.ศ.256๐ – 256๔) ได้กำหนดวสิ ยั ทศั น์ว่า “สังคมไทยมวี ินัย โปร่งใส ยดึ มั่นในคุณธรรม
จรยิ ธรรมและร่วมกันป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต เป็นท่ยี อมรบั ในระดบั สากล” มีเป้าหมายหลกั เพ่ือ
ลดปญั หาการทุจริตในสังคมไทยและยกระดบั คณุ ธรรม จริยธรรมของคนไทยใหส้ งู ขน้ึ อันจะส่งผลตอ่ คา่
ดัชนชี ้ีวดั ภาพลักษณ์คอร์รัปชน่ั (Corruption Perception Index : CPI) ของประเทศไทยใหส้ ูงขน้ึ โดยตง้ั
ค่าเป้าหมายไว้ท่ีรอ้ ยละ 50 ในปี พ.ศ. 2560 โดยในปี 2556 ที่ผ่านมา ประเทศไทยได้คะแนนความ
โปรง่ ใส รอ้ ยละ 35 คะแนน อยู่อันดับท่ี 102 จากการจัดอันดบั ทั้งหมด 177 ประเทศทั่วโลก เทา่ กับ
ประเทศเอกวาดอร์ มอลโดวา และปานามา) นอกจากน้ี สำนกั งาน ป.ป.ช. ยงั ไดก้ ำหนดยุทธศาสตรก์ าร
ดำเนนิ การไว้ 5 ยทุ ธศาสตร์ เพื่อนำไปสู่การบรรลเุ ป้าหมายใน 4 กลุม่ คอื

1) กลุม่ เด็กเยาวชน โดยการปลกู ฝงั คณุ ธรรม จริยธรรม ใหย้ ดึ ถือประโยชนส์ ่วนรวมมากกวา่
ประโยชน์สว่ นตนให้เกิดความเขม้ แข็งมากท่ี สดุ เพราะเปน็ อนาคตของชาติ

2) กลุม่ ภาครัฐ เสรมิ สร้างและสนบั สนุนให้ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารองค์กร ใหเ้ จ้าหนา้ ท่ี
ของรัฐและผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองยดึ ถือหลักปฏบิ ตั ิตาม ประมวลจรยิ ธรรม ในการปฏิบตั ิหน้าท่ี

3) กลุม่ ภาคเอกชน สง่ เสรมิ และสนบั สนุนให้ใช้หลักธรรมาภบิ าลในการบริหารองค์กรและเขา้ มามี
ส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทจุ ริต

4) กลมุ่ ภาคประชาสังคมและสื่อมวลชน สง่ เสริมและสนับสนุนใหเ้ กดิ การมีสว่ นร่วมของทุกหมเู่ หลา่
ในการป้องกนั และ ปราบปรามการทุจรติ นบั เปน็ ความพยายามทดี่ ีของ สำนักงาน ป.ป.ช. และภาคที ุกภาค
สว่ นโดยเฉพาะองค์กรตามรัฐธรรมนญู ในการดำเนนิ การจัดทำยทุ ธศาสตร์ชาติว่าด้วยการปอ้ งกัน
ปราบปรามการทุจรติ เพ่ือใช้เปน็ กรอบชี้นำในการดำเนนิ การแก้ไขปัญหาการทุจริตของประเทศ

จะเห็นไดว้ ่าปัญหาการทจุ รติ คอรร์ ปั ชั่น ยังคงเปน็ ประเดน็ ปญั หาท่นี ่าเปน็ หว่ งและเปน็ อุปสรรค
สำคญั ต่อการพฒั นาประเทศ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐานในฐานะองค์การที่รบั ผิดชอบ
งาน จัดการศึกษาใหเ้ ยาวชนส่วนใหญ่ของประเทศ ให้เปน็ พลเมอื งท่ีมคี ณุ ภาพในอนาคต ไดต้ ระหนกั ใน
ความสำคัญของการเตรยี มการด้านการป้องกนั และปราบปรามการทจุ รติ ใน สถานศึกษา สำนักงานเขต
พ้ืนทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาสรุ ินทร์ เขต 2 จึงได้

ดำเนนิ โครงการเสรมิ สร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลในสถานศกึ ษา “ป้องกันการ
ทจุ ริต” (ภายใตช้ อ่ื “โรงเรยี นสุจรติ ”)โดยให้ความสำคัญกบั การเตรยี มการดา้ นการป้องกัน และปราบปราม
การทุจรติ ในโรงเรียน เพ่ือวางรากฐานการปลกู จิตสำนึกซ่ึงเป็นกลไกในการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจรติ ของประเทศชาติ ซง่ึ โครงการโรงเรยี นสุจรติ เปน็ โครงการท่สี อดคลอ้ งกับเจตนารมณเ์ ชิงกลยุทธข์ อง
สำนักงานคณะกรรมการการ ศึกษาขน้ั พื้นฐาน วา่ ด้วยการปอ้ งกนั การทุจรติ โดยสำนักงานคณะกรรมการ

2

การศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน กำหนดจดุ หมายปลายทาง ท่ีม่งุ สู่การเปน็ “องค์กรแห่งการเรยี นรู้ อยอู่ ย่างพอเพยี ง
หลีกเลย่ี งอบายมุข ทกุ หน่วยงานรับผิดชอบ ตอบสนองการปอ้ งกนั ทุจริต”

วตั ถปุ ระสงค์
1. เพอื่ สนับสนนุ สง่ เสริมสถานศกึ ษาจัดกระบวนการเรียน การสอน และกิจกรรมทางการ

ศกึ ษา ส่งเสรมิ ให้นักเรยี นไดเ้ รียนรู้และตระหนักในความสำคัญของชาติ คุณค่า คุณประโยชนข์ อง
องค์ประกอบต่าง ๆที่สรา้ งความเป็นชาติ มุ่งมนั่ ที่จะอนุรักษแ์ ก้ปัญหาและพัฒนาใหส้ งิ่ เหลา่ นเี้ จรญิ ก้าวหนา้
มน่ั คง ยงั่ ยนื โดยมีชมุ ชนเปน็ สว่ นรว่ ม

2.นักเรยี น นกั ศกึ ษา เกดิ ความสำนึกทจี่ ะมุง่ ม่ันพฒั นาตนเองให้เปน็ เยาวชนทดี่ ีของชาติ
และมีความรักชาติถูกทางที่จะรกั องคป์ ระกอบตา่ งๆของชาติ เชน่ คนในชาติ แผ่นดิน ทรพั ยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อม ศิลปวฒั นธรรม สถานบนั ทส่ี ำคัญของชาติ

3.ขยายการประสานสมั พันธก์ ่อให้เกิดความร่วมมือระหวา่ งสถานศึกษา ครอบครวั ศาสนา ชุมชน
ในความรว่ มมือดำเนนิ กจิ กรรมตามแนวทางรักชาติถูกทาง ซึง่ จะมีส่วนช่วยในการแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ชมุ ชน

เปา้ หมาย
1. นกั เรยี นร้อยละ 100 มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน

พทุ ธศักราช 2551
2. ผู้บรหิ าร ครู นักเรยี นในโรงเรยี นตน้ แบบและโรงเรยี นเครอื ข่ายทุกคนมจี ติ อาสา จิตสำนกึ

ความเป็นพลเมืองรบั ผดิ ชอบงานในสงั คม ชว่ ยแก้ปญั หาสังคม และมีความภาคภูมิใจในตนเอง
3. โรงเรียนตน้ แบบ โรงเรียนเครอื ข่ายจัดกจิ กรรมเสรมิ สร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรม

ภิบาลในสถานศกึ ษาได้อยา่ งหลากหลายและเหมาะสมกบั วยั

3

บทที่ 2

แนวทางการพัฒนาและองค์ความรู้ทีเ่ ก่ยี วข้อง

ขอบเขตของภารกจิ และจุดมุ่งเน้น ตอ้ งดำเนนิ การ คือ

1. พฒั นาทุกหน่วยงานของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พืน้ ฐานให้เป็นองค์กร แห่งการ
เรยี นรู้ มีระบบและวิถีพอเพยี ง มคี วามสจุ ริต รบั ผิดชอบ ปลอดอบายมขุ

2. พัฒนากระบวนการเรยี นรทู้ ่ีเท่าทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง รวมทัง้ ปลกู จติ สำนึกให้นกั เรียนสังกัด
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน มีทักษะกระบวนการคดิ มีวินยั ซือ่ สัตย์ อยู่อยา่ งพอเพยี ง มี
จติ สาธารณะ ยดึ มัน่ ในคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และป้องกนั การทจุ ริต

3. พัฒนาครู ผู้บริหาร บคุ ลากรทางการศึกษาแบบบูรณาการอย่างเป็นระบบและต่อเน่ืองให้มี
คุณภาพ ความพอเพียง สจุ รติ รับผดิ ชอบ ปลอดอบายมขุ บนฐานการเรยี นรทู้ ่ีเทา่ ทนั ตอ่ การเปลีย่ นแปลง

4. ส่งเสรมิ และสนบั สนนุ การจัดการองค์ความรู้ดา้ นการส่งเสรมิ และต่อต้านการ ทจุ ริต อยา่ งเป็น
ระบบ และมีเครือข่ายระดบั ชาติและนานาชาติทีเ่ ขม้ แขง็ และกา้ วหนา้ อย่างมีพลวัตร

วิสัยทศั น์
“สพฐ.เป็นองค์กรแห่งการเรียนร้อู ยอู่ ยา่ งพอเพียงหลีกเลยี่ งอบายมุขทุกหน่วยงานรับผดิ ชอบ

ตอบสนองการป้องกันทจุ รติ ”

พนั ธกจิ แบบบูรณาการ
“ พฒั นาสพฐ. ให้เป็นองค์กรแหง่ การเรยี นรูท้ ง้ั ระบบปลอดอบายมุขร่วมปอ้ งกนั ทุจรติ ปลูกจิตสา

นกึ ให้นักเรยี นสังกดั สพฐ. มคี วามรู้ทเี่ ทา่ ทันต่อการเปลย่ี นแปลงมีทักษะกระบวนการคิดมีวินัยซ่อื สัตย์อยู่
อย่างพอเพยี งมีจติ สาธารณะและยึดมัน่ ในคุณธรรมจริยธรรมควบคู่กับการพัฒนาครูผูบ้ ริหารบุคลากรทาง
การศึกษา ”

4

พนั ธกจิ

1. พัฒนาทกุ หนว่ ยงานของสพฐ.ให้เป็นองค์กรแห่งการเรยี นรู้มีระบบและวถิ ีพอเพยี งมีความสุจริต
รับผดิ ชอบปลอดอบายมุข

2. พฒั นากระบวนการเรยี นรู้ทเ่ี ทา่ ทนั ต่อการเปลย่ี นแปลงรวมทัง้ ปลกู จิตสำนกึ ให้นกั เรยี นสงั กัด
สพฐ. มที กั ษะกระบวนการคิดมวี ินยั ซ่ือสตั ยอ์ ยู่อย่างพอเพียงมีจิตสาธารณะยึดมน่ั ในคุณธรรมจริยธรรมและ
ปอ้ งกันการทุจริต

3. พฒั นาครูผู้บริหารบุคลากรทางการศกึ ษาแบบบรู ณาการอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่องให้มี
คณุ ภาพมีความพอเพยี งสุจริตรบั ผิดชอบปลอดอบายมขุ บนฐานการเรยี นร้ทู ีเ่ ทา่ ทนั ตอ่ การเปลยี่ นแปลง

4. สง่ เสรมิ และสนบั สนุนการจัดการองค์ความรดู้ ้านการสง่ เสรมิ และตอ่ ต้านการทจุ รติ อย่างเปน็
ระบบและมเี ครือขา่ ยระดบั ชาตแิ ละนานาชาติทเี่ ข้มแขง็ และกา้ วหนา้ อย่างมีพลวตั ร

วัตถุประสงคห์ ลัก

1. ทุกหน่วยงานของสพฐ. มรี ะบบงานและวถิ แี บบพอเพยี งสุจริตรบั ผดิ ชอบปลอดอบายมุขและมี
การเรยี นรู้และการจัดการความรู้อยา่ งเท่าทันต่อการเปลยี่ นแปลง

2. นกั เรียนสังกดั สพฐ. มกี ระบวนการเรยี นรทู้ ีเ่ ทา่ ทนั ต่อการเปล่ียนแปลงมที ักษะกระบวนการคิดมี
วนิ ัยซอื่ สตั ยอ์ ยู่อย่างพอเพียงมีจิตสาธารณะยดึ มน่ั ในคุณธรรมจริยธรรมและปอ้ งกันการทุจรติ

3. ครผู ูบ้ ริหารบคุ ลากรทางการศึกษามสี ่วนรว่ มในการป้องกันการทจุ รติ
4. นักเรยี นสังกัดสพฐ. ครผู ู้บริหารบคุ ลากรทางการศึกษารู้เทา่ ทันรว่ มคิดป้องกันการทจุ ริต

ยุทธศาสตร์

ยทุ ธศาสตรท์ 1่ี : สรา้ งองค์ความรแู้ ละกระบวนการเรียนรู้ที่เทา่ ทนั ต่อการเปลยี่ นแปลงปลูกจติ สานกึ ทักษะ
กระบวนการคิดมีวินยั ซ่ือสัตย์อยู่อยา่ งพอเพียงมจี ติ สาธารณะยึดม่ันในคุณธรรมจรยิ ธรรมแกน่ กั เรียนสงั กัด
สพฐ. ครผู ู้บรหิ ารบคุ ลากรทางการศึกษา
มาตรการ/แนวทางดำเนนิ งาน
1.1 สรา้ งองค์ความรู้และกระบวนการเรยี นร้ทู ่ีเทา่ ทันต่อการเปลย่ี นแปลง

1.1.1 พฒั นาหนว่ ยการเรยี นรบู้ ูรณาการเก่ยี วกับวิวัฒนาการของสังคมและพฤติกรรมของมนุษย์
1.1.2 พฒั นากระบวนการเรียนรทู้ ส่ี ร้างทักษะการคดิ อยา่ งมีวิจารณญานผา่ นการกลนั่ กรองทาง
คณุ ธรรมอยา่ งเท่าทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง อนั ดารงความสขุ บนความสจุ ริตได้อย่างมน่ั คง
1.1.3 พัฒนาเครอื ข่ายการเรียนรู้ ชมุ ชนแนวปฏิบตั ิการเรียนร้อู ยา่ งเทา่ ทนั ต่อการเปลี่ยนแปลง
1.2 ส่งเสริมการดาเนินชีวิตตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง
1.2.1 ใชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการพัฒนาระบบการบริหารและวิชาการใหม้ ีความ
สมดลุ
1.2.2 สง่ เสรมิ ให้ความรูเ้ กีย่ วกบั การดาเนนิ ชวี ติ ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง
1.2.3 ประยุกตใ์ ชห้ ลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี งใหเ้ กิดผลในทางปฏบิ ัติอยา่ งเป็นวิถีชวี ติ

5

1.3 สง่ เสริมการเรยี นรแู้ ละปฏบิ ัติตามคณุ ลักษณะ 5 ประการแกน่ ักเรียนสงั กัด สพฐ.
1.3.1 ส่งเสริมการประพฤตปิ ฏิบตั ิตนตามประมวลหลักคุณธรรม จรยิ ธรรม
1.3.2 กากับดแู ลการประพฤติปฏบิ ัติตนให้เปน็ ไปตามประมวลหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม
1.3.3 ให้การเสริมแรงแก่ผทู้ ี่ประพฤตปิ ฏบิ ัตไิ ดเ้ ปน็ ท่ีประจักษ์และได้รับการยอมรบั อยา่ งมเี กยี รติ

1.4 กาหนดใหก้ ารศกึ ษาเป็นเครือ่ งมอื ในการป้องกนั การทุจริต
1.4.1 กาหนดใหม้ ีเอกสารแนวทางการจัดกิจกรรมป้องกนั การทุจรติ และกจิ กรรมค่าย

“เยาวชนคนดีของแผน่ ดนิ ”
1.4.2 พฒั นาครู ผู้บริหาร บคุ ลากรทางการศึกษาเพ่ือให้เป็นตน้ แบบทด่ี ีด้านการป้องกันการทจุ ริต
1.4.3 ติดตามประเมินผลการปอ้ งกันการทจุ รติ ในระบบการศึกษา
1.4.4 สง่ เสรมิ แหล่งเรยี นรูด้ า้ นการปอ้ งกันการทุจริต

1.5 ผลกั ดนั ใหค้ ่านยิ มเชิดชูความดี ความซือ่ สตั ย์ และรังเกียจการทุจรติ เป็นค่านยิ มร่วมของชาติ
1.5.1 เสริมสร้างแรงบันดาลใจในการกระทาความดี มีกรณตี ัวอย่างในการเชิดชอู ยา่ งสม่าเสมอ
1.5.2 รณรงคป์ ระชาสมั พนั ธ์คุณธรรม จรยิ ธรรมทั้งแนวกว้างและแนวลกึ อยา่ งท่วั ถงึ ครบวงจร

ยทุ ธศาสตร์ท่๒ี : สพฐ. รวมพลงั ร่วมสรา้ งองค์กรแห่งการเรียนรสู้ รา้ งระบบและวิถีพอเพียงสจุ ริตรับผดิ ชอบ
ปลอดอบายมขุ และป้องกนั การทุจรติ
มาตรการ/แนวทางดำเนินงาน
2.1 สร้างองค์กรแห่งการเรียนรู้ ระบบและวิถีพอเพยี ง สุจริต รบั ผดิ ชอบ ปลอดอบายมุขในทกุ หนว่ ยงาน

2.1.1 จัดทาแผนการสร้างองค์กรแห่งการเรยี นรู้ ระบบและวถิ ีพอเพียง สุจริต รับผดิ ชอบ
ปลอดอบายมขุ ป้องกันการทุจรติ ในทกุ หน่วยงาน

2.1.2 จัดสร้างองคก์ รทางกายภาพ และโครงสร้างระบบบริหารจัดการแบบพอเพียง
2.1.3 จัดทำหลักสูตรการพัฒนาบคุ ลากร
2.1.4 จดั การอบรมพฒั นาบุคลากร
2.1.5 ดาเนินการขบั เคล่ือนการพฒั นาระบบหนว่ ยงานทกุ หนว่ ยงาน
2.1.6 ประเมนิ และพัฒนาระหวา่ งและหลงั ดาเนินการในแตล่ ะปี อยา่ งมพี ลวัตร

2.2 ประชาสมั พันธ์ต่อตา้ นการทุจรติ
2.2.1 จัดทาแผนแม่บทด้านการประชาสมั พนั ธป์ อ้ งกนั การทุจริต
2.2.2 รวบรวมข้อมลู ข่าวสาร งานวจิ ยั และงานวิชาการดา้ นการปอ้ งกันการทุจริต
2.2.3 จัดทาและเผยแพรส่ ือ่ สรา้ งสรรค์ในการต่อต้านการทจุ ริต

2.3 เสริมสรา้ งกระบวนการมีส่วนรว่ ม
2.3.1 สรา้ งกระบวนการเรยี นรู้
2.3.2 พฒั นาช่องทางในการแจ้งเบาะแสใหง้ ่าย หลากหลาย และปลอดภยั
2.3.3 กำหนดมาตรการจูงใจผูแ้ จ้งข้อมลู เบาะแส

2.4 เสริมสรา้ งความเขม้ แข็งและก้าวหน้าของเครือข่าย
2.4.1 สนับสนุนระบบการจดั การของเครือข่าย
2.4.2 เสรมิ สร้างขวัญ กาลงั ใจแก่เครือข่ายทกุ ภาคสว่ น

6

2.4.3 กากับ ตดิ ตาม ประเมินผลและพฒั นาการดาเนนิ งานของเครือข่ายอย่างตอ่ เนื่อง
2.3.4 พฒั นาเครือขา่ ยภายในประเทศสู่เครอื ขา่ ยสากล

ยุทธศาสตรท์ ๓ี่ :สร้างครผู ู้บริหารบคุ ลากรทางการศึกษามืออาชพี เพ่อื เปน็ รากฐานในการปอ้ งกนั การทุจริต
อย่างมีจติ สานึกและเปยี่ มดว้ ยคุณภาพ

มาตรการ/แนวทางดำเนนิ งาน
3.1 ส่งเสริมการประพฤติตนตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชีพของครู ผบู้ รหิ าร บุคลากรทางการศึกษา
ในสังกดั สพฐ.อย่างเครง่ ครดั (Code of Conduct)

3.1.1 ส่งเสริมผลกั ดันใหส้ ร้างมาตรฐานจรรยาบรรณวิชาชีพ
3.1.2 สง่ เสรมิ ให้มกี ารติดตามประเมนิ ผลการปฏบิ ัตงิ านตามมาตรฐานจรรยาบรรณวชิ าชพี
3.2 สง่ เสริมการสร้างองค์กรการจัดการความรู้
3.2.1 สง่ เสริมความสัมพนั ธ์ในการแลกเปล่ียนความรู้ ข้อมูลข่าวสารทางแนวราบระหว่าง
หน่วยงานระดับปฏิบตั กิ าร เพื่อลดเวลาท่ีล่าชา้ จากการส่ังการตามแนวดงิ่ และได้ผลงานท่ีสมบูรณม์ ากขึ้น
ในเวลาท่รี วดเรว็ ขึน้
3.2.2 จัดตง้ั หน่วยศกึ ษาและประมวลองค์ความรูท้ ี่เท่าทนั ตอ่ การเปลี่ยนแปลง รวมท้งั จาก
กระบวนการจดั การความรู้ อยา่ งเปน็ ระบบ ประสานงานศูนยข์ อ้ มลู สารสนเทศในการบริการองค์ความรู้
อยา่ งมปี ระสิทธิภาพและประสทิ ธผิ ล
3.3 ส่งเสริมการสร้างศนู ยข์ อ้ มูลสารสนเทศเก่ยี วกบั การป้องกันการทจุ รติ และองค์ความรู้ท่ีเทา่ ทนั ต่อ
การเปลีย่ นแปลง รวมท้ังจากกระบวนการจดั การความรู้
3.3.1 ผลกั ดนั ใหม้ ีการจดั ตั้งศูนย์ขอ้ มลู สารสนเทศกลาง
3.3.2 ส่งเสริมให้มกี ารพฒั นาฐานขอ้ มูล
3.4 สรา้ งมาตรฐานหลกั สูตรฝกึ อบรมของ สพฐ.ต่อต้านการทจุ รติ (ท่สี อดรบั กบั ยทุ ธศาสตร์ท่ี 2 สพฐ.
(หนว่ ยงานส่วนกลาง) รวมพลังรว่ มสรา้ งองค์กรแห่งการเรยี นรู้ สรา้ งระบบและวถิ ีพอเพยี ง สจุ รติ
รับผิดชอบ ปลอดอบายมุข และป้องกนั การทุจริต)
3.4.1 ส่งเสริมใหม้ ีหลักสตู รฝึกอบรมทม่ี มี าตรฐาน
3.4.2 สง่ เสริมใหจ้ ัดต้ังศูนย์ฝึกอบรมภายในหน่วยงาน
3.4.3 สนบั สนุนงบประมาณในการดาเนินการ

เพอื่ ให้โรงเรียนท่เี ขา้ รว่ มโครงการเสรมิ สรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา
“ปอ้ งกนั การทุจรติ ” ได้ขับเคลื่อนไปทิศทางเดียวกนั จึงกำหนดใหม้ ีปฏญิ ญาสำนักงานโรงเรยี นสจุ ริต
(Upright School Declaration) ขึ้น โดยใช้ข้อความว่า

7

......คณะครู บคุ ลากรทางการศกึ ษาและนักเรียน ของสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พืน้ ฐาน ขอให้
คำมน่ั สัญญาต่อพันธกรณีในการต่อตา้ นการทุจรติ ทุกรูปแบบดว้ ยการขับ เคล่ือนโครงการ“โรงเรยี นสุจริต”
ดงั นี้

1. เราจะรว่ มกันปอ้ งกนั และตอ่ ต้านการทจุ ริตทุกรูปแบบ

2. เราจะปลกู ฝงั คา่ นิยมความซ่ือสตั ย์สุจรติ ระหวา่ งโรงเรียนและชุมชน

3. เราจะสร้างเครือข่ายความซอ่ื สัตย์สจุ รติ ระหวา่ งโรงเรียนและชุมชนให้เปน็ รปู ธรรมและมคี วามยัง่ ยืน

ทงั้ หมดนเี้ พอื่ ธำรงชาติไทยให้สถติ เสถียรสถาพรตลอดจิรัฐติกาล

มาตรฐานการบรหิ ารงานโรงเรียนสุจริต

มาตรฐานการบรหิ ารงานโรงเรียน ท่ีโรงเรยี นส่วนใหญ่ได้ใชใ้ นการบรหิ ารงานภายในโรงเรียน เพ่ือใหง้ านใน
โรงเรียนมีประสิทธภิ าพ โรงเรยี นควรนาหลกั คุณธรรม จรยิ ธรรม และธรรมาภิบาล และคุณลักษณะผเู้ รยี น
ของโรงเรียนสจุ ริตมาใชใ้ นการบรหิ ารงานใหส้ อดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงค์ของโครงการ มาตรฐานการ
บรหิ ารงานโรงเรียน ประกอบดว้ ย 4 มาตรฐานการบริหารงาน ดังน้ี

๑.การบริหารงานวชิ าการ หมายถงึ การจัดการเรยี นรู้ การสง่ เสริมนักเรียนใหพ้ ฒั นาตนเองตาม
คุณลกั ษณะ ๕ ประการของโรงเรยี นสุจรติ โดยการจดั การเรียนรผู้ า่ นสอื่ นวตั กรรม แหลง่ เรียนรู้อยา่ ง
หลากหลาย และประเมนิ ผลนกั เรยี นแลว้ นาผลการประเมนิ ไปใช้ในการวจิ ยั เพือ่ แก้ปญั หาและพัฒนา
พฤติกรรมนักเรยี นใหม้ ีคุณลกั ษณะ 5 ประการของโรงเรยี นสุจริต พรอ้ มท้ังจดั ให้มีการนิเทศภายใน และ
ให้บริการดา้ นวิชาการทั้งภายในและภายนอกโรงเรยี น

๒.การบรหิ ารงานงบประมาณ หมายถงึ การดาเนนิ งานด้านการเงิน การบัญชีและพัสดุ
ให้ถกู ต้องตามระเบยี บแบบแผนของทางราชการ อย่างมสี ว่ นร่วม ประหยดั คมุ้ ค่า มีความโปรง่ ใสและ
ตรวจสอบได้

๓. การบรหิ ารงานบุคคล หมายถึง งานทเี่ กยี่ วข้องกบั การดูแลอานวยความสะดวกให้กบั บคุ ลากร
ในโรงเรียน สร้างขวัญกาลังใจ ดูแลการรักษาสิทธิประโยชนอ์ ันพงึ มพี ึงได้ของบคุ ลากร ดาเนินการจดั
กจิ กรรมสง่ เสริมและพัฒนาความรคู้ วามสามารถใหก้ บั บุคลากร

๔. การบริหารงานงานทว่ั ไป หมายถึง การจัดบรกิ ารดา้ นอาคารสถานทแ่ี ก่ครู นักเรียนและชมุ ชน
โดย จัดบรรยากาศภายในโรงเรยี นใหส้ ะอาด ร่มร่ืน สวยงาม ปลอดภัย พรอ้ มทงั้ ดูแล บำรุงรักษา อาคาร
เรยี น อาคารประกอบ หอ้ งเรียน ห้องพิเศษต่างๆ ให้อยู่ในสภาพดีพร้อมใชง้ านและเอ้ือต่อการเรยี นรู้

โรงเรยี นสจุ รติ ทกุ โรงเรยี น ตอ้ งดำเนนิ การตามมาตรฐานโรงเรยี นสจุ ริต ใหเ้ ปน็ ไปตามตัวช้ีวัดท่ี
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พนื้ ฐานได้กำหนดขึ้น สามารถศกึ ษาไดจ้ ากคูม่ ือมาตรฐานโรงเรียน
สจุ ริตได้



8



9



10



11



12



13



14



15



16

๑๗

บทที่ ๓

วธิ กี ารดำเนนิ การ

รูปแบบการจัดกิจกรรมโรงเรยี นสจุ ริต

๑. กิจกรรมรอ้ งเพลงชาติไทย บคุ ลากร ครู นกั เรียน ภายในโรงเรยี น มกี ารยนื ตรงเคารพธงชาตทิ ุก
วัน ในระหวา่ งกิจกรรมหน้าเสาธง หรอื เวลา ๐๘.๐๐ น. และ ๑๘.๐๐ น. ทุกวนั และควรมขี น้ั ตอนการร้อง
เพลงชาตไิ ทย ในขน้ั ตอนแรกกอ่ นการดำเนินกจิ กรรมอ่นื ๆ ภายในโรงเรียน

๒. กิจกรรมสวดมนต์ไหวพ้ ระ บุคลากร ครู นกั เรยี น ภายในโรงเรยี น มีการสวดมนตไ์ หว้พระ ทุก
วัน ในระหวา่ งกจิ กรรมหนา้ เสาธงหรอื ช่วงเวลาอ่นื ๆ ตามความเหมาะสม และควรมีขั้นตอนการสวดมนต์
ไหวพ้ ระหลังร้องเพลงชาตไิ ทย ในข้ันตอนแรกก่อนการดำเนนิ กิจกรรมอ่ืน ๆ ภายในโรงเรียน

๓. กิจกรรมกลา่ วคำปฎิญญาโรงเรียนสจุ ริต บคุ ลากร ครู นักเรียน ภายในโรงเรยี น มีการกลา่ วคำ
ปฎญิ ญาโรงเรียนสุจรติ ทุกวัน ในระหว่างกิจกรรมหนา้ เสาธง และควรมขี น้ั ตอนการกลา่ วคำปฎิญญา
โรงเรียนสุจรติ หลังร้องเพลงชาตไิ ทยและการสวดมนต์ไหว้พระ ในขน้ั ตอนแรกก่อนการดำเนินกจิ กรรมอื่น
ๆ ภายในโรงเรียน

โรงเรียนสจุ ริตดำเนินการอยา่ งไร
โรงเรียนสุจรติ ทุกโรงเรยี น ตอ้ งดำเนนิ การกิจกรรมต่าง ๆ ตามที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษา

ขน้ั พืน้ ฐานกำหนดขึ้น สามารถศึกษาได้ตามหวั ข้อดังน้ี
๑. แผนภูมิการดำเนนิ งานโรงเรียนสุจริต
๒. การจัดทำคำสง่ั ผู้รับผดิ ชอบโครงการ
๓.จดั แผน/โครงการรองรับ
๔.จัดทำส่ัง ป.ป.ช.สพฐ.ชุมชน /ป.ป.ช.สพฐ.นอ้ ย
๕ การจดั ค่ายเยาวชน “คนดีของแผน่ ดิน”
๖. การรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรียนสุจรติ
๗. การจดั กจิ กรรมเพอื่ ให้เกิดคณุ ลกั ษณะท่กี ำหนด
๘.กจิ กรรมบรษิ ทั สร้างการดี
๙.งานวิจยั ๑๐๐๐ เร่อื ง

๑๘

๑๙

การจดั ทำคำส่งั
2.1 จัดทำคำส่ังผ้รู บั ผิดชอบในโรงเรยี น
โรงเรียนท่ีไดเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ดำเนนิ การจดั ทาคาส่ังแต่งต้ังผู้รับผิดชอบโครงการฯ ระดบั โรงเรียน เพอื่ ทำ
หน้าที่รบั ผิดชอบ และประสานงานระหวา่ งสานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน ให้ผ้ทู ่ีได้รบั การอบรมการดาเนนิ งานจากสานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้
พ้ืนฐาน ดำเนนิ การขยายผลแนวทางการดาเนนิ งานโครงการใหก้ ับครู นกั เรยี น และบคุ ลากรภายใน
โรงเรียน ใหม้ คี วามเขา้ ใจโครงการฯ รว่ มกนั
2.2 จัดทำคำสงั่ แต่งตงั้ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย
โรงเรียนท่ไี ด้เขา้ ร่วมโครงการฯ ดำเนนิ การจดั ทำคำสงั่ แต่งตง้ั อนกุ รรมการการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ ริตสำหรับนักเรียน (ป.ป.ช. สพฐ. น้อย) ดงั นี้
2.2.1 แตง่ ต้งั ป.ป.ช. สพฐ. น้อย โดยมีวาระ 1 ปกี ารศึกษา ตามขนาดของโรงเรยี น (แบ่งตาม
สพฐ.) โดยเป็นนักเรียนระดบั ช้ันใดก็ได้ ที่ไดม้ าโดยการเลอื กตงั้ หรอื สรรหามาจากนักเรียนที่มีคณุ ลักษณะ
สุจรติ 5 ประการ
โรงเรยี นขนาดเล็ก จำนวน 5 คน
โรงเรยี นขนาดกลาง จำนวน 10 คน
โรงเรยี นขนาดใหญ่ จำนวน 15 คน
2.2.2 ส่งคำสั่งแต่งตง้ั ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย มายงั สำนักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาและสำนกั งาน
คณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
2.2.3 โรงเรยี นประสานงานกบั สำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษา รว่ มกันดำเนินการจดั อบรม ป.ป.ช.
สพฐ. นอ้ ย เพ่ือให้ทราบบทบาทหนา้ ทขี่ องตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนินการโครงการไปยงั สำนักงาน
เขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน
หากอนุกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย พน้ สภาพการศึกษา หรอื หมดวาระ ใหโ้ รงเรยี นดาเนินการแต่งต้ังใหม่
และส่งคำส่งั ใหม่มายังสานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาและสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพน้ื ฐาน
บทบาทหนา้ ท่ีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. น้อย
1. กำหนดมาตรการและแนวทางการดำเนินการส่งเสรมิ ป้องกันและพฒั นาตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี น
สุจรติ
2. ปฏบิ ตั ิตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดตี ามคุณลกั ษณะของโรงเรียนสจุ ริต
3. สอดส่องดแู ลพฤติกรรมของนักเรียนท่ีไมพ่ ึงประสงค์ตามคุณลักษณะของโรงเรยี นสุจรติ
4. เปน็ ผูน้ ำในการสร้างเครือข่ายคณุ ลักษณะของโรงเรยี นสุจรติ ในการดำเนินการจดั กิจกรรมเพื่อป้องกนั
การทจุ รติ ต่อโรงเรยี นและชุมชน
5. ประสานความร่วมมอื ในการปฏบิ ตั ิงานระหวา่ งนักเรียน โรงเรียน ชมุ ชน และหนว่ ยงานท่ีเกยี่ วข้อง
6. สรรหา/คัดสรร ผ้ปู ระพฤติตนเป็นแบบอย่างท่ีดตี ามลกั ษณะของโรงเรียนสุจรติ
7. ยกยอ่ ง เชดิ ชเู กียรติบคุ คลท่เี ปน็ แบบอย่างทด่ี ตี ามคุณลักษณะของโรงเรียนสจุ รติ
8. ประชาสมั พันธ์การดำเนินงานโครงการโรงเรียนสุจริต
9. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านตอ่ ป.ป.ช. สพฐ. จังหวัด และหนว่ ยงานท่เี ก่ยี วข้อง

๒๐

2.3 จัดทำคำสัง่ แตง่ ต้งั ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน
โรงเรียนทไ่ี ด้เขา้ รว่ มโครงการฯ ดำเนนิ การจัดทำคำส่งั แต่งตง้ั อนุกรรมการการป้องกนั และปราบปรามการ
ทุจรติ สาหรับชุมชน (ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน) ดงั น้ี
2.3.1 แตง่ ต้งั ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน โดยมีวาระ 4 ปี ประกอบด้วยบุคลากร ระหว่าง 9 ถึง 15 คน โดยมา
จากผ้แู ทนต่างๆ ดังน้ี
- ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาและ/หรือผทู้ รงคุณวุฒทิ ี่เหมาะสม ประธานกรรมการ
- ผแู้ ทนองค์กรสว่ นทอ้ งถิน่ กรรมการ
- ผแู้ ทนองค์กรศาสนา กรรมการ
- ผู้แทนชมุ ชน กรรมการ
- ผแู้ ทนผู้ปกครอง กรรมการ
- ผแู้ ทนครู กรรมการ
- ผู้แทนศิษย์เก่า กรรมการ
- ผอู้ ำนวยการโรงเรียน กรรมการและเลขานุการ
2.3.2 สง่ คำส่งั แต่งตั้ง ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน มายังสำนกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
2.3.3 โรงเรยี นประสานงานกบั สำนักงานเขตพ้นื ทีก่ ารศึกษา ร่วมกันดำเนนิ การจดั อบรม ป.ป.ช. สพฐ.
ชมุ ชน เพ่อื ให้ทราบบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนินการโครงการไปยังสำนักงานเขต
พน้ื ที่การศกึ ษาและสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
หากอนุกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน สิน้ สภาพ (เสยี ชวี ติ ย้ายภมู ิลาเนา ลาออก หรอื หมดวาระ) หรือไม่
สามารถปฏิบตั หิ นา้ ท่ีได้ ใหโ้ รงเรยี นดำเนินการแต่งตง้ั ใหม่ และส่งคำส่ังใหม่ไปยังสำนกั งานเขตพน้ื ที่
การศึกษาและสานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
บทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน
1. กำหนดมาตรการและแนวทางการดาเนนิ การส่งเสริมป้องกันและพัฒนาตามคุณลักษณะของโรงเรยี น
สุจริตร่วมกับโรงเรียน
2. ปฏิบัติตนเป็นแบบอยา่ งที่ดตี ามคุณลักษณะของโรงเรียนสจุ รติ
3. ส่งเสรมิ และสนับสนุนการดาเนินการใหบ้ รรลุตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี นสุจรติ
4. สรา้ งเสริมทัศนคติ คา่ นยิ มและจัดกิจกรรมต่างๆ เพ่ือให้บรรลุตามคุณลกั ษณะของโรงเรียนสุจรติ
5. ใหค้ ำปรึกษาและข้อเสนอแนะการดำเนนิ งานตามคุณลกั ษณะของโรงเรยี นสุจรติ แบบมีสว่ นรว่ มของ
ชุมชน
6. สร้างเครอื ข่ายชมุ ชนในการขบั เคล่อื นโรงเรียนสจุ ริต
7. ยกย่อง เชิดชเู กียรตบิ ุคคลทเ่ี ป็นแบบอย่างทดี่ ีตามคุณลักษณะของโรงเรียนสุจริต
8. ประชาสมั พนั ธ์การดาเนินงานโครงการโรงเรียนสจุ ริต
9. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานต่อ ป.ป.ช. สพฐ. จงั หวัด และหน่วยงานท่เี กย่ี วข้อง

๒๑

3. การจัดค่ายเยาวชน “คนดีของแผน่ ดิน”

เปน็ กิจกรรมที่ส่งเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรมใหก้ บั นกั เรยี นโดยเน้นไปท่ีคุณลักษณะท่ีสำคญั ของ
โรงเรียนสุจริต 5 ประการ คือ ทักษะการคดิ มีวนิ ัย ซ่อื สตั ย์ สจุ ริต อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง และมจี ิตสาธารณะ ซง่ึ
ไดด้ ำเนนิ การในโรงเรยี นสจุ ริต ตัง้ แต่ปีงบประมาณ 2556 เป็นตน้ มา

โรงเรยี นในโครงการฯ จำเปน็ ต้องจัดกจิ กรรมการจดั ค่ายเยาวชน “คนดีของแผน่ ดนิ ” ให้กบั
นกั เรียนของตนเองตามเป้าหมายน้ี โดยบูรณากบั คา่ ยคณุ ธรรม ในแตล่ ะปงี บประมาณ

4. การรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นสุจรติ

โรงเรยี นทเี่ ข้ารว่ มโครงการต้องดำเนินกจิ กรรมการเรยี นรู้ ตลอดจนกิจกรรมตามมาตรฐานตาม
เกณฑโ์ รงเรียนสุจรติ และกิจกรรมอืน่ ๆ ทีโ่ รงเรียนไดด้ ำเนินการ และสนบั สนุน ส่งเสริม ปลกู ฝงั ป้องกนั ทำ
ให้เกดิ คุณลักษณะผเู้ รยี นท้งั 5 ประการ และให้โรงเรยี นรายงานผลการดาเนินงานตามไตรมาส ตามแบบ
รายงานที่ สพฐ. กำหนด (ภาคผนวก) ตามช่วงเวลาไตรมาส ดังนี้
ไตรมาสที่ 1 เดอื น มกราคม – เดือน มนี าคม
ไตรมาสท่ี 2 เดือน เมษายน – เดือน มิถนุ ายน
ไตรมาสที่ 3 เดือน กรกฎาคม – เดือน กันยายน
ไตรมาสที่ 4 เดอื น ตุลาคม – เดอื น ธันวาคม

นอกจากนโ้ี รงเรียนตอ้ งรายงานผลการประเมินคุณลักษณะ 5 ประการของผู้เรียน คือ ทักษะการ
คิด มีวนิ ัย ซ่อื สัตย์สุจริต อยู่อยา่ งพอเพยี ง และมีจิตสาธารณะ ตามแบบรายงาน ARS ที่สำนักงานเขตพน้ื ที่
การศึกษาสง่ ไปให้ปีละ 1 คร้ัง แลว้ สำนักงานเขตพืน้ ทสี่ ่งข้อมูลของโรงเรียนไปยังเวบ็ ไซต์ ของสำนักงาน
คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (กพร.) เพ่ือให้ผู้รับผดิ ชอบโครงการโรงเรียนสจุ ริตของสำนักงาน
คณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน เปน็ ผรู้ บั รองขอ้ มูล

5. การจัดกจิ กรรมเพ่อื ให้เกิดคุณลักษณะสจุ ริต

5.1 การจัดกิจกรรมการเรยี นการสอน

การจัดการเรยี นรใู้ นโรงเรียนสุจรติ มุ่งเนน้ การพัฒนาเด็กให้มคี ณุ ลักษณะที่พึงประสงคข์ องผ้เู รียน
ในศตวรรษที่ 21 การจดั การเรียนการสอนของโรงเรียนสุจริต ตอ้ งยึดหลกั การจัดการเรียนรู้ หลักการสอน
ทดี่ แี ละต้องสอนให้ผูเ้ รียนเกิดคณุ ลกั ษณะสุจริต 5 ประการ คอื ทักษะกระบวนการคดิ มีวนิ ัย ซอื่ สตั ยส์ จุ รติ
อยอู่ ยา่ งพอเพียง และมจี ิตสาธารณะ ซ่ึงการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรยี นเกดิ คุณลกั ษณะสจุ ริต ดังกลา่ ว
โครงการโรงเรยี นสจุ รติ ไดจ้ ัดทำแผนการจดั การเรียนรู้ ชนั้ อนุบาล 1 ถงึ ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 6 ไวใ้ ห้ครไู ด้
ศกึ ษาและใช้เปน็ แนวทางในการจัดการเรียนรู้แลว้ ( ตามเอกสาร / Website โรงเรียนสจุ ริต ) ครูผูส้ อนอาจ
จัดการเรียนการสอนโดยบรู ณาการ กับกลุ่มสาระการเรยี นรู้ท้ัง 8 กลุม่ สาระ หรอื บูรณาการกบั กิจกรรม
หรือ โครงการต่างๆ ที่โรงเรยี นดำเนินการอยู่ก็ได้ ตามบริบทของโรงเรียน

๒๒

การประเมนิ ผลการเรียนการสอน คุณลักษณะสจุ ริต 5 ประการ จากการสอนในแตล่ ะคร้ัง ผเู้ รียนอาจจะ
เกดิ คณุ ลักษณะสุจรติ ตวั ใดตัวหนง่ึ หรือเกดิ 2 หรือ 3 คุณลักษณะก็ได้ แตเ่ มื่อสอนครบทุกแผนจดั การ
เรียนรู้ ผู้เรยี นจะเกิดคุณลักษณะสจุ ริต 5 ประการ โดยครสู ามารถนำไปใช้เป็นส่วนหนึง่ ของการประเมนิ
คณุ ลักษณะทพ่ี ึ่งประสงค์ของผเู้ รยี นตามหลกั สตู รปฐมวัย 2546 และหลกั สตู รการศึกษาข้ันพนื้ ฐาน 2551
ได้ นอกจากน้ี ผูบ้ ริหาร ครู และศึกษานเิ ทศก์ สามารถจัดทำวิจยั โรงเรียนสจุ รติ ในการแกไ้ ขปัญหา หรอื
เพอ่ื พฒั นาโรงเรยี นสุจริต แล้วนำไปแลกเปลย่ี นเรยี นรู้ และเผยแพรต่ ่อสาธารณะชน และโรงเรียนสุจรติ
ด้วยกนั

5.2 Best Practice

จากผลการจัดการเรียนการสอน ที่มคี ุณภาพผูเ้ รยี นเกดิ คุณลกั ษณะสจุ รติ 5 ประการ ได้อย่างมี
ประสิทธภิ าพ ผูบ้ รหิ ารโรงเรยี น สามารถจดั ทำผลงานดีเดน่ ( Best Practice ) ที่เกิดจากการบรหิ ารจดั การ
โรงเรยี นสจุ ริต หรอื การนิเทศแนะนาชว่ ยเหลอื ครูให้ดำเนนิ งานบรรลุตามเป้าหมาย แลว้ นำมาแลกเปลย่ี น
เรียนรู้ เพอื่ เผยแพรใ่ หก้ ับโรงเรยี นสุจรติ ด้วยกัน

ครู สามารถนำกระบวนการ หรอื เทคนิควิธีการจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน มาจัดทำผลงานดีเดน่
เพอื่ ใชใ้ นการแลกเปลยี่ นเรียนรู้ เพือ่ เผยแพร่ให้กับครู และโรงเรียนสุจรติ ด้วยกัน
ศกึ ษานิเทศก์ สามารถจัดทำผลงานดีเด่น ทเี่ กิดจากการนิเทศแนะนำชว่ ยเหลอื ครูให้ดำเนินงานบรรลผุ ล
สำเร็จตามวตั ถปุ ระสงค์ และนำมาแลกเปล่ียนเรียนรู้

ผเู้ รียน เม่ือมีผลการดำเนินงานสง่ เสรมิ คณุ ลกั ษณะสุจรติ ได้ผลดี สามารถจัดทำผลงานดีเด่น เพื่อ
นำเสนอผลงานแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละเผยแพรต่ ่อสาธารณะชน และโรงเรียนสุจริต
จากการทส่ี านักงานคณะกรรมการสถานศกึ ษาข้นั พ้นื ฐานได้คัดเลอื กสถานศึกษาตน้ แบบ จานวน 225
โรงเรยี น เข้ารว่ มโครงการฯ โดยมงุ่ หวังให้ ผู้บรหิ าร ครู นักเรยี น เกิดคณุ ลักษณะทีส่ ำคัญ 5 ประการของ
โรงเรยี นสจุ รติ ซงึ่ จากการดาเนนิ งานมาเป็นระยะเวลา 2 ปี ได้ใช้แนวทางในการทจ่ี ะดาเนินงานให้บรรลุผล
สาเร็จ นน่ั คอื ผู้บริหาร ครู นักเรยี น ของโรงเรียนสุจรติ จะตอ้ งคน้ หาวธิ กี ารทางานท่ีดที ่ีสุดในการขับเคล่ือน
โครงการ ฯ โดยกำหนดเป็นแนวทางไว้ ดังน้ี

ผบู้ รหิ ารโรงเรียน : จดั ทำ คน้ หาวิธกี ารทำงานทีด่ ีท่สี ุดและคดั เลอื กเปน็ Best Practice จำนวน 1
เรือ่ ง

ครูผู้สอน 5 คน : จัดทำ ค้นหาวิธกี ารทางานทีด่ ีท่สี ุดและคัดเลอื กเป็น Best Practice จำนวน 5
เรื่อง

นกั เรียน 3 คน : จดั ทำ ค้นหาวธิ ีการทางานที่ดีทสี่ ุดและคัดเลอื กเป็น Best Practice จำนวน 1
เรอ่ื ง

ในแตล่ ะปี สำนกั งานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พนื้ ฐาน ได้จัดให้โรงเรยี น นำเสนอ Best
Practice ของผู้บริหาร ครู และนักเรียน เพื่อแลกเปลีย่ น เรียนรู้ ซึ่งส่งผลให้เกิดนวัตกรรมในการ
ดำเนินงานสู่เป้าหมายของโรงเรียนสุจริตท่หี ลากหลาย

ดังนนั้ โรงเรียนทร่ี ่วมโครงการเสริมสร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา ภายใต้
ชอ่ื โครงการ “โรงเรยี นสจุ ริต ” จะต้องขบั เคลอ่ื นโครงการโดยการส่งเสรมิ ใหผ้ ้รู ว่ มโครงการ ฯ ได้สรา้ ง
นวัตกรรมการดำเนนิ งานเพื่อใหผ้ ู้มสี ว่ นเกยี่ วขอ้ งไดเ้ กิดคณุ ลักษณะของโรงเรียนสุจริต

๒๓

๖.แนวทางการดำเนินกิจกรรมบริษัทสรา้ งการดี
เป็นกิจกรรมหนึ่งใน โครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิ าลใน

สถานศึกษา “ปอ้ งกนั การทจริต” (โครงการโรงเรียนสุจริต) เพ่ือป้อง ปลูกฝงั นักเรียน
ให้ตระหนัก รู้ เขา้ ใจ คิดอยา่ งมีเหตผุ ลเป็นคนเกง่ เรียนรู้ เป็นคนดซี ่ือตรง มกี ริยามารยาทกับการทำมาหา
กินสร้างชีวติ ให้รุ่งเรืองขึ้นได้ซึมซับคณุ ค่า แห่งการทำความดี สรา้ งความรู้สึกรบั ผิดชอบในบรบทิ ของสงคั ม
ไทยปัจจบุ ัน ปลกู ฝังค่านยิ มการไมท่ จุ รติ ให้กับเด็กนักเรยี น ให้มีจิตสำนึกของการมี คุณธรรมไมม่ ุ่งหวงั แต่
ผลประโยชน์สว่ นตน ซ่งึ จะสง่ ผลให้เยาวชนท่ผี า่ น กระบวนการ เปน็ นกั เรียนท่ีมคี ุณภาพเป็นประโยชน์ต่อ
การพฒั นาชาติ บา้ นเมอื งและมีความรกั ชาติในทางทีถ่ กู

กิจกรรมบริษัทสร้างการดีไม่ไ่ด้จดั แคใ่ ่นโรงเรียนเท่านั้นแต่หมายรวม ถึงคนรอบข้างของนกั เรียน
เพราะเมอื่ นักเรยี นกลับบ้านพรอ้ มคำสอนและแนวปฏบิ ัติท่ีดี นักเรยี นสามารถถา่ ยทอดใหค้ นในบ้านได้รับรู้
เป็นอกี แนวทางหนง่ึ โดยวิธีทางอ้อมเพราะความซ่ือสัตย ส์ ุจรติ เกิดข้ึนตง้ั แตก่ ารบ่ม เพาะในครอบครัวพ่อ
แมแ่ ละบุคคลในครอบครัวเป็นตวั อย่างโดยการดำเนิน ชีวิตตามหลักศีลธรรม ไมพ่ ดู ปด ไมห่ ลอกลวงให้เหน็
ถ้าเดก็ ๆ ไดร้ บั รู้ตงั้ แต่ตน้ จะได้แบบพิมพด์ ี่และย่ังยนื ผู้นำในสังคมต้องเป็นแบบอยา่ งมีสญั ลกั ษณ์ บคุ คลที่
ซ่อื สตั ย์สจุ รติ ท่ีสามารถสมั ผัส แตะต้องได้

๒๔

ภาคผนวก

๒๕

รายชื่อโรงเรยี นสุจริต สพป.สุรนิ ทร์ เขต 2

ท่ี โรงเรียน รุ่นท่ี หมายเหตุ
1 บา้ นท่าศลิ า(โรงเรียนตน้ แบบ) รุ่นท่ี 1 ท่าตูม

ที่ โรงเรียน รุ่นที่ หมายเหตุ
1 บา้ นตาฮะ รนุ่ ที่ 2 ทา่ ตมู
2 บา้ นไกลเสนยี ด รุ่นที่ 2 ทา่ ตมู
3 บา้ นหมากมี่ รุ่นท่ี 2 ท่าตูม
4 บ้านอาพดื รุ่นท่ี 2 โนนนารายณ์
5 บา้ นโพธห์ิ ้วย รุ่นที่ 2 ชุมพล
6 บ้านตาเพชร รนุ่ ท่ี 2 สนม
7 ปทมุ มาศวิทยา รนุ่ ที่ 2 รัตนบุรี
8 บา้ นหนองหลวง รนุ่ ที่ 2 โนนนารายณ์
9 บา้ นหนองอีดำ รนุ่ ท่ี 2 ท่าตูม
10 บ้านหนองบัวงาม รนุ่ ท่ี 2 โนนนารายณ์
11 บ้านนางเข็ม รนุ่ ที่ 2 รตั นบรุ ี
12 บา้ นโสมน รุ่นท่ี 2 ท่าตูม
13 บา้ นหนองบัวบาน(บัวบานวทิ ยาคม) รุ่นที่ 2 รตั นบรุ ี
14 บ้านโพนครก รนุ่ ท่ี 2 ทา่ ตูม
15 บา้ นผือ(ประชาพัฒนา) รุ่นที่ 2 รัตนบุรี
16 บา้ นปอหมนั รุ่นที่ 2 ทา่ ตูม
17 บ้านทบั น้อย รุ่นท่ี 2 รตั นบรุ ี
18 ไตรคามวิทยา รุ่นที่ 2 รตั นบุรี
19 ทา่ ตูม(สนทิ ราษฎร์วทิ ยาคม) รนุ่ ท่ี 2 ท่าตมู
20 บา้ นบอน(ทา่ วารีวทิ ยา) รุ่นที่ 2 รตั นบุรี
21 วัดบ้านน้ำคำ(สนง.สลากฯ) รุ่นที่ 2 ทา่ ตมู
22 บ้านหนองไมถ้ ี่ รุ่นท่ี 2 ทา่ ตมู
23 บา้ นภดู ิน รุ่นท่ี 2 ท่าตูม

๒๖

ท่ี โรงเรยี น รนุ่ ที่ หมายเหตุ
1 บ้านดนิ แดง(สีลาประชารฐั ) รนุ่ ท่ี 3 รตั นบรุ ี
2 บา้ นหนองกา “ประชารฐั พิทยา” รนุ่ ท่ี 3 รัตนบุรี
3 บ้านลำเพญิ รุ่นที่ 3 รัตนบุรี
4 บ้านแก “แกศึกษาพัฒนา” รุ่นที่ 3 รตั นบุรี
5 บา้ นหนองบวั นอ้ ย รนุ่ ที่ 3 รตั นบรุ ี
6 บา้ นม่วงบุญมี รนุ่ ที่ 3 รัตนบรุ ี
7 บา้ นดอนแรด(จินดาวิทยาคาร) รุ่นท่ี 3 รตั นบรุ ี
8 บ้านน้ำคำ รุ่นที่ 3 รัตนบรุ ี
9 บ้านน้ำสร้าง-นางเภา รนุ่ ที่ 3 รตั นบรุ ี
10 บา้ นเหลา่ ม่วงโนนตาล รนุ่ ท่ี 3 รัตนบรุ ี
11 บา้ นแขด้ ่อน-หนองบวั รนุ่ ที่ 3 รัตนบุรี
12 บ้านเบิด รนุ่ ท่ี 3 รตั นบุรี
13 บ้านคอนสวรรค์ รุ่นท่ี 3 รัตนบุรี
14 บ้านหนองกระทุงตากแดด รนุ่ ท่ี 3 รัตนบุรี
15 บ้านลุงปงุ รนุ่ ท่ี 3 ท่าตมู
16 บา้ นโพนทา รนุ่ ท่ี 3 ทา่ ตูม
17 บา้ นขเี้ หลก็ ร่นุ ท่ี 3 ท่าตมู
18 บ้านสะเองิ รุ่นท่ี 3 ทา่ ตมู
19 บ้านหนองแสง รุ่นที่ 3 ท่าตูม
20 ไตรคามสามัคคี รนุ่ ท่ี 3 ทา่ ตูม
21 บ้านศาลา รนุ่ ท่ี 3 ทา่ ตูม
22 บ้านตูม(อนุกลู ราษฎร์พัฒนา) รุ่นที่ 3 ท่าตูม
23 บ้านยางกระจบั รุ่นท่ี 3 ท่าตูม
24 บา้ นกดุ มะโน รุ่นท่ี 3 ทา่ ตูม
25 บา้ นหนองบวั มิตรภาพท่ี 85 รุ่นท่ี 3 ทา่ ตมู
26 สนมศึกษาคาร รนุ่ ท่ี 3 สนม
27 บ้านโพนดวน รนุ่ ท่ี 3 สนม
28 บา้ นโนนเซียง รุ่นที่ 3 สนม
29 บา้ นหนองขุนศรี ร่นุ ท่ี 3 สนม
30 บ้านแคนน้อย รนุ่ ท่ี 3 สนม
31 บา้ นหนองระฆัง รุ่นท่ี 3 สนม
32 บา้ นนาดี รุ่นที่ 3 สนม

๒๗

ที่ โรงเรียน รนุ่ ที่ หมายเหตุ
33 บา้ นผกั ไหม รนุ่ ท่ี 3 โนนนารายณ์
34 บ้านหนองเทพ รนุ่ ที่ 3 โนนนารายณ์
35 บา้ นหนองหวา้ รนุ่ ท่ี 3 โนนนารายณ์
36 บ้านระเวยี ง รนุ่ ท่ี 3 โนนนารายณ์
37 บา้ นโนน “โนนนยิ มศาสตร์” รนุ่ ท่ี 3 โนนนารายณ์
38 บา้ นเซียงซนิ -โนนดู่ รนุ่ ท่ี 3 โนนนารายณ์
39 บา้ นสำโรง(สำโรง) รุ่นท่ี 3 โนนนารายณ์
40 บ้านซาต(มงคลวทิ ยา) รนุ่ ที่ 3 โนนนารายณ์
41 บ้านโพนมว่ ง รุ่นที่ 3 ชุมพลบุรี
42 บา้ นหนองเรือ รุน่ ท่ี 3 ชมุ พลบุรี
43 บ้านตึกชุม รุ่นที่ 3 ชมุ พลบุรี
44 บ้านโคกสูง รนุ่ ท่ี 3 ชุมพลบุรี
45 บ้านโนนสัง ร่นุ ท่ี 3 ชุมพลบุรี
46 บา้ นขวาวโคง้ รนุ่ ที่ 3 ชุมพลบุรี

๒๘

ที่ โรงเรียน รุ่นท่ี หมายเหตุ
1 บา้ นน้ำเขียว รุ่นที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
2 ไทยรฐั วทิ ยา 15 (บา้ นโกสม้ ) รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
3 รตั นวิทยาคม รนุ่ ที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
4 อนบุ าลรัตนบรุ ี รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
5 บ้านหนองคู รนุ่ ที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
6 บา้ นอาจญา รุ่นท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
7 บา้ นขาม รุ่นที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
8 บ้านดู่ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
9 บา้ นสร้างบก รุ่นที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
10 บา้ นผือนอ้ ย รุ่นที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
11 บา้ นดงเปือย(มลู ศึกษาวิทยา) รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
12 บา้ นดงเค็ง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบรุ ี
13 บา้ นจาน รุ่นท่ี 4 อำเภอรัตนบรุ ี
14 บา้ นทัพโพธว์ิ ทิ ยา รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรตั นบรุ ี
15 บา้ นนาตนุ่ (สหราษฎรว์ ทิ ยา) รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรตั นบรุ ี
16 บา้ นหนองบวั ทอง รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบุรี
17 บ้านยาง รุ่นที่ 4 อำเภอรัตนบรุ ี
18 บ้านหม่วงหมาก รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
19 บ้านธาต”ุ ธาตุศกึ ษาวิทยา” รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
20 บ้านขะยงู รนุ่ ที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
21 บ้านโนนจำปา รุ่นท่ี 4 อำเภอรตั นบรุ ี
22 บ้านแต้-หนองบก รนุ่ ที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
23 บ้านหาญฮี รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรตั นบรุ ี
24 บ้านบึง-ยางประชาสรรค์ รนุ่ ที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
25 บ้านหนองหนิ รุ่นท่ี 4 อำเภอรตั นบรุ ี
26 บ้านหนองตอ-บวั เสยี ว รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
27 บ้านโนนทราย รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
28 บา้ นส่เี หลย่ี ม รุ่นท่ี 4 อำเภอรัตนบรุ ี
29 บา้ นไผ่(วันตรู 2503) รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
30 บ้านนาอดุ ม รุ่นที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
31 บา้ นนาวอง รุน่ ที่ 4 อำเภอรัตนบุรี
32 บ้านหนองผือ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอรัตนบุรี
33 บ้านช่องยางชุม รนุ่ ที่ 4 อำเภอรตั นบรุ ี
34 บ้านปราสาท รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตูม

๒๙

35 บา้ นบัลลงั กพ์ งสวาย รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
36 บา้ นโพนงอย รนุ่ ท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
37 บา้ นมว่ งมลู รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตมู

38 บ้านตานบ รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
39 บ้านพรหมเทพ(พรหมเทพราษฎร์ รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
บำรุง) อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
40 บา้ นหัวพี รนุ่ ท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
41 บา้ นเหลา รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
42 บา้ นสาโรช รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
43 บา้ นชายท่งุ รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
44 บ้านโพนขวาว รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตมู
อำเภอท่าตมู
45 บา้ นสำโรง รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
46 บา้ นโนนระเวียง รุน่ ที่ 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
47 บา้ นนำ้ อ้อม รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
48 บา้ นบวั โคก รุ่นที่ 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
49 บ้านธรรมษา รนุ่ ท่ี 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
50 บา้ นจันทรง์ าม รนุ่ ที่ 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตมู
51 บ้านพงิ พวย รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตูม
อำเภอท่าตูม
52 บ้านหนองคนู ้อย รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู

53 บ้านหนองตาด รุ่นที่ 4

54 บ้านเมืองแก รนุ่ ท่ี 4

55 บา้ นหนองแวง รนุ่ ท่ี 4

56 บา้ นบผุ าง รนุ่ ที่ 4

57 บา้ นทงุ่ โก รนุ่ ที่ 4

58 บา้ นหนองคูใหญ่ รนุ่ ท่ี 4

59 บา้ นหนองยาง(ธนาคารกรุงเทพ10) รุ่นที่ 4

60 บ้านนานวล รนุ่ ท่ี 4

61 บ้านกระโพ(กระโพราษฎรว์ ทิ ยาคาร) รนุ่ ท่ี 4

62 บา้ นตาทิพย์ รนุ่ ที่ 4

63 บา้ นบะ รนุ่ ท่ี 4

64 บา้ นตระมูง รุ่นที่ 4

65 บ้านบอน รนุ่ ท่ี 4

66 บ้านอาคูณ รนุ่ ท่ี 4

67 บ้านโคกกงุ รุ่นที่ 4

68 บ้านตากลาง รุ่นที่ 4

69 บ้านบวั รนุ่ ที่ 4

70 บา้ นโนนโพ รนุ่ ที่ 4

๓๐

71 บา้ นหนองบงึ รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู
72 บา้ นเฉนยี ง รุ่นที่ 4 อำเภอท่าตมู
73 บ้านโนนสงู รุ่นท่ี 4 อำเภอท่าตมู

74 บา้ งปรึง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอท่าตมู
75 บ้านศรีณรงค์ รุ่นที่ 4 อำเภอชมุ พล
76 บ้านกระเบ้ืองใหญ่ รุ่นท่ี 4 อำเภอชมุ พล
77 อนบุ าลชุมพล รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
78 บา้ นชมุ พลบรุ ี รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
79 บา้ นระหาร รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
80 บา้ นแคนดำ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
81 บา้ นสวนหมอ่ น รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
82 โพนทองพทิ ยาคม รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
83 บ้านเบงท่าลาด รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
84 บา้ นสนวนโคกเม็ก รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
85 บา้ นหวั นาดำ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
86 บา้ นหนองพมิ าน รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
87 บา้ นขนุ หาญ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
88 บา้ นทพิ ย์เนตร รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
89 บ้านตลุงโนนกอก ร่นุ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
90 บ้านยางบภ่ ิรมย์ รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
91 บ้านไพรขลา รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
92 บ้านขามโพนทนั รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
93 บา้ นยางขามเฒ่า รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
94 บ้านขนุ ไชยทอง รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
95 บ้านดูน่ าหนองไผ่ รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
96 บ้านกระสัง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
97 บา้ นทพิ ยน์ วด รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
98 บา้ นกระเบื้อง รนุ่ ที่ 4 อำเภอชมุ พล
99 บา้ นยะวึก(ผจงราษฎร์วิทยาคาร) รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
100 บา้ นอ้อตลิ่งชนั รุ่นท่ี 4 อำเภอชมุ พล
101 ชุมชนบา้ นซาด รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
102 บา้ นสระขุดสำราญวทิ ยา รุ่นที่ 4 อำเภอชมุ พล
103 บ้านต้งั ใจ รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
104 บ้านสายสนอง รุ่นที่ 4 อำเภอชุมพล
105 บ้านม่วงนอ้ ย รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
106 บ้านเมืองไผ่กระท่ม รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชมุ พล
107 บ้านกระทะ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล

๓๑

108 บา้ นบุตาโสม รุ่นท่ี 4 อำเภอชุมพล
109 บา้ นยางบอ่ อี รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
110 บา้ นข้เี หล็กโนนจาน รุ่นท่ี 4 อำเภอชมุ พล
111 บา้ นสามคั คีศึกษา รุ่นที่ 4 อำเภอชมุ พล
112 บ้านงิว้ รนุ่ ที่ 4 อำเภอชมุ พล
113 บ้านแสนสขุ รนุ่ ท่ี 4 อำเภอชุมพล
114 บ้านหนองอยี อ รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
115 บ้านเป้า รนุ่ ท่ี 4 อำเภอสนม
116 บ้านโนนเปอื ย รนุ่ ที่ 4 อำเภอสนม
117 บา้ นโพนโก รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
118 บ้านทพั ไทย รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
119 บ้านนาศรสี ขุ ”ศรีสุขศึกษาคาร” รุ่นท่ี 4 อำเภอสนม
120 บ้านสำโรง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอสนม
121 บา้ นโสกแดง รนุ่ ที่ 4 อำเภอสนม
122 วดั บงึ บ้านสนม รนุ่ ที่ 4 อำเภอสนม
123 บา้ นอาเลา รนุ่ ที่ 4 อำเภอสนม
124 บ้านหนองบวั แดง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอสนม
125 บา้ นหนองครก รนุ่ ท่ี 4 อำเภอสนม
126 บ้านแคน(คุรุราษฎร์สง่ เสริม) รนุ่ ท่ี 4 อำเภอสนม
127 บ้านนายม”นยิ มศึกษาวิทยา” รุ่นท่ี 4 อำเภอสนม
128 บา้ นสร้างแก้ว รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
129 บา้ นนานวน รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
130 บา้ นหวั นา รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
131 บ้านหวั งัว”แท่นศลิ าวทิ ยา” รนุ่ ที่ 4 อำเภอสนม
132 บา้ นผาแดงวิทยา ร่นุ ที่ 4 อำเภอสนม
133 บา้ นโนนจาน รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
134 บา้ นกาพระ รุ่นท่ี 4 อำเภอสนม
135 บา้ นสะทดื รุ่นที่ 4 อำเภอสนม
136 บา้ นคำผง รุน่ ท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
137 โนนนารายณ์วิทยา รนุ่ ที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์
138 บ้านขมุ ดิน รุ่นท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
139 บ้านม่วงหนองตาด รนุ่ ท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
140 บ้านขี้เหลก็ ”คุรุราษฎรน์ ุกลู ” รุ่นที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์
141 บ้านหนองไม้งาม รุ่นท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
142 บ้านผำ รุ่นที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์
143 บ้านหนองแวง รนุ่ ท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
144 บ้านคอ้ รุ่นที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์

๓๒

145 บา้ นก้านเหลือง ร่นุ ท่ี 4 อำเภอโนนนารายณ์
146 บา้ นม่วงหวาน รุน่ ที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์
147 บา้ นอโี สดหนองผาง รนุ่ ที่ 4 อำเภอโนนนารายณ์
178 บ้านสำโรง รนุ่ ที่ 4 อำเภอชมุ พลบรุ ี
149 บา้ นยางชุม ร่นุ ท่ี 4 อำเภอชมุ พลบรุ ี

๓๓

กจิ กรรมทโี่ รงเรียนจะต้องดำเนนิ การ

กิจกรรม เป้าหมาย ตัวชว้ี ดั
มีโครงการเสรมิ สร้างฯ
๑.โครงการเสริมสร้างฯ - ทกุ โรงเรียน - คำส่ังผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการ
- คำส่งั ปปช.สพฐ.น้อย
๒.จดั ทำคำสง่ั -ทุกโรงเรยี น - คำสง่ั ปปช.สพฐ.ชุมนุม
การจดั กิจกรรมบรษิ ทั สร้างการดี โรงเรยี นละ
๓.บรษิ ัทสร้างการดี - โรงเรยี นเครือข่าย ๑ บรษิ ัท ๑ บริษัท
จำนวน ๒๐ % โรงเรยี นละ 2 คน ครู 1 คน

๔.คา่ ยเยาวชน “ คนดี ทุกโรงเรียน แผนนิเทศ
ของแผน่ ดิน”
โรงเรียนไตรคามวิทยาไดร้ บั
๕. การนเิ ทศ กำกับ โรงเรียนสจุ รติ ทกุ โรงเรียน การประเมิน ITA ขอ
ตดิ ตามโรงเรียนสุจริต โรงเรียน สพฐ. ใสสะอาด
ปราศจากคอรปั ชนั
๖.การประเมนิ ITA โรงเรียนไตรคามวิทยา โรงเรยี นจดั กจิ กรรมการสร้างสำนึกพลเมืองการ
ของโรงเรยี น สพฐ. ใส สร้างสำนึกพลเมือง
สะอาด ปราศจาก กจิ กรรมถอดบทเรียน ๒๓ โรงเรยี น
คอรปั ชัน
ภาพยนตร์สั้น โรง 1 เร่อื ง
๗. การสรา้ งสำนกึ โรงเรียนบ้านทา่ ศิลา
พลเมือง ครูทกุ โรงเรยี นเข้ารับการอบรม

๘. การถอดบทเรยี น ผูบ้ ริหาร ครู นกั เรยี น โรงเรยี น ผูร้ บั ผิดชอบ
เครือข่ายโรงเรียน๑๐ %

๙. กิจกรรมการผลิต โรงเรียน ๑๐ %
สื่อภาพยนตร์ส้นั

๑๐ การพฒั นาครู ทุกโรงเรียน
ผูร้ ับผดิ ชอบโครงการ
โรงเรยี นสจุ รติ

๑๑. คา่ ใชจ้ า่ ยในการ ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ
เดนิ ทางพฒั นากบั
สพฐ.และหนว่ ยงานอื่น

๓๔

๓๕

บรรณานกุ รม
สำนักเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต ๒ .แนวการดำเนนิ งานโครงการเสริมสรา้ ง

คุณธรรม จริยธรรมและธรรมภบิ าลในสถานศึกษา “ โรงเรียนสจุ รติ ”ประจำปี
การศึกษา ๒๕๕๗. เอกสารสำเนา
สำนักพฒั นานวตั กรรมการจดั การศกึ ษา . คมู่ ือแนวทางดำเนนิ งานโรงเรียนสจุ รติ .

๓๖

คณะทำงานจดั ทำเอกสาร

ท่ีปรึกษา
นายณรงคศ์ ักดิ์ เหมือนชาติ
ผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต ๒
นายประเสรฐิ ศกั ด์ิ เหนิ ไธสง

คณะทำงาน

นายสุภพ ไชยทอง ผอู้ ำนวยการกล่มุ นิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา

นางอมรรตั น์ ศรีวิเศษ ศึกษานิเทศก์

นายณัฏฐยชญ์ บญุ สด ศึกษานเิ ทศก์

นายกุญช์พสิ ิฏฐ์ คงนุรัตน์ ศึกษานิเทศก์

นายสทุ ี ชงิ ชนะ ศกึ ษานเิ ทศก์

นางปทมุ มาศ ขาวมะเริง ศกึ ษานเิ ทศก์

นางกรรณกิ าร์ รัตนวงกต ศกึ ษานิเทศก์

นางสภุ ัคร พุทธานุ ศึกษานิเทศก์

นางจริ ชั ยา กินไธสง ศึกษานเิ ทศก์


Click to View FlipBook Version