The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่ม 2 การกำหนด มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่ม 2 การกำหนด มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษ

เล่ม 2 การกำหนด มาตรฐานการศึกษา ของสถานศึกษ

มาตรฐานกกาารรกศำาึกหษนดา

ของสถานศกึ ษา

สาำ นกั ทดสอบทางการศึกษา

ส�ำ นกั ง�นคณะกรรมก�รก�รศึกษ�ขั้นพน้ื ฐ�น 77

กระทรวงศกึ ษ�ธกิ �ร การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษา
ของสถานศกึ ษา

ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน

การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๖๔-๐๗๖-๓
ปีท่พี มิ พ ์ : พ.ศ.๒๕๖๓
จำ� นวนพิมพ์ : ๑,๐๐๐ เล่ม
จดั พมิ พโ์ ดย : ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา
สำ� นกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พื้นฐาน
กระทรวงศกึ ษาธิการ
ลขิ สทิ ธเ์ิ ปน็ ของ : สำ� นักทดสอบทางการศึกษา
สำ� นักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พ้ืนฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
โทรศัพท์ : ๐-๒๒๘๘-๕๗๕๗-๘
โทรสาร : ๐-๒๖๒๘-๕๘๖๒
เว็ปไซต์ : http://bet.obec.go.th
พมิ พท์ ่ี : หา้ งหุ้นสว่ นจ�ำกดั   เอ็น.เอ.รัตนะเทรดด้งิ  
ทีอ่ ยู่ ๑๓/๑๔ ม.๕ แขวงบางดว้ น เขตภาษเี จรญิ กทม. ๑๐๑๖๐
โทร.๐๘๑-๗๓๒-๔๒๔๖

ค�ำน�ำ

กระทรวงศึกษาธิการ มีการปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษา โดยมีการปรับปรุงมาตรฐานและประเด็นพิจารณา
ให้สะท้อนถึงคุณภาพอย่างแท้จริง ก�ำหนดเกณฑ์และรายการประเมิน
แบบองค์รวม (Holistic Assessment) ซึ่งเป็นการประเมนิ โดยใชข้ ้อมลู เชงิ ประจักษ์
(Evidence Based) ลดภาระการจัดท�ำเอกสารท่ีใช้ในการประเมิน ยึดหลัก
การตัดสินระดับคุณภาพตามหลักการตัดสินโดยอาศัยความเชี่ยวชาญ
(Expert Judgment) ของผู้ประเมิน และใช้การตรวจทานผลการประเมิน
โดยคณะกรรมการประเมินในระดับเดยี วกนั (Peer Review) ปรบั กระบวนทศั น์
ในการประเมินท่ีมีเป้าหมายเพ่ือการพัฒนาบนพ้ืนฐานบริบทของสถานศึกษา
มีการประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการปรบั ปรุงระบบ หลกั เกณฑ์ และวิธีการประกนั คุณภาพการศึกษาเพื่อใหม้ ี
กลไกการปฏิบัติท่ีเอ้ือต่อการด�ำเนินการตามมาตรฐานการศึกษา ของแต่ละระดับ
และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา และประกาศใช้
มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับ
การศึกษาขั้นพ้ืนฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ ประกาศ ณ วันท่ี ๖ สิงหาคม
พ.ศ. ๒๕๖๑ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับสถานศึกษา หน่วยงาน
ต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาทั้งประถมศึกษาและมัธยมศึกษา
ในการพัฒนา ส่งเสริม สนับสนุน ก�ำกับดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษา



การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ดังนั้น เพ่ือเป็นการส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาระบบการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้มีความเข้มแข็งตามกฎกระทรวง
การประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา
ขั้นพื้นฐาน จึงได้จัดท�ำคู่มือชุดนี้ข้ึน เพื่อให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา
สามารถใช้เป็นแนวทางในการส่งเสรมิ สนับสนุน นิเทศ ติดตาม และช่วยเหลือ
สถานศึกษาในการด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา และสถานศึกษา
สามารถใช้เป็นแนวทางในการด�ำเนินงานการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศกึ ษา และเตรยี มความพรอ้ มสำ� หรับการประเมนิ คุณภาพภายนอกตอ่ ไป
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน ขอขอบคุณผู้บริหาร
ครู อาจารย์ ศึกษานิเทศก์ และผู้ทรงคุณวุฒิทุกท่านที่มีส่วนร่วมในการจัดท�ำ
คู่มอื ชุดน้ีใหส้ มบูรณ์ และหวงั ว่าสถานศกึ ษาทุกสังกดั ท่จี ัดการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
จะได้รับประโยชน์จากคู่มือชุดนี้ ใช้คู่มือชุดน้ีเป็นแนวทางในการพัฒนาระบบ
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาให้มีคุณภาพ บรรลุตามเป้าหมาย
ทก่ี ำ� หนดไวไ้ ดอ้ ย่างย่ังยืน

(นายอ�ำนาจ วชิ ยานุวตั )ิ
เลขาธิการคณะกรรมการการศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน



การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ค�ำช้แี จง

หลังจากกระทรวงศึกษาธิการได้ออกกฎกระทรวงการประกันคุณภาพ
การศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายปฏิรูประบบการประเมินและการประกัน
คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา และประกาศมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ศูนย์การศึกษาพเิ ศษ พ.ศ. ๒๕๖๑ ส�ำหรบั ใหส้ ถานศึกษาใช้เป็นแนวทางด�ำเนนิ งาน
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา และเตรียมการส�ำหรับ
การประเมินคุณภาพภายนอก ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงได้
จัดท�ำคู่มือ ส�ำหรับให้ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาและสถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปฏิบัติเพ่ือการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายใน
ของสถานศึกษาใหเ้ ข้มแขง็
โดยคู่มือนี้ มีจ�ำนวน ๕ เล่ม มีเน้ือหาสาระครอบคลุมรายละเอียด
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ซึ่งน�ำเสนอ
หลักการ เหตุผล แนวคิด และกรณีตัวอย่างเก่ียวกับการพัฒนาตามระบบ
การประกนั คุณภาพภายในของสถานศกึ ษา ดังนี้

เล่มที่ ชื่อเอกสาร สาระสำ� คญั

๑ แนวทางการพัฒนาระบบ แนวคิดและหลักการเก่ียวกับการประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพ การศึกษา แนวทางการพัฒนาระบบการประกัน
การศึกษาตามกฎ คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา และกรณี
กระทรวงการประกนั ศึกษาเกี่ยวกับรูปแบบและแนวทางการพัฒนา
คุณภาพการศกึ ษา ระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายใน
พ.ศ. ๒๕๖๑ สถานศึกษาใหเ้ ขม้ แข็ง



การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

เลม่ ท่ี ช่อื เอกสาร สาระสำ� คญั

๒ การก�ำหนดมาตรฐาน แนวคิด หลักการ แนวทางการก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา การศึกษาของสถานศึกษา และตัวอย่าง
การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

๓ การจัดทำ� แผนพฒั นา แนวคิด หลกั การ ความสำ� คญั กระบวนการจัดท�ำ
การจดั การศึกษา และตัวอย่างของแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษา ของสถานศึกษาและแผนปฏิบัติการประจ�ำปี
(Action Plan)

๔ การจดั ท�ำรายงาน หลักการเขียนรายงานผลการประเมินตนเอง
ผลการประเมนิ ตนเอง ข้นั ตอน โครงสร้าง และตวั อย่าง การจัดท�ำรายงาน
ของสถานศึกษา ประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา

๕ การเตรียมความพรอ้ ม ความหมาย หลักการ แนวคิดและวัตถุประสงค์
ของสถานศึกษาเพอ่ื รับ ของการประเมินคุณภาพภายนอก การเตรียม
การประเมนิ คุณภาพ ความพร้อมของสถานศึกษาเพ่ือรับการประเมินคุณภาพ
ภายนอก ภายนอก และตัวอย่างแนวทางการเตรียมข้อมูล/
ร่องรอยหลกั ฐานเชิงประจักษ์



การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

สารบัญ

ค�ำนำ� ก
ค�ำชีแ้ จง ค
สารบญั จ
ตอนที่ ๑ บทน�ำ ๓

ตอนท่ี ๒ แนวคดิ และหลักการการกำ� หนดมาตรฐานการศกึ ษา ๙
ของสถานศกึ ษา ๙
l ความหมายของมาตรฐานการศกึ ษา ๑๐
l ความส�ำคัญของมาตรฐานการศกึ ษา ๑๑
l ประโยชนข์ องมาตรฐานการศึกษา

ตอนท่ี ๓ แนวทางการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๑๕
l การกำ� หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา ๑๖
l แนวทางการกำ� หนดเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา ๑๙

ตอนที่ ๔ กรณตี วั อยา่ งการกำ� หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา ๓๑
บรรณานุกรม ๕๑
ภาคผนวก ๕๓
คณะท�ำงาน ๗๓



การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา



๑ตอนที่
บทนำ�



๑ตอนท่ี
บทนำ�

กฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓ ก�ำหนดไวว้ า่
“ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษาภายในของ
สถานศึกษา โดยการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับ และประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรีว่าการ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศไว้ พร้อมทั้งก�ำหนดให้สถานศึกษาจัดท�ำ
แผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งเน้นคุณภาพตามมาตรฐาน
การศึกษาและด�ำเนินการตามแผนที่ก�ำหนดไว้ จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบ
คุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา ติดตามผลการด�ำเนินการเพ่ือพัฒนา
สถานศึกษาให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผล
การประเมินตนเองให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแล
สถานศึกษาเปน็ ประจ�ำทุกปี
เพื่อให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา
ตามวรรคหน่ึงเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงาน
ท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษาท�ำหน้าที่ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ และแนะน�ำสถานศึกษา
เพ่ือใหก้ ารประกันคณุ ภาพการศกึ ษาของสถานศึกษาพัฒนาอย่างตอ่ เน่ือง”
จากแนวทางที่ให้สถานศึกษาด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษา
ตามกฎกระทรวงดังกล่าว จะเห็นว่าเป็นการวางระบบการท�ำงานอย่างเป็น
ขน้ั ตอน (วงจร PDCA) ๔ ข้นั ตอน ดงั แสดงในแผนภาพท่ี ๑

3

การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

จากแนวทางที่ให้สถานศึกษาดําเนนิ การประกันคุณภาพการศึกษาตามกฎกระทรวงดังกล่าว จะเห็นว่า
เปน็ การวางระบบการทํางานอย่างเปน็ ขนั้ ตอน (วงจร PDCA) ๔ ข้ันตอน ดังนี้

แผนภาพทแ่ี ผ๑นภราะพบที่บ๑กราะบรบปกราะรปกรันะคกนัณุ คุณภภาาพพภภาายยใในนขอขงอสถงาสนถศาึกนษาศึกษา
จากแผนภาพดงั กล่าว สามารถอธิบายได้ดังนี้ การกาํ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
การวางแผน : การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษา เริ่มจากการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
โดยสถานศึกษาก�ำหนดมาตรฐานและเป้าหมายความส�ำเร็จตามบริบทของ
สถานศึกษา อาทิ เน้นการเป็นผู้น�ำด้านวิชาการ การให้ผู้เรียนมีอาชีพ
ตามความฝัน การพัฒนาให้ผู้เรียนมีความสามารถรอบด้าน การส่งเสริม
และพฒั นาอาชพี ของท้องถ่ิน การเน้นความเปน็ เลศิ ดา้ นวิทยาศาสตร์ หรือภาษา
ต่างประเทศ เป็นต้น ท้ังน้ี มาตรฐานและเป้าหมายความส�ำเร็จควรระบุให้เป็น

4

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

รูปธรรมชัดเจน สอดคล้องกบั วิสยั ทศั น์ พนั ธกจิ รวมท้ังอตั ลักษณ์และเอกลักษณ์
ของสถานศึกษา สถานศึกษาอาจเพ่ิมเติมมาตรฐานการศึกษาและเป้าหมาย
ความสำ� เร็จท่ีท้าทาย แผนพัฒนาการจดั การศกึ ษาของสถานศึกษาในแต่ละรอบปี
ต้องมีโครงการ/กิจกรรมที่เชื่อมโยงไปสู่เป้าหมายความส�ำเร็จตามมาตรฐาน
การศึกษาท่ีก�ำหนดไว้ ช่วงระยะเวลาด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมตามแผนขึ้นอยู่
กบั ความเหมาะสมตามบรบิ ทของสถานศึกษา ท้งั นี้ แผนพัฒนาการจัดการศกึ ษา
ของสถานศึกษาต้องผ่านการระดมความคิดจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และควรมี
การวิเคราะห์เชิงกลยุทธ์อย่างรอบด้านและรอบคอบ โดยอาจใช้วิธี SWOT
Analysis, Balanced Scorecard หรอื วธิ ีการอน่ื ๆ ทเ่ี หมาะสม
การดำ� เนนิ การ : สถานศกึ ษาดำ� เนนิ การตามแผนพฒั นาการจดั การศกึ ษา
ของสถานศึกษาที่ก�ำหนดไว้
การตรวจสอบ : ขณะด�ำเนินการตามแผนที่ก�ำหนดไว้ สถานศึกษา
ควรมีการตรวจสอบ ติดตามผลการด�ำเนินงานเป็นระยะ ๆ เพ่ือปรับปรุงและ
แก้ไขปัญหาท่ีเกิดข้ึน ประเมินผลการด�ำเนินงานเม่ือจบโครงการ รวบรวมข้อมูล
สารสนเทศจากผลการด�ำเนินงานเพื่อน�ำไปจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง
การตรวจสอบและติดตามการด�ำเนินโครงการ/กิจกรรมช่วยให้งานบรรลุเป้าหมาย
ความส�ำเร็จ ส่งผลให้เกิดคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาตามที่สถานศึกษา
ก�ำหนดไว้
การปรับปรุงพัฒนา : เม่ือสิ้นปีการศึกษา สถานศึกษาประเมินผล สรุป
และจัดท�ำรายงานผลการประเมินตนเอง จัดส่งให้แก่หน่วยงานต้นสังกัดหรือ
หน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษาเป็นประจ�ำทุกปี โดยสถานศึกษาใช้ข้อมูลจาก
รายงานผลการประเมินตนเองเป็นสารสนเทศในการพัฒนาสถานศึกษาในปีการศึกษา
ถดั ไป สว่ นหนว่ ยงานตน้ สังกัดหรอื หนว่ ยงานท่กี ำ� กบั ดูแลสถานศึกษาจะนำ� ข้อมูล

5

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

และสารสนเทศจากรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาไปสังเคราะห์
สรุปประเด็นส�ำคัญเพ่ือการพัฒนาและส่งให้ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ
คุณภาพการศกึ ษา (องค์การมหาชน) เพ่อื เตรยี มรบั การประเมินคุณภาพภายนอก
ตอ่ ไป
การด�ำเนินงานทั้ง ๔ ข้ันตอน มีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันเป็นวงจร
โดยมีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาเป็นเป้าหมาย ในการขับเคลื่อน
การพัฒนาคุณภาพการศึกษาในสถานศึกษา ผู้มีบทบาทส�ำคัญ คือ ผู้บริหาร
สถานศึกษา ซ่ึงจะเป็นผู้ผลักดันให้บุคลากรในสถานศึกษา คณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และชุมชนมีส่วนร่วมในการก�ำหนดทิศทางการท�ำงาน
ตลอดทั้งสนับสนุน ส่งเสริม ให้ก�ำลังใจผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายให้ปฏิบัติงาน
อย่างมีประสทิ ธภิ าพและเกดิ ประสิทธผิ ลอยา่ งเตม็ ที่

6

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๒ตอนท่ี

แนวคิดและหลกั การการกำ�หนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา



๒ตอนที่

แนวคดิ และหลักการการกำ�หนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา

การด�ำเนินการตามระบบการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา
เป็นเร่ืองจ�ำเป็นในการพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาท่ีผู้บริหารสถานศึกษา
ครู และผู้มีส่วนเกี่ยวข้องในการจัดการศึกษาต้องมีความรู้ความเข้าใจ แนวคิด
และหลักการพื้นฐานเกี่ยวกับมาตรฐานการศึกษา ความหมาย ความส�ำคัญ
แนวคิดและประโยชน์ของมาตรฐานการศึกษา รายละเอียดและความสัมพันธ์
ของมาตรฐานการศึกษาระดับต่าง ๆ แนวทางและขั้นตอนการจัดท�ำมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา การประยุกต์แนวคดิ สูก่ ารปฏิบัติ ซ่งึ จะเปน็ ประโยชน์
ต่อผู้บริหารสถานศึกษา ครู หรือผู้มีส่วนเก่ียวข้องในการก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษาที่สอดคล้องกับความต้องการจ�ำเป็นและบริบท
ของสถานศึกษา
ความหมายของมาตรฐานการศึกษา
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ให้นิยามมาตรฐาน
การศึกษาว่า เป็นข้อก�ำหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ คุณภาพท่ีพึงประสงค์ และ
มาตรฐานที่ต้องการให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาทุกแห่ง และเพื่อใช้เป็นหลักในการ
เทียบเคียงส�ำหรับการส่งเสริมและก�ำกับดูแล การตรวจสอบ การประเมินผล
และการประกันคุณภาพทางการศึกษา โดยให้แนวทางการจัดการศึกษาไว้ว่า
การจัดการศึกษาต้องยึดหลักว่าผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนา
ตนเองได้ และถือว่าผู้เรียนมีความส�ำคัญท่ีสุด กระบวนการจัดการศึกษา

9

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

ต้องส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถพัฒนาตามธรรมชาติและเต็มตามศักยภาพ
เนน้ ความส�ำคญั ท้ังความรู้ คุณธรรม กระบวนการเรยี นรู้ และบูรณาการตามความ
เหมาะสม ให้สถานศึกษาพัฒนากระบวนการเรียนการสอนท่ีมีประสิทธิภาพ
รวมทั้งการส่งเสริมให้ผู้สอนสามารถวิจัยเพ่ือพัฒนาการเรียนรู้ท่ีเหมาะสมกับ
ผู้เรียนในแต่ละระดับการศึกษา ดังนั้น มาตรฐานการศึกษาส�ำคัญที่ต้องการ
ให้เกิดข้ึนในสถานศึกษาจึงเก่ียวข้องกับปัจจัย กระบวนการ และผลผลิตจาก
การจัดการศึกษา เพ่ือการก�ำกับ ติดตาม ดูแล ตรวจสอบ และประกันคุณภาพ
ของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาจึงไม่ได้หมายถึงคุณภาพด้านใดด้านหนึ่ง
เท่านั้น แต่หมายความรวมถึงผลผลิตทางการศึกษาที่เกิดกับตัวผู้เรียนรอบด้าน
กระบวนการจดั การเรยี นการสอนของครู และกระบวนการบรหิ ารจดั การศึกษา
ความส�ำคญั ของมาตรฐานการศกึ ษา
ผลจากการปฏิรูปการศึกษาท่ีผ่านมาท�ำให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ
จัดการศึกษามากข้ึน ทั้งทางตรงในรูปแบบของคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน
และทางอ้อมในรูปแบบของสมาคมผู้ปกครอง ศิษย์เก่า หน่วยงานองค์กรภาครัฐ
ภาคเอกชน รวมทั้งสถานประกอบการต่าง ๆ สิ่งท่ีเห็นได้ชัดคือสถานศึกษา
เป็นผู้จัดท�ำหลักสูตรเพ่ือจัดการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนให้มีคุณภาพตามเป้าหมาย
วสิ ัยทัศน์ ความตอ้ งการ และบริบทของทอ้ งถิน่ โดยมคี ณะกรรมการสถานศึกษา
พิจารณาให้ความเห็นชอบ การที่สถานศึกษามีอิสระในการบริหารจัดการ
การศึกษาด้วยตนเอง ยอ่ มทำ� ใหค้ ณุ ภาพผู้เรียน คุณภาพการบริหารจดั การการศึกษา
แตกต่างกันไป ดังนั้น การพัฒนาการจัดการศึกษาอย่างเป็นระบบและมีคุณภาพ
ก้าวหน้าอย่างต่อเน่ือง ต้องอาศัยการท�ำงานเชิงระบบ (System Approach)
การประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษาโดยมีมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศึกษาเป็นเป้าหมายความส�ำเร็จจึงมีความส�ำคัญในการที่ผู้บริหารสถานศึกษา
จะใช้เปน็ กลไกในการขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

10

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

นอกจากนี้ การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษายังมีความ
ส�ำคัญต่อการวางรากฐานในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา การวางนโยบาย
การก�ำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ในการพัฒนาการจัดการศึกษาท้ังในปัจจุบันและ
อนาคตตามสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว อีกทั้งยังมีความส�ำคัญ
ในการใช้เป็นฐานขอ้ มลู สนบั สนุนการกำ� หนดคุณภาพทตี่ ้องการ เพอ่ื การวางแผน
ระยะสน้ั ระยะกลาง และระยะยาวได้ ดงั น้นั มาตรฐานท่สี ถานศกึ ษาก�ำหนดขึน้
ต้องครอบคลุมท้ังด้านคุณภาพผู้เรียน คุณภาพการบริหารและการจัดการ และ
คุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ซ่ึงเป็นหัวใจส�ำคัญ
ทีส่ ะทอ้ นคณุ ภาพของการจดั การศกึ ษาทแี่ ทจ้ รงิ
ประโยชนข์ องมาตรฐานการศึกษา
การกำ� หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา มีประโยชนด์ ังน้ี
๑. ช่วยให้สามารถก�ำหนดเป้าหมาย นโยบายและแนวทางใน
การพัฒนาการจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษาไดช้ ดั เจน
๒. สามารถก�ำหนดยุทธศาสตร์ และแนวทางในการจัดท�ำแผนพัฒนาการ
จดั การศกึ ษาไดต้ รงตามความของตอ้ งการของสถานศึกษา
๓. ใช้เป็นเครอ่ื งมือในการกำ� กบั การตรวจสอบ การนเิ ทศ การตดิ ตามและ
ประเมนิ ผล เพ่อื ให้ระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษาเข้มแขง็
๔. มีข้อมูลสารสนเทศท่ีเกี่ยวข้องกับสถานภาพและความก้าวหน้า
ของการจดั การศึกษา

11

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา



๓ตอนท่ี

แนวทางการกำ�หนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา



๓ตอนที่

แนวทางการกำ�หนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา

กระบวนการพัฒนาการศึกษาให้มีคุณภาพที่สอดคล้องกับมาตรฐาน
การศึกษาของชาติ พ.ศ.๒๕๖๑ ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพ พ.ศ. ๒๕๖๑
สถานศึกษาต้องมีการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
กรอบมาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั ระดบั การศึกษาขั้นพ้นื ฐานที่รัฐมนตรีวา่ การ
กระทรวงศึกษาธิการประกาศไว้ ซึ่งสถานศึกษาต้องก�ำหนดเป้าหมายหรือภาพ
ความส�ำเร็จตามตามบริบทของสถานศึกษาท่ีมีความท้าทาย เป็นไปได้ และ
เห็นผลส�ำเร็จเชิงประจักษ์ เชื่อมโยงถึงคุณภาพผู้เรียน สถานศึกษาบางแห่งที่มี
เป้าหมายหรือวัตถุประสงค์ในการผลิตผู้เรียนให้มีคุณภาพเฉพาะทางก็สามารถ
เพมิ่ เตมิ มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาได้
กรอบมาตรฐานการศึกษาข้ันพ้ืนฐานท่ีกระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ไปน้ัน
ได้ผ่านการพิจารณาวิเคราะห์ความเช่ือมโยงกับมาตรฐานการศึกษาของชาติแล้ว
อย่างไรก็ดี ในการจัดท�ำมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาน้ัน สถานศึกษา
ควรพิจารณาคุณลักษณะผู้เรียนจากผลลัพธ์ที่พึงประสงค์ของการศึกษาใน
มาตรฐานการศึกษาของชาติเพื่อเติมเต็มมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เด่นชัดและครบถ้วนตามท่ีชาติต้องการ เช่น นักเรียนมีทักษะในการเขียน
โปรแกรม ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ ทักษะในการออกแบบ ทักษะการเป็นผู้น�ำ
ทักษะการบริหารการเงิน เป็นต้น ซึ่งการวิเคราะห์ความต้องการจ�ำเป็นการใช้
ข้อมูลสารสนเทศของสถานศึกษา ผนวกกับการรู้ทันกระแสการเปล่ียนแปลง
ของโลกจะเป็นประโยชน์ต่อการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ทเ่ี ป็นรูปธรรมและเปน็ อัตลักษณ์ของสถานศึกษา อันน�ำไปสูก่ ารยกระดบั คณุ ภาพ
การศกึ ษาของประเทศตอ่ ไป

15

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่เป็นรูปธรรมและเป็นอัตลักษณ์ของสถานศึกษา อันนําไปสู่การยกระดับ
คุณภาพการศกึ ษาของประเทศตอ่ ไป

  แผนภาพที่ ๒ การก�ำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

การก�ำหนดมาแผตนรภฐาพาน๒กกาารรกศาํ หึกนษดามขาตอรงฐาสนถกาารนศกึศษึกาขษอางสถานศกึ ษา

เพื่อให้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาน�ำสู่การปฎิบัติได้อย่างแท้จริง
และได้รับความร่วมมือจากผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย สถากนารศกาํึกหษนดามคาตวรรฐาดน�ำกาเรนศินึกษกาขาอรงทสถ่ีเานน้ศนกึ ษา
การมีส่วนร่วม โดยเชิญคณะกรรมการสถานศึกษา ผู้แทนครู ผู้แทนผู้ปกครอง
ชุมชน สถานประกอบการ องค์กรที่สนับสนุนสถานศึกษา ตามความเหมาะสม
รว่ มด�ำเนินการตามขน้ั ตอนตอ่ ไปน้ี
ขั้นตอนท่ี ๑ เตรียมความพร้อมการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของ
สถานศกึ ษา
๑. แต่งตั้งคณะกรรมการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ประกอบดว้ ย ผูบ้ ริหารสถานศกึ ษา คณะครู คณะกรรมการสถานศึกษา ตัวแทน
ผ้ปู กครอง ชุมชน และผเู้ ก่ยี วข้องอื่น ๆ
๒. สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนักถึงความส�ำคัญในการ
พัฒนาคุณภาพการศึกษา เห็นความส�ำคัญและความเชื่อมโยงของมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา มาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน มาตรฐานการศึกษา

16

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

ของชาติ ซึ่งจะน�ำไปสู่เป้าหมายของยุทธศาสตร์ชาติในการที่จะพัฒนาคุณภาพชีวิต
และสรา้ งสงั คมไทยใหม้ คี วามมั่นคง เสมอภาค และเปน็ ธรรม
ขนั้ ตอนที่ ๒ วเิ คราะหค์ วามสมั พนั ธ์ของมาตรฐานการศกึ ษา
การก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาต้องมีข้อมูลสารสนเทศ
หลายส่วนประกอบการพิจารณา เช่น บริบท ความพร้อมและศักยภาพของ
สถานศกึ ษา อตั ลักษณ์และเอกลักษณข์ องสถานศึกษา ความตอ้ งการของทอ้ งถิ่น
และชมุ ชน นโยบายของหนว่ ยงานตน้ สงั กัด จดุ หมายของแผนพฒั นาการศึกษาชาติ
เป็นต้น สถานศึกษาน�ำข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ในสาระ
และประเด็นส�ำคัญต่าง ๆ เช่ือมโยงไปสู่มาตรฐานการศึกษาระดับต่าง ๆ แล้ว
สรปุ เปน็ เปา้ หมายทสี่ ถานศึกษาตอ้ งการ
ขน้ั ตอนท่ี ๓ ก�ำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
จากภาพเป้าหมายที่สถานศึกษาต้องการ สถานศึกษาก�ำหนดมาตรฐาน
การศึกษาที่ครอบคลุมคุณภาพส�ำคัญ ๓ ด้าน คือ คุณภาพผู้เรียน คุณภาพ
การบริหารและการจัดการ และคุณภาพการจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียน
เป็นส�ำคัญ มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละแห่ง ควรสะท้อนถึง
เปา้ หมายหรอื ภาพความส�ำเรจ็ ทเี่ ดน่ ชดั เป็นรูปธรรม สถานศกึ ษาท่มี วี ัตถุประสงค์
พิเศษอาจก�ำหนดมาตรฐานเพิ่มเติมเพื่อให้เห็นความโดดเด่นเฉพาะทางได้
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาไม่จ�ำเป็นต้องมีจ�ำนวนมาก และสามารถ
ปรับเปล่ียนได้ตามความเหมาะสมกับยุคสมัยหรือความต้องการยกระดับ
ให้สงู ขน้ึ อกี
ข้ันตอนที่ ๔ พจิ ารณาให้ความเห็นชอบมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
สถานศึกษาเสนอร่างมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ผู้เกี่ยวข้อง
ทุกฝ่ายตรวจสอบทบทวนเพ่ือพิจารณาความครอบคลุม ความเหมาะสม
ความสอดคล้อง และน�ำสู่การปฏิบัติสามารถบรรลุเป้าหมายได้จริง แล้วจึงเสนอ
คณะกรรมการสถานศกึ ษาพจิ ารณาให้ความเห็นชอบ

17

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ข้นั ตอนท่ี ๕ ประกาศใชม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
สถานศึกษาประกาศใช้มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาท่ีผ่านความ
เห็นชอบจากคณะกรรมการสถานศึกษาแล้ว สถานศึกษาควรเผยแพร่
ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนเก่ียวข้องทุกฝ่ายทราบ ท้ังนี้เพื่อให้ทุกฝ่ายร่วมกัน
ขับเคลื่อน และยกระดับคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมาย
ที่ต้องการ การประชาสัมพันธ์ท�ำได้หลายช่องทาง เช่น แจ้งในที่ประชุม แจ้งใน
เว็บไซตข์ องโรงเรยี น ติดประกาศ เป็นต้น

๑. เตรียมความพร้อมการก�ำหนด แตง่ ตง้ั คณะกรรมการกำ� หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
มาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา ¦ ผูบ้ รหิ ารสถานศึกษาและคณะครู
¦ คณะกรรมการสถานศึกษา ตวั แทนผ้ปู กครอง ชุมชน
¦ ผู้เก่ียวขอ้ งอนื่ ๆ
สร้างความรุ้คู วามเขา้ ใจและความตระหนักในการพฒั นาคุณภาพการศกึ ษา
¦ การพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษา
¦ มาตรฐานการศึกษาระดบั ต่างๆ
¦ กระบวนการจดั ท�ำมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
¦ ประโยชน์ของมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๒. วเิ คราะหค์ วามสัมพันธข์ อง ¦ ยทุ ธศาสตร์ชาติ ๒๐ ปี
มาตรฐานการศกึ ษา ¦ แผนพฒั นาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
¦ แผนการศกึ ษาแหง่ ชาติ
¦ มาตรฐานการศึกษาของชาติ
¦ นโยบายและจดุ เนน้ ของเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา จังหวดั และภาค
¦ จดุ เน้น บรบิ ท ความต้องการ เอกลกั ษณ์และอตั ลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา

๓. กำ� หนดมาตรฐานการศึกษาของ ¦ สังเคราะห์ข้อมูลท่ไี ดจ้ ากการวเิ คราะห์ความสัมพันธ์ของมาตรฐานการศึกษา
สถานศกึ ษาและเป้าหมายความสำ� เรจ็ ของสถานศกึ ษาทค่ี รอบคลุมคณุ ภาพผ้เู รียนทงั้ ๓ ด้าน และสอดคลอ้ ง
๔. พจิ ารณาใหค้ วามเหน็ ชอบมาตรฐาน กับบริบทความต้องการ เอกลักษณ์ และอตั ลกั ษณ์สถานศึกษา

การศกึ ษาของสถานศกึ ษา ¦ ก�ำหนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา เป้าหมายความสำ� เร็จท่ชี ัดเจน
¦ สถานศึกษาเสนอรา่ งมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ผู้เกย่ี วขอ้ งทุกฝ่าย

ตรวจสอบทบทวน และเสนอคณะกรรมการสถานศึกษาพจิ ารณาให้ความเหน็ ชอบ

๕. ประกาศใชม้ าตรฐานการศึกษา ¦ แจ้งใหผ้ ูเ้ ก่ียวขอ้ งทัง้ ภายในและภายนอกรับทราบเพอื่ ร่วมกนั ขบั เคล่อื น
ของสถานศกึ ษา และยกระดับคณุ ภาพการศึกษาของสถานศกึ ษา

แผนภาพท่ี ๓ กระบวนการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

18

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

แนวทางการก�ำหนดเปา้ หมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา
การก�ำหนดเป้าหมายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษามีแนวทาง
ดังน้ี
๑. สถานศึกษาวเิ คราะห์สภาพแวดล้อมของสถานศกึ ษา (SWOT Analysis)
และประเมินบริบทต่าง ๆ ของสถานศกึ ษาด้วยความรอบคอบ โดยพจิ ารณาร่วมกบั
ข้อมูลสารสนเทศ ความส�ำเร็จของสถานศึกษาย้อนหลังอย่างน้อย ๓ ปี
จนไดม้ าตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา
๒. สถานศึกษาและผู้มีส่วนเกี่ยวข้องร่วมกันก�ำหนดเป้าหมาย
ความส�ำเร็จท่ีท้าทายตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้ครอบคลุมและ
สอดคลอ้ งกับบริบทของสถานศึกษา โดยลักษณะของเป้าหมายท่ีดี ควรมีลกั ษณะ
SMART ดังนี้
๑) Specific เป้าหมายต้องมีลักษณะเฉพาะเจาะจง สอดคล้องกับ
บริบทของสถานศกึ ษา ไมค่ วรระบใุ ห้กว้างจนเกนิ ไป และไม่ใช้คำ� ทีต่ ้องตีความ
๒) Measurable เป้าหมายควรวัดได้เป็นตัวเลข ประเมินค่า
เปรียบเทยี บได้ และใช้ตดิ ตามประเมินผลได้
๓) Action oriented เป้าหมายตอ้ งระบุถงึ ส่ิงทสี่ ถานศึกษาจะดำ� เนินการ
และน�ำไปสู่การก�ำหนดโครงการและกิจกรรมไดอ้ ยา่ งชดั เจน
๔) Realistic เปา้ หมายตอ้ งเป็นจริงได้ แตไ่ ม่ง่ายจนเกนิ ไป เปา้ หมาย
ท่ีดีต้องมีความท้าทาย (Challenge) เพ่ือน�ำไปสู่การคิดค้น ริเร่ิมวิธีการใหม่ ๆ
อยู่เสมอ
๕) Timely เป้าหมายตอ้ งมีกรอบระยะเวลาทีแ่ นน่ อน ชัดเจน ซ่งึ อาจ
จะเป็นรายวัน สัปดาห์ เดือน ไตรมาส คร่ึงปี หรือ ๑ ปี ไม่ควรตั้งเป้าหมาย
ที่ยาวนานเกินกว่า ๑ ปี เม่อื ด�ำเนินโครงการจนบรรลุเป้าหมายในปนี น้ั ๆ ในปีถดั ไป
สถานศกึ ษาก็จะตัง้ เป้าหมายทสี่ งู ข้ึนและทา้ ทายยงิ่ ขึน้ ได้

19

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

การก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จที่ท้าทาย สถานศึกษาต้องพิจารณา
ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบประกอบด้วย (Benchmark) โดยสถานศึกษาสามารถ
ก�ำหนดเป้าหมายเชงิ เปรยี บเทยี บไดด้ ังนี้
๑) ก�ำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับผลการด�ำเนินงานท่ีผ่านมาของ
สถานศึกษา ซ่ึงเป็นวิธีท่ีนิยมใช้กันในปัจจุบัน เช่น ดูผลการประเมินคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษาในปีที่ผ่าน ๆ มา เพื่อดูแนวโน้มความส�ำเร็จ
แล้วก�ำหนดเปา้ หมายใหส้ ูงขนึ้
๒) ก�ำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับผลการด�ำเนินงานของสถานศึกษา
ในกลุ่มเดียวกัน เพื่อสร้างความท้าทายในการพัฒนาสถานศึกษาสู่ความส�ำเร็จ
ทีก่ ้าวหนา้ ยิ่งขึ้น
๓) ก�ำหนดเป้าหมายโดยเปรียบเทียบกับเป้าหมายของสถานศึกษา
ในระดับที่เหนือกว่ากลุ่มเดียวกัน หรือเปรียบเทียบกับเกณฑ์รางวัลที่ได้รับ
การยอมรับระดับชาตหิ รอื นานาชาติ
ท้ังน้ี สถานศึกษาเลือกก�ำหนดเป้าหมายด้วยวิธีใดก็ตามต้องค�ำนึงถึง
ศักยภาพและบริบทของสถานศึกษาด้วย เป้าหมายที่ดีต้องท้าทายให้ลงมือท�ำ
แต่ต้องมคี วามเป็นไปได้โดยอาศัยการรเิ ริ่มและความคดิ สรา้ งสรรค์
๓. ระบเุ ปา้ หมายเชิงปรมิ าณและเชิงคณุ ภาพให้ชัดเจน ดงั นี้
๑) ระบุเปา้ หมายเชิงปรมิ าณเปน็ จ�ำนวน ร้อยละ หรอื ค่าเฉล่ีย โดยใช้
ข้อมลู สารสนเทศทีผ่ า่ นมาเป็นฐาน (Baseline) ในการก�ำหนดเปา้ หมายทีท่ ้าทาย
เช่น ร้อยละของจ�ำนวนนักเรียนท่ีได้รับรางวัล ค่าเฉล่ียผลสัมฤทธ์ิทางการเรียน
จ�ำนวนครูท่ีผ่านการอบรมการวิจัย จ�ำนวนนักเรียนกลุ่มเสี่ยง จ�ำนวนกิจกรรม
เสรมิ หลักสูตร เป็นต้น
๒) ระบุเป้าหมายเชงิ คุณภาพ เช่น เพมิ่ ขึน้ สูงขนึ้ ดเี ลิศ ดเี ยีย่ ม ชดั เจน
ก้าวหน้าข้นึ มีแนวโนม้ ทดี่ ีขึ้น ซงึ่ จะต้องมีเกณฑ์ระดบั คุณภาพกำ� กบั ดว้ ย


20

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

อย่างไรก็ดี สถานศึกษาสามารถก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ได้หลายลกั ษณะ อาจก�ำหนดเปน็ ภาพรวม เป็นรายข้อ เป็นข้อความ เป็นความเรียง
หรือก�ำหนดในลักษณะอ่ืนท่ีสามารถสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องเข้าใจได้ว่าเป้าหมาย
ที่สถานศึกษามงุ่ ที่จะพัฒนาเนน้ ไปในทิศทางใด เช่น
ตัวอยา่ งมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น ก.
นักเรียนมีความรูความสามารถตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐานระดับ
ดีเยี่ยม มีพื้นฐานในการเปนผูประกอบการ (Startup) มีความสุภาพ เปนมิตร
มสี มรรถภาพในการปรับตัว มเี ปาหมายชีวติ และมอี ตั ลกั ษณโดดเดน ดานกลาคิด
กลาทํา กลานําเสนอ
โรงเรียนยึดมั่นในการบริหารงานดวยหลักความรวมมือและหลักธรรมาภิบาล
ตามปณิธาน “คุณธรรม ภูมิปญญา นําพาความสุข สูสังคมแหงการเรียนรู”
มีการใชเทคโนโลยีท่ีทันสมัยในการจัดการเรียนรูเพ่ือสรางนักคิด นักประดิษฐ
โดยมคี รแู ละบุคลากรเชยี่ วชาญเฉพาะทาง
ครูทุกกลุมจัดการเรียนรูดวยรูปแบบการสอนท่ีพัฒนาดวยตนเองจาก
ขอมูลการวิจัย เนนการใหนักเรียนเรียนรูจากการลงมือปฏิบัติ พัฒนานักเรียน
ใหบรรลุตามอัตลกั ษณ
ตัวอยา่ งมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ข.
๑. สถานศึกษาได้รับความเชื่อม่ันจากผู้ปกครอง โดยบริหารจัดการศึกษา
ด้วยการสรา้ งเครอื ข่ายท่เี ขม้ แข็ง และน�ำบุตรหลานมาเข้าเรยี นเพมิ่ ขึน้
๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคนเอาใจใส่ศิษย์เหมือนลูก ดูแล
ทั้งด้านการเรียนและความประพฤติ มีทักษะการถ่ายทอดความรู้ และจัดการ
เรียนรใู้ ห้นกั เรยี นมีทักษะการปฏิบตั งิ านเตม็ ศักยภาพ

21

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๓. นักเรียนที่จบการศึกษาทุกคนมีความสามารถในการใช้ภาษาไทย
ได้อย่างคล่องแคล่ว ใช้ภาษาอังกฤษเพื่อการสนทนาและทักทายกันได้ ซื่อสัตย์
ขยนั อดทน รักการท�ำงานและรับผดิ ชอบงานเปน็ เลิศ รจู้ กั อย่อู ยา่ งพอเพยี ง
๔. หลักสูตรสถานศึกษาเน้นการประกอบอาชีพเกษตรกรรมที่ผสมผสาน
เทคโนโลยีสมัยใหม่กับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีแหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ
และปราชญ์ชาวบา้ น/ภูมิปญั ญาใหค้ วามรู้และค�ำแนะนำ� ใกล้ชิด
๕. คณะกรรมการสถานศกึ ษา สมาคมครู เครอื ข่ายผปู้ กครอง และผแู้ ทน
สถานประกอบการในชุมชนให้ความร่วมมือในการสนับสนุนและพัฒนาสถาน
ศึกษาทั้งด้านวิชาการและการอนุรกั ษท์ อ้ งถนิ่ ด้วยความเขม้ แขง็ และต่อเน่ือง
ตัวอย่างมาตรฐานการศึกษาของโรงเรยี น ค.
โรงเรียน ค. มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาท่ีโรงเรียนก�ำหนดอยู่
ในระดับดีเยี่ยมอย่างต่อเนื่อง ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนโดยรวมสูง
เป็นอันดับแรกของจังหวัด นักเรียนทุกคนมีโอกาสเข้าสู่เวทีการแข่งขันและได้รับ
รางวัลระดับประเทศและนานาชาติเป็นจ�ำนวนมาก นักเรียนทุกคนได้รับการ
ส่งเสริมด้านอาชีพจากการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตรตามความสนใจและ
เต็มศักยภาพ นักเรยี นได้รบั การยอมรับด้านความมวี นิ ยั รบั ผิดชอบ และการเปน็
นักจัดการท่ีดี โดยการบริหารงานของทีมผู้บริหารและคณะครูที่มีประสบการณ์
เชย่ี วชาญด้านการพฒั นาวชิ าการและการนำ� นกั เรียนสเู่ วทสี ากล
ตวั อย่างมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี น ง.
ด้านผเู้ รยี น
๑. นักเรียนร้อยละ ๙๐ มีความสามารถในการเขียนเรียงความเชิง
สรา้ งสรรคไ์ ด้
๒. นักเรยี นรอ้ ยละ ๕๐ มคี วามสามารถในการเป็นมคั คเุ ทศกน์ ้อยได้

22

การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๓. นักเรยี นร้อยละ ๗๕ มีผลการทดสอบการอ่านออกเขียนได้อยู่ในระดับ
ดขี ้ึนไป
๔. นักเรียนร้อยละ ๕๕ มีผลการเรียนเฉลี่ยกลุ่มสาระคณิตศาสตร์ตั้งแต่
ระดบั ๒.๕ ขนึ้ ไป
๕. นักเรียนร้อยละ ๙๐ สามารถใช้แอปพลิเคชั่นในการแสวงหาความรู้
และสรา้ งชิน้ งานทต่ี นสนใจได้
๖. นักเรยี นทุกคนมคี ุณลักษณะตามค�ำขวัญของโรงเรยี นที่ว่า “รบั ผดิ ชอบ
เป็นเย่ียม จิตเปี่ยมอาสา กล้าในสิ่งที่ถูกต้อง” และได้รับการดูแลด้านสุขภาวะ
ตามเกณฑ์ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสขุ
ดา้ นการบรหิ ารและการจดั การ
๑. โรงเรียนบริหารและจัดการศึกษาโดยเน้นการพัฒนาชุมชนให้เข้มแข็ง
และสรา้ งครอบครวั ในชมุ ชนให้สามารถพงึ่ ตนเองได้
๒. โรงเรียนจัดให้มีกิจกรรมเสริมหลักสูตรและแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
ตามความสนใจของนกั เรยี นท้ังด้านการศกึ ษาตอ่ อาชพี และงานอดเิ รก
ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ นน้ ผูเ้ รยี นเป็นส�ำคัญ
๑. ครูทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้จัดการเรียนการสอนที่ให้นักเรียน
คิดวเิ คราะห์ แสดงความคดิ เห็น โตแ้ ยง้ โดยการอภิปรายกลมุ่ และเขียนสรุปรายงาน
ตามนโยบายของโรงเรียนที่เน้นว่า “นักเรียนทุกคนต้องอ่านออกเขียนได้ในระดับ
ดีขนึ้ ไป”
๒. ครูทุกคนจัดท�ำสมุดประวัติของนักเรียนรายคนทั้งด้านพฤติกรรม
การเรียน และครอบครัว และใช้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลนักเรียนในการปรับแก้
และสง่ เสรมิ คณุ ภาพชีวิตของนักเรยี น

23

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ตัวอย่างมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเป้าหมายความส�ำเร็จ
ทคี่ าดหวัง
ในการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาซึ่งต้องครอบคลุม
ด้านคุณภาพผเู้ รียน ดา้ นการบริหารและการจัดการ และดา้ นกระบวนการจดั การเรยี น
การสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ ควรระบุเป้าหมายความส�ำเร็จท่ีคาดหวังไว้ด้วย
โดยต้องสะท้อนประเด็นที่จะพัฒนา ข้อมูลเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพท่ีชัดเจน
ดังตวั อย่างต่อไปน้ี
ด้านคุณภาพผู้เรยี น
๑. นักเรียนร้อยละ ๙๐ ของนักเรียนทุกระดับชั้นมีผลการเรียนเฉล่ีย
กลุ่มสาระการเรียนร้ภู าษาไทย ตงั้ แตร่ ะดบั ๓ ขนึ้ ไป
๒. ค่าเฉล่ียผลการทดสอบทางการศึกษาแห่งชาติ (O-NET) แต่ละ
กลมุ่ สาระการเรียนรู้ทีส่ อบสูงกว่าคา่ เฉลีย่ ระดับสังกัด รอ้ ยละ ๕
๓. นักเรยี นรอ้ ยละ ๕๕ มีผลการทดสอบภาษาองั กฤษท่ีไดม้ าตรฐานสากล
(CEFR) ตั้งแตร่ ะดบั B๑ ข้นึ ไป
๔. นกั เรยี นร้อยละ ๔๕ มีผลการทดสอบทางการศกึ ษาแหง่ ชาติ (O-NET)
รายวชิ าภาษาอังกฤษ สูงกว่ารอ้ ยละ ๕๐ ขึน้ ไป
๕. นักเรียนร้อยละ ๑๐๐ เขียนรายงานการค้นคว้าและน�ำเสนอผลงาน
จากโครงงานได้
๖. นักเรียนร้อยละ ๕๐ สื่อสารภาษาจีนในชีวิตประจ�ำวันได้อย่าง
คลอ่ งแคล่ว
๗. นักเรียนร้อยละ ๑๕ มีผลงานเชิงสร้างสรรค์ด้านเทคโนโลยีที่ผ่านการ
ประกวดและได้รับรางวัลระดบั ชาติ
๘. นักเรียนร้อยละ ๑๐ เป็นผนู้ ำ� การอภปิ ราย/พิธีกรในงานต่าง ๆ ได้
๙. นกั เรยี นร้อยละ ๑๐๐ มีจิตอาสาช่วยงานของหมบู่ า้ น การดแู ลผู้สงู อายุ
และชว่ ยเหลอื งานบ�ำเพญ็ ประโยชน์ดว้ ยความเต็มใจ

24

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๑๐. นักเรียนทุกคนมีคุณลักษณะตามอัตลักษณ์ท่ีสถานศึกษาก�ำหนด คือ
“มีวินัย ใจอาสา ใฝ่หาความรู้”
๑๑. นักเรียนมีน�้ำหนักและส่วนสูงที่ไม่เป็นไปตามเกณฑ์กรมอนามัย
ตำ�่ กวา่ ร้อยละ ๕
๑๒. นักเรียนทุกคนเรยี นรูแ้ ละท�ำงานร่วมกันเปน็ กลุ่มด้วยความรกั สามัคคี
๑๓. นักเรียนร้อยละ ๔๕ เขียนโปรแกรมแอนิเมชั่น/ผลิตคลิปส่งเสริม
คณุ ธรรมได้อยา่ งดี
๑๔. นกั เรียนที่มคี วามเส่ียงด้านพฤตกิ รรมมีต�่ำกว่าร้อยละ ๒
๑๕. นักเรียนร้อยละ ๙๕ มีเป้าหมายในการประกอบอาชีพ/ศึกษาต่อ
ที่ชัดเจน
ด้านการบริหารและการจัดการ
๑. โรงเรียนบริหารและจัดการศึกษาด้วยหลักการมีส่วนร่วม เน้นความ
โปร่งใสและตรวจสอบได้
๒. ครูและบุคลากรสนับสนุนทุกคนได้รับการพัฒนาให้มีความเช่ียวชาญ
ทางอาชพี อยา่ งน้อยปีละ ๒๐ ชวั่ โมง
๓. โรงเรียนมีหลักสูตรที่เน้นความเป็นเลิศทางด้านวิชาการ เปิดแผน
การเรยี นทเ่ี นน้ คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ภาษาตา่ งประเทศ และนักเรียนมสี ทิ ธ์ิ
เลือกเรียนได้ตามความต้องการ
๔. โรงเรียนมีกิจกรรมเสริมหลักสูตรไม่น้อยกว่า ๑๕ กิจกรรม ท่ีส่งเสริม
ศกั ยภาพความเป็นเลศิ ของนักเรียนรอบดา้ น
๕. โรงเรียนจัดให้มีคอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนการสอนครบถ้วนเพียงพอ
มีระบบการเชอ่ื มตอ่ อนิ เทอร์เน็ตทเี่ สถียร นักเรยี นและครูสามารถสบื ค้นความรู้ได้
ทกุ เวลาทุกสถานท่ี
๖. โรงเรียนมีห้องสมุดที่ทันสมัยและพื้นท่ีการเรียนรู้เพียงพอส�ำหรับ
นกั เรียนทกุ คน

25

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๗. โรงเรียนจัดให้นักเรียนได้ทัศนศึกษาเพื่อส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์
อยา่ งน้อยภาคเรยี นละ ๑ คร้งั
๘. โรงเรียนจัดบรรยากาศการเรียนรู้ที่เน้นให้นักเรียนท�ำกิจกรรม
(Activities Based) เพ่ือสง่ เสริมการเป็นผปู้ ระกอบการ
๙. โรงเรยี นมโี ครงการส่งเสริมความเปน็ เลศิ *ด้านภาษา/อาชพี /ความเป็นผนู้ �ำ/
ทักษะการจัดการ/การเป็นผู้ประกอบการ/การเป็นนักคิด/นักสร้างโปรแกรม
และมีโครงการพัฒนาเพ่อื เตมิ เตม็ ศักยภาพนกั เรียนรอบด้าน (* หมายถึงโรงเรียน
เลอื กเพียงด้านใดดา้ นหนึง่ )
ดา้ นกระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผเู้ รยี นเปน็ ส�ำคัญ
๑. ครูทุกคน (ทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้) จัดการเรียนรู้ที่เน้นการคิด
เชิงวิพากษ์ (Critical Thinking) และจัดเวทีให้นักเรียนได้แลกเปลี่ยนเรียนรู้
อยา่ งน้อยภาคเรียนละ ๒ ครง้ั
๒. ครูทุกคนมีแผนการจัดการเรียนรู้ท่ีแสดงว่านักเรียนได้ลงมือปฏิบัติ
(Learning by doing) ไมน่ อ้ ยกว่าร้อยละ ๕๐ ของเวลาท่ีเรยี น (เชน่ การสาธติ
ทดลอง เลน่ เกม บทบาทสมมติ แขง่ ขัน เป็นตน้ )
๓. ครูมีการผลิตสื่อการสอนท่ีให้นักเรียนเรียนรู้โดยใช้อินเทอร์เน็ต ไม่น้อยกว่า
รอ้ ยละ ๓๐ ของเวลาทเ่ี รียน
๔. ครูทุกคนมีการมอบหมายให้นักเรียนแสวงหาความรู้ทางอินเทอร์เน็ต
และสรุปความรทู้ ี่ได้ดว้ ยภาษาของนกั เรียนเอง
๕. ครูทุกคนปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนการสอนของตนเอง
ผ่านกระบวนการ PLC
๖. ครูทุกระดับช้ัน มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และปัญหาการจัด
ชน้ั เรยี น การติดตามพฤตกิ รรมนักเรยี นกล่มุ เส่ียง สปั ดาหล์ ะ ๑ ครั้ง
๗. ครูทุกคนใช้ผลการประเมินนักเรียนรายบุคคล ปรับปรุงและพัฒนา
การเรยี นรขู้ องนักเรยี นทกุ คน

26

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

ภาษาของนักเรยี นเอง
5. ครูทุกคนปรับปรุงและพัฒนาการจดั การเรยี นการสอนของตนเองผา่ นกระบวนการ PLC
6. ครูทุกระดับชั้น มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์และปัญหาการจัดชั้นเรียน การติดตาม

พฤตกิ รรมนกั เรยี นก๘ลุม่. เคสีย่รงูทสุกัปคดนาตหัด์ละสิน๑ผคลรกั้งารเรียนของนักเรียนตามระเบียบที่สถานศึกษา
ก7ำ� ห. คนรดูทุก(ตคัดนสใชนิ ้ผจลากการขป้อรมะลูเมหินลนาักยเรแียหนลรา่งยคบรคุ บคลท้ังปร๓ับปดรา้ ุงนแลเะปพ็นฒั ไนปาตกาามรเรกียณนรฑู้ข์)องนักเรียนทกุ คน

สหพะลน้ื ทาบย้อ้าแนนหปจกลราา่งะกรเ ทเเ ฯคตทดชป89ลร้อัว็นองิ ้บาอ.ฯ.งปผทหทยถคค้าจ่ีรท่าั้งรมไนิ่ระิมหง๙ูทจั้งูรพา๓มามน(ุ้กอา.ยฒัเณา ตชค้ขีดยกตคคนีนน่น้า้ึนลรตวรแานจฐตะอูราัลวเกาัดขพย้อเมนะ๑อปอ้สด่กูยลกสเ๐น็ยมินชนบัาลง�ำลูไผิง่รตพาบเะปมเคศลรรงชื้นตีรงึกก็ีปุณจมงิ๑าาิบบษาีพ่ปทมนภาร๐ทา้าราี่ทเวเตาขนกิมทขริจพ้อาณียรมาอยัยกงทณทน์ฐีงงฑสทาาขทาช่ีกาถ์)ร่ีพแยนอาัดอ้านทลัฒรงนวเงกอะนนจจศิจถนเผนัวกาึกะชัยน่ิาดเา้รษิงเทครนดแไหคศาียวห่ีพน้ัผงัุณท็นึนากแนมัฒี่มมภตวๆษสไตีกราาท่นา)ดีนาาพมู้แสยารงจขรลทะคกใฯะกะอนช่ีทําวเลอัดหบแงาด้อฯนเนีมยสผจนนุรทดบนรนถตัปกเ้งัูท้แภปารนดษรี่สล้าาีปนีข้งั์ะศถหะพภพี่นึ้ศิเลามอาทดอนาึปกาพน็ยนี่ทศยว๔ษุรู่กคึกทยัฒักบัาวษ์่ีจนษกาบทาะมธาร์กศ่ีมพสรรบิําิลีํารกนัหฒทปเมรวานขนวท็จดอรดัฒทา้อแงก (ท่ีทงผนต�ำขถอ้้านัดธห่ิทน้งอสรไถานทมินร(ยิ่นเูมลยดจนชจา่ั้นนะกเขหๆเ้อพ)็นมลวูล่าง

แผนภา พ ๔ แตผวั นอ ยภ่าางมพาทตร่ี ๔ฐานตทกัวาีม่ อรีกศยากึ ่ารษงกามขำ� าอหงตสนรถดฐาเานปนศา้ึกกหษาามรทศา่มี ยึกีกคาษรวากาขํามหอนสงดำ�สเเปถร้าจ็าหนมศายึกคษวาามสาํ เรจ็
การ กําหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาและเป้าหมายความสําเร็จควรดําเนินการไปพร้อม ๆ กัน
เม่ือทุกฝ่ายเ ห็นพ้องกตา้อรงกก�ำันหน(cดoมnาseตnรsฐuาsน) กสาถราศนึกศษึกาษขาอกง็ปสรถะากนาศมึกาษตารแฐลาะนเพปร้า้อหมมเาปย้าคหวมาามยสค�ำวเารม็จสําเร็จให้
ผู้มีส่วนเก่ียวคขว้อรงทดุก�ำฝเน่ายินรกับาทรรไาปบพโดรย้อทม่ัวกๆัน มกาันตรฐเมานื่อกทาุกรศฝึก่าษยาเขหอ็นงพสถ้อางนตศ้อึกงษกาัจนะเ(ปc็นoเnครsื่อeงnกsําuหsน)ดทิศทาง
ใสนถกานารศวึกาษงาแตทสผ่อถุกนไาปแฝนล่าศะยึกจรษัดับาทกทํา็ปแรผราะนบกพโาัดฒศยนมทาากั่ตวารกรฐันจาัดนกมพาารรต้อศมรึกฐเษปาา้านขหอกมงาาสรยถศคาึกวนาษศมึกาสษข�ำาอเแรง็จลสใะหถแ้าผผนนู้มศปีสึฏก่วิบษนัตาเิกกจี่ยาะรวเปขปร้อ็นะงจําปีของ

เคร่ืองก�ำหนดทิศทางในการวางแผนและจัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษา
ของสถานศึกษาและแผนปฏบิ ตั ิการประจ�ำปีของสถานศึกษาต่อไป

27

การก�ำ หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา



๔ตอนท่ี

กรณีตัวอยา่ งการกำ�หนดมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา



๔ตอนท่ี

กรณีตวั อย่างการกำ�หนดมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศกึ ษา

ต่อไปน้ี คือตัวอย่างการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ตามบริบทที่แตกต่างกัน
๑. โรงเรียนอนุบาลคณุ ภาพ
สภาพบริบทโรงเรียน
โรงเรยี นอนุบาลคุณภาพ ตง้ั อยทู่ ี่ เลขท่ี ๑๒๓ หมทู่ ี่ ๔ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอ
เมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนระดับช้ันอนุบาลปีที่ ๑ ถึงระดับ
ช้ันประถมศึกษาปที ี่ ๖ มีนักเรยี นระดับช้นั อนุบาลปีที่ ๑ - ๓ จำ� นวน ๑๔๒ คน
ระดบั ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ - ๖ จำ� นวน ๔๒๒ คน รวมนักเรียนท้งั หมด ๕๖๔ คน
ข้าราชการครูท้งั หมด ๒๐ คน ผบู้ รหิ าร ๑ คน ผปู้ กครองนักเรียนส่วนใหญ่นับถือ
ศาสนาพุทธ ประเพณีท้องถ่ินท่ีขึ้นช่ือและมีผู้คนต่างถ่ินมาท่องเที่ยวจ�ำนวนมาก
ได้แก่ ประเพณีแห่เทียนเข้าพรรษา งานสงกรานต์ และงานวันลอยกระทง
แหล่งเรยี นรูร้ อบโรงเรยี น ไดแ้ ก่ วดั เด่นดัง หอ้ งสมดุ ชมุ ชนรักเรียน วทิ ยาลยั ชุมชน
รกั เรยี น ผู้ปกครองนกั เรยี นประกอบอาชีพเกษตรกรรมรอ้ ยละ ๕๕ ค้าขายร้อยละ
๒๕ รับจ้างร้อยละ ๑๕ อาชีพอ่ืน ๆ ร้อยละ ๕ นับถือศาสนาพุทธร้อยละ ๙๙
นักเรียนระดับอนุบาลทุกคนเป็นเด็กในหมู่บ้านทั้งหมดและหมู่บ้านใกล้เคียง
ความต้องการของผู้ปกครองส่วนใหญ่ คือ นักเรียนจบการศึกษาอย่างมีคุณภาพ
อนุรักษ์วัฒนธรรมท้องถ่ิน รู้ทันการใช้เทคโนโลยีท่ีเข้ามาสู่ชุมชนอย่างรวดเร็ว
รู้จกั การใชช้ วี ติ อย่างพอเพียง

31

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

วสิ ัยทัศน์
โรงเรยี นอนุบาลคณุ ภาพ นกั เรียนมีคณุ ภาพตามเกณฑม์ าตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา รว่ มสืบสานวัฒนธรรมไทย กา้ วไกลทันเทคโนโลยี ด�ำเนนิ ตามวถิ ี
พอเพยี ง คเู่ คยี งรว่ มมอื ชุมชน
พันธกจิ
๑. จดั การเรยี นรูเ้ พื่อพฒั นาผเู้ รียนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานของสถานศึกษา
๒. สง่ เสริมอนุรกั ษ์ วัฒนธรรมไทย สืบสานประเพณีท้องถิ่น
๓. พฒั นาส่ือเทคโนโลยีและนวัตกรรมทางการศกึ ษา
๔. ส่งเสรมิ การจัดการเรียนร้ตู ามปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
๕. สร้างภาคีเครอื ขา่ ยเพื่อสนบั สนนุ การจัดการศกึ ษา
อัตลักษณ์ ความรดู้ ี มีคุณธรรม ดำ� เนินชวี ิตพอเพียง
เอกลักษณข์ องสถานศึกษา โรงเรยี นวถิ ีพอเพยี ง

เป้าประสงค์
ดา้ นผ้เู รยี น
๑. ผูเ้ รยี นมคี วามรแู้ ละทกั ษะทจ่ี �ำเป็นตามหลกั สตู รการศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน
๒. ผเู้ รยี นมคี ณุ ธรรม จริยธรรม และคุณลกั ษณะอันพึงประสงค์
๓. ผู้เรยี นมที ักษะชีวติ ตามหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง
ดา้ นคณุ ภาพครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษา
๑. ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และจรรยาบรรณตาม
มาตรฐานวิชาชพี
๒. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีการพฒั นาอยา่ งตอ่ เนอ่ื ง

32

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ดา้ นคณุ ภาพการบริหารจดั การ
๑. โรงเรียนมกี ารบริหารจัดการศึกษาทม่ี ปี ระสิทธภิ าพตามหลักธรรมาภบิ าล
๒. โรงเรียนมีระบบเครือข่ายร่วมมือกับชุมชนในการพัฒนาการศึกษา
อยา่ งมีประสทิ ธิภาพ
กลยุทธ์
กลยทุ ธ์ข้อท่ี ๑ พัฒนาคุณภาพผู้เรียนทุกระดับตามมาตรฐานการศึกษา
สง่ เสรมิ ความสามารถด้านเทคโนโลยี
กลยทุ ธข์ อ้ ที่ ๒ เพ่ิมศักยภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาในการใช้
เทคโนโลยีเพอ่ื การเรยี นการสอน
กลยุทธข์ ้อที่ ๓ ส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพยี ง
กลยุทธ์ขอ้ ท่ี ๔ พัฒนาประสิทธิภาพการบริหารจัดการศึกษาตามหลัก
ธรรมาภบิ าล เนน้ การมสี ่วนรว่ มจากทุกภาคสว่ น
กลยุทธ์ขอ้ ที่ ๕ ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย สืบสานประเพณีท้องถิ่น
โดยบูรณาการในการจดั การเรียนรู้


33

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ตวั อยา่ งประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรียนอนุบาลคุณภาพ

ประกาศโรงเรียนอนุบาลคณุ ภาพ
เรอื่ ง มาตรฐานการศกึ ษาและเปา้ หมายความสำ� เร็จ ระดบั ปฐมวยั

----------------------------------------------------------
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓
ท่ีก�ำหนดให้สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานั้น ในการ
ประชมุ ครั้งท่ี ๑ เมือ่ วนั ท่ี ๘ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๒คณะกรรมการสถานศึกษา
ข้ันพ้ืนฐานของโรงเรียนอนุบาลคุณภาพมีมติเห็นพ้องต้องกันให้ความเห็นชอบรา่ ง
มาตรฐานการศึกษาของและเป้าหมายความส�ำเร็จตามท่ีโรงเรียนอนุบาลคุณภาพเสนอ
จึงประกาศ เร่ือง มาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายความส�ำเร็จตามมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรียนอนุบาลคุณภาพ ระดับปฐมวัย เพ่ือเป็นกลไกการพัฒนา
ร่วมกันระหว่างโรงเรียนและผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง และสร้างความเช่ือม่ันให้แก่สังคม
ชุมชน ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบับน้ี ทั้งน้ีตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๓
เปน็ ตน้ ไป จนกวา่ จะมกี ารเปลยี่ นแปลงในเวลาที่เหมาะสมต่อไป

ประกาศ ณ วันที่ ๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
นายคณุ ธรรม ลำ้� เลิศ

ผ้อู �ำนวยการโรงเรยี นอนุบาลคุณภาพ

34

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา

เอกสารแนบท้ายประกาศโรงเรยี นอนบุ าลคณุ ภาพ
เรือ่ ง มาตรฐานการศึกษาและเป้าหมายความสำ� เรจ็ ระดบั ปฐมวัย

ประกาศ ณ วันท่ี ๙ เดือนพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
โรงเรียนอนุบาลคุณภาพก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัยโดย
ก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จของสถานศึกษาโดยรวมอยู่ในระดับดีเลิศ โดยมี
เปา้ หมายในแตล่ ะมาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
๑) เด็กทุกคนได้รับอาหารหลักครบทุกม้ือและอาหารเสริม (นม) ๑ ม้ือ
(เวลาเช้า) และเด็กร้อยละ ๙๕ มีน�้ำหนักและส่วนสูงตามเกณฑ์มาตรฐานของ
กรมอนามยั กระทรวงสาธารณสุข และสามารถเคลอ่ื นไหวรา่ งกายไดอ้ ย่างคลอ่ งแคลว่
๒) เด็กร้อยละ ๘๕ มีสุขภาพอนามัยและสุขนิสัยที่ดี ดูแลตนเองในการ
ปฏบิ ตั ิกจิ วัตรประจ�ำวันไดด้ ี และมวี นิ ัยในการรกั ษาความสะอาดตนเอง ห้องเรียน
และสภาพแวดลอ้ มภายในโรงเรยี น
๓) เด็กร้อยละ ๙๐ เข้าใจและปฏิบัติตนตามข้อตกลงของห้องเรียนและ
โรงเรียน เล่นและปฏิบัติกิจกรรมได้อย่างปลอดภัยและมีความสุข และสามารถ
ท�ำงานทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนสำ� เร็จได้ดว้ ยตนเอง
๔) เด็กทุกคนมีผลงานด้านศิลปะท่ีเกิดจากการลงมือท�ำด้วยตนเอง
สามารถเล่าเรอื่ งตามจินตนาการจากผลงานท่ที ำ� นั้น
๕) เด็กร้อยละ ๘๕ รู้จักอดทนในการรอคอย (เช่น คอยผู้ปกครอง คอยรอ
รับของจากครู)
๖) เด็กทุกคนมีมารยาท “งามอย่างไทย” ไหว้ ย้ิม และกล่าวทักทาย
ดว้ ยความสุภาพ มสี ัมมาคารวะตอ่ ผู้ทอ่ี าวโุ สกวา่ จนไดร้ ับค�ำชื่นชม

35

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

๗) เด็กทุกคนกล้าต้ังค�ำถามในส่ิงที่ตนเองสนใจหรือสงสัย และสามารถ
อธบิ ายเหตุและผลทเี่ กิดข้ึนจากเหตุการณ์หรือการกระทำ� ตา่ ง ๆ ได้
๘) เด็กรอ้ ยละ ๘๕ ผา่ นเกณฑ์การประเมินตามแบบทดสอบทกั ษะการคดิ
ของส�ำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา..........
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารจัดการ
๑) โรงเรียนมีนโยบายรับฟังทุกความคิดเห็นของผู้ปกครอง ตามนโยบาย
“ทุกความคิดเหน็ มีคณุ คา่ ตอ่ การพฒั นาลกู ของเรา” มีหลักสตู รสถานศึกษาระดับ
ปฐมวัยที่มุ่งพัฒนาการเด็กรอบด้าน จัดกิจกรรมครบหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
พุทธศักราช ๒๕๖๐ และปรับกิจกรรมให้ยืดหยุ่นตามความสนใจและวุฒิภาวะ
ของเด็ก รวมทั้งใช้วิถีชีวิตท้องถ่ินมาบูรณาการในกิจกรรม มีสื่อการเรียนรู้
ท่ีจับต้องได้อย่างหลากหลายและเพียงพอ เช่น ของเล่น หนังสือนิทาน ส่ือจาก
ธรรมชาติ สื่อส�ำหรับเด็กมุด ลอด ปีนป่าย รวมทั้งสื่อเทคโนโลยีในการค้นหา
ความรู้ที่เหมาะสมกบั วยั ของเดก็
๒) โรงเรียนมีสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกห้องเรียนท่ีปลอดภัย
มีครูดูแลเด็กอย่างใกล้ชิดอย่างพอเพียง ผู้ปกครองสามารถพบครูประจ�ำช้ัน
ไดต้ ลอดเวลา
๓) โรงเรียนจัดให้เด็กได้ทัศนศึกษานอกสถานท่ีที่ใกล้เคียงโรงเรียน เช่น
วัด ตลาด พิพธิ ภณั ฑ์ ห้องสมดุ ประชาชน อทุ ยานประวัติศาสตร์ ฯลฯ อยา่ งนอ้ ย
ปกี ารศกึ ษาละ ๑ ครัง้
มาตรฐานที่ ๓ การจัดประสบการณท์ ่เี นน้ เด็กเป็นส�ำคัญ
๑) ครูทุกคนมีข้อมูลและเข้าใจเด็กเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลของเด็ก
ร่วมกับผู้ปกครองในการช่วยส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการอย่างสมดุล ครบท้ังด้าน
ร่างกาย อารมณ์ จติ ใจ สงั คม และสตปิ ัญญา

36

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๒) ครูทุกคนจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามหลักไฮสโคป (มอนเตสซอรี/
วอลดอร์ฟ แล้วแต่กรณีที่โรงเรียนจัด) ท่ีส่งเสริมพัฒนาเด็กโดยความร่วมมือของ
พ่อแม่ ครอบครัว และผเู้ กย่ี วขอ้ ง
๓) ครูทุกคนใช้ส่ือเทคโนโลยี เช่น โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ แท็บเล็ต
ที่เหมาะสมกบั ช่วงอายุ ระยะความสนใจ และวถิ ีการเรยี นรู้ของเด็ก
๔) ครูทุกคนมีความเช่ียวชาญในการประเมินพัฒนาการเด็กด้วยเคร่ืองมือ
และวิธีการที่หลากหลายและเหมาะสมตามสภาพจริงจากกิจกรรมและกิจวัตร
ประจำ� วัน
๕) ครูทุกคนและผู้ปกครองมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันจากกิจกรรม
“พบปะกันวันชุมชนแห่งการเรียนรู้ (Professional Learning Community:
PLC)” อย่างน้อยภาคเรยี นละ ๑ ครงั้

37

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษา

๒. โรงเรยี นพฒั นาศิลปะวิทยา
สภาพบรบิ ทโรงเรยี น
โรงเรียนพัฒนาศิลปวิทยา ตั้งอยู่ที่เลขที่ ๔๕๖ หมู่ท่ี ๔ ต�ำบลในเมือง
อ�ำเภอเมืองเชียงใหม่ จังหวัดเชียงใหม่ เปิดสอนระดับช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑
ถึงระดับช้ันมัธยมศึกษาปีที่ ๖ เป็นโรงเรียนที่เปิดรับเฉพาะนักเรียนหญิง
มนี ักเรยี นทงั้ หมดจ�ำนวน ๑,๔๓๘ คน จำ� แนกจำ� นวนนักเรยี นแตล่ ะระดับช้นั ดงั นี้
มัธยมศึกษาปีท่ี ๑ จ�ำนวน ๒๒๒ คน มัธยมศึกษาปีที่ ๒ จ�ำนวน ๒๐๐ คน
มัธยมศึกษาปีที่ ๓ จ�ำนวน ๒๑๔ คน มัธยมศึกษาปีที่ ๔ จ�ำนวน ๒๑๘ คน
มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ จำ� นวน ๒๘๘ คน และมธั ยมศึกษาปีที่ ๖ จ�ำนวน ๒๙๖ คน
มีขา้ ราชการครูทง้ั หมด ๗๘ คน ผ้บู ริหาร ๒ คน โรงเรียนตง้ั อยูใ่ นย่านศนู ย์กลาง
ธุรกิจการขนส่งสินค้า ผู้ประกอบการส่วนใหญ่เป็นคนไทยเช้ือสายจีน นับถือ
ศาสนาพทุ ธ ผู้ปกครองมอี าชีพหลักคือ ค้าขาย รบั จ้าง รบั ราชการ โรงเรียนต้งั อยู่
ใจกลางเมอื ง ท่มี วี ัด มีโรงเรยี นหลายแหง่ ท้ังระดับประถมศึกษาและมัธยมศกึ ษา
ใกลแ้ หล่งเรียนรู้ ได้แก่ สถานรี ถไฟ มหาวทิ ยาลยั หอสมุดแห่งชาติ แต่พืน้ ท่ภี ายใน
โรงเรียนค่อนข้างจ�ำกัด การจัดกิจกรรมจึงต้องปรับเปลี่ยนให้เหมาะสมกับสภาพ
ของโรงเรยี น
วสิ ยั ทศั น์
สืบสานงานฝมี ือ ยึดถอื คณุ ธรรม มุง่ น�ำวิชาการส่มู าตรฐานสากล ดำ� รงตน
ตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง
พันธกิจ
๑. ส่งเสรมิ การเรยี นร้งู านฝมี อื นำ� ส่ชู มุ ชน
๒. ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ด�ำรงตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง

38

การกำ�หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

๓. สนบั สนนุ และส่งเสริมวชิ าการสู่มาตรฐานสากล
๔. สรา้ งความเขม้ แข็งของการมีส่วนร่วมขององคก์ รสนับสนนุ และชุมชน
อตั ลักษณน์ ักเรียน กริ ิยางามสงา่ สมศักดิศ์ รี ประพฤตดิ ี มคี วามรู้
เอกลักษณ์สถานศึกษา สืบสานงานฝีมือ ยึดถือคุณธรรม น้อมน�ำหลัก
ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง
เปา้ ประสงค์
ด้านผู้เรยี น
๑. ผเู้ รียนมคี วามสามารถในงานฝมี อื ศลิ ปวัฒนธรรม
๒. ผเู้ รียนมีความรทู้ างวชิ าการตามมาตรฐานสากล
๓. ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรมและด�ำรงตนตามหลักปรัชญาของ
เศรษฐกจิ พอเพียง
ดา้ นคณุ ภาพครูและบุคลากรทางการศกึ ษา
พัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา ตามมาตรฐานวิชาชีพเต็ม
ตามศักยภาพโดยสนบั สนุน สง่ เสรมิ การใชน้ วตั กรรมและเทคโนโลยใี นการจัดการ
เรียนการสอน
ด้านคุณภาพการบริหารจัดการ
โรงเรียนมีระบบการบริหารจัดการโดยมุ่งเน้นการกระจายอ�ำนาจ
การมีส่วนร่วมในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา มีความรับผิดชอบต่อผลการ
ด�ำเนนิ งานดว้ ยระบบการประกันคุณภาพและหลกั ธรรมาภิบาล

39

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา

กลยทุ ธ์
๑. สืบสานงานฝีมือและด�ำรงตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พัฒนาผู้เรียนให้มีคุณธรรม จริยธรรม มีความรับผิดชอบตามอัตลักษณ์และ
เอกลกั ษณข์ องสถานศกึ ษา
๒. พัฒนาหลักสูตรให้มีความหลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของผู้เรยี นตามศกั ยภาพของผู้เรียนและพฒั นาสคู่ วามเป็นมาตรฐานสากล
๓. พัฒนาสมรรถนะครูและบคุ ลากรทางการศกึ ษาอย่างมีระบบ
๔. พัฒนาระบบบริหารและจัดการศึกษาอย่างมีประสิทธิภาพโดยใช้
เทคโนโลยีและสารสนเทศ
๕. สร้างความเข้มแข็งและการมีส่วนร่วมเครือข่าย ผ้ปู กครองและชุมชน


40

การกำ�หนดมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา

ตัวอยา่ งประกาศมาตรฐานการศกึ ษาของโรงเรยี นพัฒนาศิลปะวทิ ยา

ประกาศโรงเรยี นพฒั นาศิลปะวิทยา
เร่ือง มาตรฐานการศึกษาและเปา้ หมายความสำ� เร็จ ระดับการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน

----------------------------------------------------------
ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑ ข้อ ๓
ท่ีก�ำหนดให้สถานศึกษาต้องมีมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษานั้น
คณะกรรมการสถานศึกษาข้ันพื้นฐานของโรงเรียนพัฒนาศิลปะวิทยามีมติ
เห็นพ้องต้องกันให้ความเห็นชอบร่างมาตรฐานการศึกษาของและเป้าหมาย
ความส�ำเร็จตามท่ีโรงเรียนพัฒนาศิลปะวิทยาเสนอในคราวประชุมคร้ังที่ ๑
เมอ่ื วนั ที่ ๑ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓ โรงเรยี นจึงประกาศ เรือ่ ง มาตรฐานการศึกษา
และเป้าหมายความส�ำเร็จตามมาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนพัฒนาศิลปะวิทยา
ระดับการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เพ่ือเป็นกลไกการพัฒนาร่วมกันระหว่างโรงเรียนและ
ผู้มีส่วนเก่ียวขอ้ ง และสร้างความเช่อื มนั่ ใหแ้ ก่สังคม ชุมชน ตามเอกสารแนบทา้ ย
ประกาศฉบับน้ี ท้ังนี้ตั้งแต่ปีการศึกษา ๒๕๖๓ เป็นต้นไป จนกว่าจะมีการ
เปล่ยี นแปลงในเวลาที่เหมาะสมตอ่ ไป

ประกาศ ณ วันที่ ๙ เดอื นพฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๓
นายเลศิ ลำ้� คณุ ธรรมเยี่ยม

ผอู้ ำ� นวยการโรงเรียนพัฒนาศิลปะวิทยา

41

การก�ำ หนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึ ษา


Click to View FlipBook Version