ห น้ า
แผนภาพที่ ๗ กระบวนการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายใน
พที่ 7 กร ะบวนการพัฒนาระขบอบงสกถาารนปศรึกะษกานั โครณุงเรภียานพอภนาบุ ยาใลนคขณุ อธงรสรถมานศกึ ษา โรงเรยี นอนุบาลคุณธ
42
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
บรรณานุกรม
กระทรวงศึกษาธิการ. (๒๕๕๓). กฎกระทรวงวา่ ด้วย ระบบ หลักเกณฑ์ และวธิ ี
การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓,ประกาศ ณ วันที่ ๒
เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๓. ม.ป.ป. (เอกสารอดั สำ� เนา)
_______. (๒๕๖๑). กฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑.
(เอกสารอัดส�ำเนา)
_______. (๒๕๖๑). มาตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวนั ที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑.
พระราชบญั ญัติการศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒. (๒๕๔๒). ราชกจิ จานเุ บกษา.
เลม่ ๑๑๖ ตอนท่ี ๗๔ ก (๑๙ สิงหาคม ๒๕๔๒).
_______. (๒๕๔๕). ราชกจิ จานเุ บกษา. เลม่ ๑๑๙ ตอนที่ ๑๒๓ ก (๑๙ ธันวาคม
๒๕๔๕).
ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน).
(๒๕๕๔). คู่มือการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสาม (พ.ศ.๒๕๕๔
-๒๕๕๘) ระดับการศกึ ษาปฐมวัย (๒ - ๕ ปี) ฉบับสถานศึกษา (แก้ไข
เพ่ิมเติม พฤศจิกายน ๒๕๕๔). ค้นเม่ือ ๑๒ ธันวาคม ๒๕๖๒, จาก
http://www.onesqa.or.th/th/content-view/๙๒๑/๑๒๐๔/
_______. (๒๕๖๐). กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบส่ี
(พ.ศ. ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓). การประชุมคณะกรรมการบริหาร สมศ.
ครง้ั ที่ ๑๐/๒๕๖๐. คน้ เมอ่ื ๑๒ ธนั วาคม ๒๕๖๒, จาก https://webs.
rmutl.ac.th/assets/upload/files/๒๐๑๗/๑๑/๒๐๑๗๑๑๐๑๑๔
๑๘๒๗_๗๐๙๔๒.pdf
43
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
_______. (๒๕๖๒). กรอบแนวทางการประเมินคุณภาพภายนอกรอบสี่
(พ.ศ.๒๕๕๙-๒๕๖๓) ระดบั การศกึ ษาข้นั พืน้ ฐาน.
ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา. (๒๕๕๔). การติดตามตรวจสอบคุณภาพ
การศึกษาของสถานศึกษา ตามกฎกระทรวงวา่ ด้วยระบบ หลกั เกณฑ์
และวิธีการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพช์ ุมนมุ สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จ�ำกัด.
_______. (๒๕๕๔). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ข้ันพ้ืนฐาน เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา.
กรุงเทพฯ :กระทรวงฯ.
_______. (๒๕๕๔). แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถานศกึ ษา ตามกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี าร
ประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๕๓. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ชมุ นุม
สหกรณ์การเกษตรแหง่ ประเทศไทย จำ� กัด.
_______. (๒๕๖๑). แนวทางการประเมินคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน และระดับการศึกษา
ขัน้ พ้นื ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ. กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ นุมสหกรณ์
การเกษตรแห่งประเทศไทย จ�ำกดั .
44
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ภาคผนวก
กฎกระทรวง
การประกันคณุ ภาพการศกึ ษา
พ.ศ. ๒๕๖๑
อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๕ วรรคหนึ่ง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติการศึกษา
แหง่ ชาติ (ฉบบั ท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ และมาตรา ๔๗ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการออก
กฎกระทรวงไว้ ดังตอ่ ไปน ้ี
ขอ้ ๑ ใหย้ กเลิกกฎกระทรวงวา่ ดว้ ยระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ ีการประกัน
คณุ ภาพการศกึ ษาพ.ศ. ๒๕๕๓
ข้อ ๒ ในกฎกระทรวงนี้
“การประกันคุณภาพการศึกษา” หมายความว่า การประเมินผลและ
การติดตามตรวจสอบคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาแต่ละระดับ
และประเภทการศึกษา โดยมีกลไกในการควบคุมตรวจสอบระบบการบริหาร
คุณภาพการศึกษาท่ีสถานศึกษาจัดขึ้น เพ่ือให้เกิดการพัฒนาและสร้างความ
เชื่อมั่นให้แก่ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องและสาธารณชนว่าสถานศึกษาน้ันสามารถจัด
การศึกษาได้อย่างมีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา และบรรลุเป้าประสงค์
ของหน่วยงานตน้ สังกดั หรอื หน่วยงานทีก่ ำ� กบั ดแู ล
47
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
“ส�ำนักงาน” หมายความว่า ส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คณุ ภาพการศึกษา (องคก์ ารมหาชน)
ข้อ ๓ ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพ
การศึกษาภายในสถานศึกษาโดยการก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาแต่ละระดับและประเภทการศึกษาที่รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงศึกษาธิการประกาศก�ำหนด พร้อมทั้งจัดท�ำแผนพัฒนาการ
จัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและด�ำเนินการ
ตามแผนที่ก�ำหนดไว้จัดให้มีการประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศกึ ษา ตดิ ตามผลการด�ำเนนิ การเพ่อื พฒั นาสถานศกึ ษาให้มีคุณภาพ
ตามาตรฐานการศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินตนเองให้แก่หน่วยงาน
ตน้ สังกดั หรือหนว่ ยงานท่ีก�ำกบั ดูแลสถานศกึ ษาเป็นประจำ� ทกุ ปี
เพ่ือให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาตามวรรคหน่ึงเป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถาน
ศกึ ษามีหนา้ ทใี่ นการใหค้ ำ� ปรึกษา ชว่ ยเหลือ และแนะนำ� สถานศกึ ษา เพอื่ ให้การ
ประกนั คุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาพัฒนาอยา่ งต่อเน่ือง
ข้อ ๔ เม่ือได้รับรายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษาตามข้อ ๓
แล้วให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานที่ก�ำกับดูแลสถานศึกษาจัดส่งรายงาน
ดังกล่าวพร้อมกับประเด็นต่าง ๆ ท่ีต้องการให้มีการประเมินผลและการติดตาม
ตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงานท่ีเกี่ยวข้องหรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับ
สถานศึกษาแห่งน้ันให้แก่ส�ำนักงานเพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมิน
คุณภาพภายนอก
ให้ส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพและ
มาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา และจัดส่งรายงานผลการประเมินและการ
ติดตามตรวจสอบดังกล่าว พร้อมข้อเสนอแนะให้แก่สถานศึกษาและหน่วยงาน
ต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษาน้ันๆ เพ่ือให้สถานศึกษาใช้เป็น
แนวทางในการปรับปรุงและพฒั นาคณุ ภาพการศกึ ษาต่อไป
48
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ในการด�ำเนินการตามวรรคสอง ส�ำนักงานอาจจัดให้บุคคลหรือหน่วยงาน
ท่ีได้รับรองจากส�ำนักงานด�ำเนินการประเมินผลและติดตามตรวจสอบคุณภาพ
และมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศึกษาได้
ให้หน่วยงานต้นสังกัดหรือหน่วยงานท่ีก�ำกับดูแลสถานศึกษานั้นติดตาม
ผลการด�ำเนินการปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาตาม
วรรคสอง เพ่อื น�ำไปสู่การพฒั นาคณุ ภาพและ
มาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา
ขอ้ ๕ ให้รฐั มนตรีวา่ การกระทรวงศกึ ษาธิการมีอ�ำนาจตีความและวินิจฉัย
ปัญหาอนั เก่ยี วกับการปฏิบัตติ ามกฎกระทรวงน้ี
ใหไ้ ว้ ณ วนั ท่ี ๒๐ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกยี รติ เจรญิ เศรษฐศิลป์
รฐั มนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธิการ
49
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
หมายเหตุ :– เหตุผลในการประกาศใช้กฎกระทรวงฉบับนี้ คือ โดยท่ีแนวทาง
ในการด�ำเนินการตามกฎกระทรวงว่าด้วยระบบ หลักเกณฑ์ และวิธีการประกัน
คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๕๓ ไม่สอดคล้องกับหลักการประกันคุณภาพการ
ศึกษาที่แท้จริง จึงส่งผลให้การด�ำเนินการประกันคุณภาพการศึกษาทั้งภายใน
และภายนอกไม่สัมพันธ์กัน เกิดความซ้�ำซ้อนและคลาดเคล่ือนจากการปฏิบัติ
ท�ำให้ไม่สะท้อนความเป็นจริงและเป็นการสร้างภาระแก้สถานศึกษาและ
บคุ ลากรในสถานศึกษา ตลอดจนหน่วยงานตน้ สังกัด หน่วยงานทีก่ �ำกับดแู ล และ
หน่วยงานภายนอกเกินความจ�ำเป็น สมควรปรับปรุงระบบ หลักเกณฑ์ และ
วิธีการประกันคุณภาพการศึกษาเพ่ือให้มีกลไกการปฏิบัติที่เอื้อต่อการด�ำเนินการ
ตามมาตรฐานการศึกษาของแต่ละระดับ และเกิดประสิทธิภาพในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา จึงจำ� เปน็ ต้องออกกฎกระทรวงนี้
50
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศกระทรวงศึกษาธกิ าร
เร่ือง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวยั ระดับการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
และระดบั การศึกษาขน้ั พนื้ ฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ
โดยท่ีมีประกาศใช้กฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๑ นโยบายการปฏิรูปการศึกษาในทศวรรษท่ีสองที่ก�ำหนดเป้าหมาย
และยุทธศาสตร์ในการพัฒนาคุณภาพคนไทยและการศึกษาไทยในอนาคต
ประกอบกับมีนโยบายให้ปฏิรูประบบการประเมินและการประกันคุณภาพ
ท้ังภายในและภายนอกของทุกระดับก่อนจะมีการประเมินคุณภาพในรอบต่อไป
จ�ำเป็นต้องปรับปรุงมาตรฐานการศึกษาขั้นพ้ืนฐานให้สอดคล้องกัน จึงให้ยกเลิก
ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ือง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย
เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๒๗ กรกฎาคม
พ.ศ. ๒๕๕๔ ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ข้ันพื้นฐาน เพ่ือประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี ๑๑ ตุลาคม
พ.ศ. ๒๕๕๙ และประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง ให้ใช้มาตรฐานการศึกษา
ศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อการประกันคุณภาพภายในของสถานศึกษา ลงวันท่ี
๒ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๖๐
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และที่แก้ไขเพ่ิมเติม
(ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ มาตรา ๙ (๓) ได้ก�ำหนดการจัดระบบ โครงสร้าง
51
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
และกระบวนการจัดการศึกษาให้ยึดหลักท่ีส�ำคัญข้อหน่ึง คือ มีการก�ำหนด
มาตรฐานการศึกษา และจัดระบบประกันคุณภาพการศึกษาทุกระดับและ
ประเภทการศึกษาโดยมาตรา ๓๑ ให้กระทรวงมีอ�ำนาจหน้าท่ีก�ำกับดูแล
การศกึ ษาทุกระดบั และทกุ ประเภท ก�ำหนดนโยบาย แผนและมาตรฐานการศกึ ษา
และมาตรา ๔๘ ให้หน่วยงานต้นสังกัดและสถานศึกษาจัดให้มีระบบประกัน
คณุ ภาพภายในสถานศกึ ษา และใหถ้ อื วา่ การประกันคุณภาพภายในเปน็ สว่ นหน่งึ
ของการบริหารการศึกษาท่ีต้องด�ำเนินการอย่างต่อเน่ือง โดยมีการจัดท�ำรายงาน
ประจ�ำปีเสนอต่อหน่วยงานต้นสังกัดหน่วยงานท่ีเก่ียวข้อง และเปิดเผย
ต่อสาธารณชน เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพมาตรฐานการศึกษา และเพ่ือรับรอง
การประกันคุณภาพภายนอก
ฉะน้ัน อาศัยอ�ำนาจตามความในมาตรา ๙ (๓) มาตรา ๔๘
แห่งพระราชบญั ญัติการศกึ ษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ และมาตรา ๕ มาตรา ๓๑
แห่งพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ ซ่ึงแก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ (ฉบับท่ี ๒) พ.ศ. ๒๕๔๕ ประกอบกับมติ
คณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พืน้ ฐานในการประชุม ครั้งท่ี ๕/๒๕๖๑ เม่อื วันศกุ รท์ ่ี
๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๑ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงศกึ ษาธกิ าร จึงประกาศให้
ใช้มาตรฐานการศึกษาระดับปฐมวัย ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานและระดับ
การศึกษาขั้นพื้นฐานศูนย์การศึกษาพิเศษ เพื่อเป็นหลักในการเทียบเคียงส�ำหรับ
สถานศึกษา หน่วยงานต้นสังกัด และส�ำนักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาทั้งประถม
ศึกษา และมธั ยมศกึ ษา ในการพฒั นาส่งเสรมิ สนับสนุน ก�ำกับดแู ล และติดตาม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษา ตามเอกสารแนบท้ายประกาศฉบบั นี้
52
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ทั้งน้ีให้ใช้กับสถานศึกษาที่เปิดสอนระดับปฐมวัย ระดับการศึกษา
ข้นั พนื้ ฐาน และระดับการศึกษาข้ันพื้นฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ
ประกาศ ณ วนั ท่ี ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
ธีระเกียรติ เจริญเศรษฐศลิ ป์
รัฐมนตรวี ่าการกระทรวงศึกษาธกิ าร
53
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศกึ ษาขัน้ พื้นฐาน
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรื่อง ให้ใชม้ าตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั
ระดบั การศึกษาขั้นพื้นฐาน และระดับการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานศนู ยก์ ารศึกษาพิเศษ
ฉบับลงวันที่ ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศึกษา ระดับการศึกษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน
๓ มาตรฐาน ได้แก่
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรยี น
๑.๑ ผลสมั ฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรยี น
๑.๒ คุณลกั ษณะท่ีพงึ ประสงคข์ องผู้เรียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนท่เี นน้ ผูเ้ รยี นเป็นสำ� คญั
แต่ละมาตรฐานมรี ายละเอยี ดดังน้ี
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการของผูเ้ รยี น
๑) มีความสามารถในการอ่าน การเขียน การส่ือสาร และการ
คดิ คำ� นวณ
๒) มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ คิดอย่างมีวิจารณญาณ
อภิปรายแลกเปลี่ยน ความคิดเหน็ และแก้ปัญหา
๓) มีความสามารถในการสรา้ งนวัตกรรม
๔) มคี วามสามารถในการใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอ่ื สาร
๕) มผี ลสัมฤทธิท์ างการเรียนตามหลกั สูตรสถานศึกษา
๖) มีความรู้ ทักษะพื้นฐาน และเจตคติที่ดตี อ่ งานอาชพี
54
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๑.๒ คุณลักษณะทีพ่ ึงประสงคข์ องผเู้ รียน
๑) การมีคณุ ลักษณะและค่านิยมทีด่ ตี ามทีส่ ถานศกึ ษาก�ำหนด
๒) ความภูมใิ จในทอ้ งถนิ่ และความเปน็ ไทย
๓) การยอมรับท่ีจะอยูร่ ่วมกนั บนความแตกตา่ งและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการ
๒.๑ มีเปา้ หมายวิสยั ทัศนแ์ ละพนั ธกิจทสี่ ถานศึกษากำ� หนดชดั เจน
๒.๒ มรี ะบบบริหารจดั การคุณภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลกั สูตรสถานศกึ ษา และทกุ กลุม่ เปา้ หมาย
๒.๔ พฒั นาครูและบุคลากรให้มคี วามเช่ียวชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมท่ีเอ้ือต่อการจัดการเรียนรู้
อยา่ งมคี ณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพ่ือสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจัดการเรียนรู้
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเ่ี น้นผูเ้ รียนเป็นสำ� คญั
๓.๑ จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ
นำ� ไปประยุกตใ์ ช้ในชีวิตได้
๓.๒ ใช้ส่อื เทคโนโลยีสารสนเทศ และแหล่งเรยี นรู้ทีเ่ อื้อตอ่ การเรียนรู้
๓.๓ มีการบรหิ ารจดั การช้นั เรียนเชงิ บวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผล
มาพฒั นาผ้เู รียน
๓.๕ มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรบั ปรุงการจดั การเรียนรู้
55
แนวทางการพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศึกษา ระดบั ปฐมวยั
แนบท้ายประกาศกระทรวงศกึ ษาธิการ เรือ่ ง ใหใ้ ชม้ าตรฐานการศึกษา ระดับปฐมวยั
ระดบั การศึกษาขั้นพ้ืนฐาน และระดับการศึกษาข้ันพนื้ ฐานศนู ยก์ ารศึกษาพเิ ศษ
ฉบบั ลงวันที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั ปฐมวยั พ.ศ. ๒๕๖๑ มีจ�ำนวน ๓ มาตรฐาน
ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี ๑ คณุ ภาพของเด็ก
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
มาตรฐานท่ี ๓ การจัดการประสบการณ์ท่ีเน้นเด็กเป็นส�ำคัญแต่ละ
มาตรฐานมีรายละเอยี ดดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คณุ ภาพเด็ก
๑.๑ มีพัฒนาการด้านร่างกาย แข็งแรง มีสุขนิสัยที่ดี และดูแลความ
ปลอดภัยของตนเองได้
๑.๒ มีพัฒนาการด้านอารมณ์ จิตใจ ควบคุม และแสดงออกทาง
อารมณไ์ ด้
๑.๓ มีพัฒนาการด้านสังคม ช่วยเหลือตนเอง และเป็นสมาชิกที่ดี
ของสงั คม
๑.๔ มีพัฒนาการด้านสติปัญญา ส่ือสารได้ มีทักษะการคิดพื้นฐาน
และแสวงหาความร้ไู ด้
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบริหารและการจดั การ
๒.๑ มหี ลักสูตรครอบคลุมพฒั นาการทั้ง ๔ ดา้ น สอดคลอ้ งกบั บรบิ ท
ของทอ้ งถ่นิ
๒.๒ จดั ครใู หเ้ พยี งพอกบั ชัน้ เรียน
๒.๓ สง่ เสรมิ ให้ครมู ีความเชย่ี วชาญด้านการจัดประสบการณ์
56
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๒.๔ จัดสภาพแวดล้อมและส่ือเพื่อการเรียนรู้ อย่างปลอดภัย และ
เพียงพอ
๒.๕ ให้บริการสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อการเรียนรู้เพ่ือ
สนับสนุนการจัดประสบการณ์
๒.๖ มีระบบบรหิ ารคุณภาพที่เปิดโอกาสให้ผู้เกยี่ วข้องทุกฝา่ ยมีสว่ นรว่ ม
มาตรฐานที่ ๓ การจดั ประสบการณท์ ีเ่ น้นเด็กเปน็ สำ� คญั
๓.๑ จัดประสบการณ์ท่ีส่งเสริมให้เด็กมีพัฒนาการทุกด้านอย่างสมดุล
เต็มศกั ยภาพ
๓.๒ สรา้ งโอกาสให้เด็กได้รบั ประสบการณต์ รง เล่นและปฏิบัตอิ ย่างมี
ความสขุ
๓.๓ จัดบรรยากาศที่เอ้ือต่อการเรียนรู้ใช้สื่อและเทคโนโลยีท่ีเหมาะ
สมกบั วยั
๓.๔ ประเมินพัฒนาการเด็กตามสภาพจริงและน�ำผลการประเมิน
พัฒนาการเด็กไปปรับปรุงการจดั ประสบการณแ์ ละพฒั นาการเดก็
57
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน ศนู ย์การศึกษาพิเศษ
แนบทา้ ยประกาศกระทรวงศกึ ษาธกิ าร เรือ่ ง ให้ใชม้ าตรฐานการศกึ ษา ระดับปฐมวัย
ระดบั การศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน และระดับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐานศนู ย์การศกึ ษาพเิ ศษ
ฉบับลงวนั ท่ี ๖ สงิ หาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานการศกึ ษา ระดบั การศกึ ษาข้ันพืน้ ฐานศูนยก์ ารศกึ ษาพเิ ศษ พ.ศ.
๒๕๖๑ มีจำ� นวน ๓ มาตรฐาน ไดแ้ ก่
มาตรฐานท่ี ๑ คุณภาพของผเู้ รียน
๑.๑ ผลการพัฒนาผ้เู รยี น
๑.๒ คณุ ลักษณะทพ่ี ึงประสงคข์ องผู้เรียน
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจดั การ
มาตรฐานท่ี ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทีเ่ นน้ ผู้เรยี นเป็นส�ำคญั
แตล่ ะมาตรฐานมรี ายละเอียดดงั นี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพผู้เรียน
๑.๑ ผลการพัฒนาผเู้ รียน
๑) มีพัฒนาการตามศักยภาพของแต่ละบุคคล ที่แสดงออกถึง
ความรู้ ความสามารถ ทักษะตามที่ระบุไว้ในแผนการจัด
การศึกษาเฉพาะบุคคล หรือ แผนการให้บริการช่วยเหลือ
เฉพาะครอบครวั
๒) มีความพร้อมสามารถเข้าสู่บริการช่วงเชื่อมต่อหรือการส่งต่อ
เข้าสู่การศึกษาในระดับท่ีสูงขึ้น หรือการอาชีพหรือการ
ดำ� เนินชีวิตในสังคมไดต้ ามศกั ยภาพของแต่ละบคุ คล
๑.๒ คณุ ลักษณะที่พงึ ประสงค์ของผู้เรียน
๑) มคี ณุ ลักษณะอันพงึ ประสงค์ตามที่สถานศกึ ษากำ� หนด
๒) มีความภมู ิใจในทอ้ งถิ่น และความเป็นไทย ตามศักยภาพของ
ผู้เรียนแต่ละบุคคล
58
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
มาตรฐานท่ี ๒ กระบวนการบรหิ ารและการจัดการ
๒.๑ มเี ป้าหมายวสิ ยั ทศั น์และพนั ธกจิ ท่สี ถานศึกษากำ� หนดชัดเจน
๒.๒ มีระบบบริหารจดั การคณุ ภาพของสถานศกึ ษา
๒.๓ ด�ำเนินงานพัฒนาวิชาการท่ีเน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตาม
หลกั สตู รสถานศกึ ษาและทกุ กลุ่มเป้าหมาย
๒.๔ พฒั นาครแู ละบุคลากรใหม้ ีความเชย่ี วชาญทางวิชาชีพ
๒.๕ จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอ้ือต่อการจัดการ
เรียนร้อู ยา่ งมคี ณุ ภาพ
๒.๖ จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการ
และการจดั การเรียนรู้
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจดั การเรียนการสอนทเี่ น้นผู้เรียนเป็นสำ� คัญ
๓.๑ การจัดเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถ
น�ำไปประยกุ ต์ในชีวติ ได้
๓.๒ ใชส้ ่ือ เทคโนโลยสี ารสนเทศ และแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีเอื้อต่อการเรียนรู้
๓.๓ มกี ารบริหารจดั การช้นั เรียนเชิงบวก
๓.๔ ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และน�ำผลมา
พฒั นาผเู้ รยี น
๓.๕ มีการแลกเปล่ียนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและ
ปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
59
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ประกาศส�ำนกั งานคณะกรรมการการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน
เรื่อง แนวปฏิบตั กิ ารด�ำเนินงานประกนั คุณภาพการศึกษา
ระดับการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พ.ศ.๒๕๖๑
โดยที่มีประกาศใช้กฎกระทรวง การประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ลงวันท่ี ๒๐ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๖๑ ได้ก�ำหนดระบบ หลกั เกณฑ์ และวธิ กี ารประกนั
คุณภาพการศึกษาอันส่งผลให้การด�ำเนินงานการประกันคุณภาพการศึกษา
ทั้งหนว่ ยงานตน้ สงั กดั หรอื หนว่ ยงานก�ำกับดูแล และหนว่ ยงานภายนอกทีส่ ะท้อน
สภาพการด�ำเนินงานที่แท้จริงและเกิดประสิทธิภาพ และก�ำหนดแนวทางในการ
ขับเคลื่อนการประกันคุณภาพการศึกษาสอดคล้องกับหลักการประคุณภาพ
การศึกษา และมีกลไกปฏิบัติท่ีเอ้ือต่อการด�ำเนินงานตามมาตรฐานการศึกษา
แตล่ ะระดับให้เกดิ ประสิทธภิ าพในการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน จึงได้จัดท�ำแนวปฏิบัติการ
ด�ำเนินงานการประกันคณุ ภาพการศกึ ษาข้นึ เพ่อื ให้หนว่ ยงานตน้ สงั กัด สำ� นกั งาน
บริหารการศึกษาพิเศษ ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาทั้งประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ใช้เป็นแนวปฏิบัติในการด�ำเนินการเพื่อการพัฒนาส่งเสริม ก�ำกับ
ดูแล และติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษาให้เกิดประสิทธิภาพต่อการพัฒนา
คณุ ภาพการศกึ ษา โดยมีรายละเอยี ด ดงั นี้
60
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
ระดับสถานศกึ ษา
ใหส้ ถานศกึ ษาระดบั การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐานดำ� เนนิ การดังต่อไปน ี้
๑. ให้สถานศึกษาแต่ละแห่งจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพการศึกษา
ภายในสถานศึกษา เพื่อให้เกิดการพัฒนา และเพื่อเป็นกลไกในการควบคุม
ตรวจสอบคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาให้เกิดการพัฒนาและสร้างความเช่ือม่ัน
ให้กับสังคม ชมุ ชน และผู้มีส่วนเก่ยี วขอ้ ง
๒. จัดใหม้ ีระบบการประกันคุณภาพการศกึ ษาภายในสถานศกึ ษา ดังน ้ี
๒.๑ ก�ำหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาให้เป็นไปตาม
มาตรฐานการศึกษาระดับการศึกษาปฐมวัยและหรือระดับการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
ท่ีกระทรวงประกาศใช้ และให้สถานศึกษาก�ำหนดเป้าหมายความส�ำเร็จ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษาตามบริบท ทั้งนี้ สามารถเพ่ิมเติมมาตรฐาน
การศึกษาของสถานศึกษา นอกเหนือจากที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศใช้ได้
โดยใหส้ ถานศึกษาและผูเ้ กีย่ วข้อง ด�ำเนนิ การและรับผิดชอบร่วมกนั
๒.๒ จัดท�ำแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ท่ีสอดคล้อง
กับสภาพปัญหาและความต้องการจ�ำเป็นของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ
โดยสะทอ้ นคณุ ภาพความสำ� เร็จอย่างชดั เจนตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
๒.๓ ด�ำเนนิ การตามแผนพฒั นาการจัดการศึกษาของสถานศกึ ษา
๒.๔ ประเมินผลและตรวจสอบคุณภาพการศึกษาภายในสถานศึกษา
โดยกำ� หนดผรู้ บั ผดิ ชอบ และวิธีการท่ีเหมาะสม
๒.๕ ติดตามผลการด�ำเนินการเพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานของสถานศึกษา และน�ำผลการติดตามไปใช้ประโยชน์ในการ
ปรับปรงุ พฒั นา
๒.๖ จดั ทำ� รายงานผลการประเมินตนเอง (Self - Assessment Report
: SAR) ตามมาตรฐานการศกึ ษาของสถานศกึ ษา นำ� เสนอรายงานผลการประเมิน
ตนเองต่อคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานใหค้ วามเห็นชอบ และจัดส่งรายงาน
ดงั กล่าวต่อสำ� นักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศึกษาเปน็ ประจำ� ทุกป ี
61
แนวทางการพฒั นาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๒.๗ พัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพโดยพิจารณาจากรายงานผล
การประเมินตนเอง (Self-Assessment Report : SAR) และตามคำ� แนะน�ำของ
ส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาหรือส�ำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
เพ่ือให้การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและพัฒนา
อย่างตอ่ เนือ่ ง
๓. สถานศึกษาแต่ละแห่งให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐาน
และประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอกของ
สถานศึกษา เพื่อปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพการศึกษาตามข้อเสนอแนะของ
สำ� นักงานรับรองมาตรฐานและประเมนิ คุณภาพการศึกษา (สมศ.) และหน่วยงาน
ต้นสังกดั หรอื หนว่ ยงานท่ีก�ำกับดูแล เพ่อื น�ำไปสู่การพัฒนาคณุ ภาพและมาตรฐาน
ของสถานศกึ ษา
ระดบั สำ� นกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษา/สำ� นักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา/ส�ำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ ในฐานะ
หน่วยงานต้นสังกดั หรอื หน่วยงานท่ีก�ำกับดแู ล ดำ� เนนิ การดังตอ่ ไปน้ี
๑. ศึกษา วิเคราะห์ รายงานผลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ตลอดจนให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือและแนะน�ำสถานศึกษา เพื่อการพัฒนาระบบ
ประกนั คณุ ภาพการศึกษาของสถานศึกษาแตล่ ะแห่งอย่างต่อเน่ือง
๒. รวบรวม และสังเคราะห์รายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศึกษา
(Self-Assessment Report : SAR) พร้อมกับประเด็นต่างๆ ท่ีต้องการให้มี
การประเมนิ ผลและการตดิ ตาม ตรวจสอบซ่งึ รวบรวมได้จากหนว่ ยงานท่เี กีย่ วขอ้ ง
หรือจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษาแห่งน้ัน และจัดส่งไปยังส�ำนักงานรับรอง
มาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อใช้เป็นข้อมูลและแนวทาง
ในการประเมนิ คุณภาพภายนอก
62
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๓. ตดิ ตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรงุ และพฒั นาคุณภาพการศึกษาของ
สถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพื่อการน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา
๔. ให้ความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพ
การศึกษา (สมศ.) ในการประเมินคุณภาพภายนอก
๕. อาจมอบหมายบุคคลที่ไม่ได้เป็นผู้ประเมินเข้าร่วมสังเกตการณ์ และ
ให้ขอ้ มลู เพ่มิ เตมิ ในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ระดบั สำ� นักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขั้นพน้ื ฐาน
๑. ส่งเสริม สนับสนุน ให้ค�ำปรึกษา ช่วยเหลือ ต่อส�ำนักงานเขตพ้ืนท่ี
การศึกษา เพอ่ื การพฒั นาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา
๒. ศึกษา วิเคราะห์ สรปุ ผลรายงานผลการประเมนิ ตนเองของสถานศกึ ษา
(Self-Assessment Report : SAR) และรวบรวมประเด็นท่ีต้องการให้มีการ
ประเมินผลและติดตามตรวจสอบซึ่งรวบรวมได้จากหน่วยงาน ที่เก่ียวข้องหรือ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกับสถานศึกษา ไปยังส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือใช้เป็นข้อมูลและแนวทางในการประเมินคุณภาพ
ภายนอก
๓. ติดตามผลการด�ำเนินงาน ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ของสถานศึกษาตามข้อเสนอแนะของส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) เพ่ือน�ำไปสู่การพัฒนาคุณภาพและมาตรฐาน
การศกึ ษาของสถานศึกษา
๔. ประสานความร่วมมือกับส�ำนักงานรับรองมาตรฐานและประเมิน
คุณภาพการศึกษา (สมศ.) ในการจัดบุคคลร่วมเป็นผู้ประเมินคุณภาพภายนอก
กบั ส�ำนกั งานรบั รองมาตรฐานและประเมินคณุ ภาพการศกึ ษา (สมศ.)
63
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
๕. อาจมอบหมายบุคคลท่ไี มไ่ ดเ้ ป็นผู้ประเมนิ เขา้ รว่ มสังเกตการณ์ และให้
ข้อมูลเพ่ิมเติมในกระบวนการประเมนิ คณุ ภาพภายนอก
ประกาศ ณ วันท่ี ๑๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๑
นายบญุ รกั ษ์ ยอดเพชร
เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน
64
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
คณะทำ�งาน
ท่ีปรึกษา เลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พน้ื ฐาน
ดร.อำ� นาจ วิชยานวุ ัติ รองเลขาธกิ ารคณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้นื ฐาน
ดร.วฒั นาพร ระงบั ทกุ ข์ ผ้อู �ำนวยการสำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา
ดร.วิษณุ ทรัพยส์ มบตั ิ ส�ำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขนั้ พืน้ ฐาน
ผ้รู ับผดิ ชอบโครงการ ผอู้ �ำนวยการกลุ่มพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพ
ดร.มธุรส ประภาจนั ทร์ การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการพิเศษ
นางสอุ ารีย์ ชนื่ เจรญิ ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วชิ าการศึกษาชำ� นาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวังมจี งม ี ส�ำนักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นักวิชาการศกึ ษาช�ำนาญการ
นายประสิทธิ์ ท�ำกันหา ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศึกษาปฏบิ ตั กิ าร
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
65
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศกึ ษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
นางสาวยลดา โพธิสิงห ์ พนกั งานจา้ งเหมาบริการ
สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นายสทา้ น พวกดอนเค็ง พนักงานจา้ งเหมาบรกิ าร
สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นางสาวปทติ ตา ฉายแสง พนักงานจา้ งเหมาบรกิ าร
สำ� นกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ผทู้ รงคุณวฒุ ิพิจารณาเนอ้ื หา ข้าราชการบ�ำนาญ
ดร.ไพรวัลย ์ พทิ กั ษส์ าลี สำ� นกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้นื ฐาน
คณะยกร่างและเขียนเอกสาร ผู้อ�ำนวยการกลุม่ พฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพ
ดร.มธรุ ส ประภาจนั ทร์ การศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน
สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศึกษาชำ� นาญการพเิ ศษ
นางสุอารีย์ ช่นื เจริญ ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวงั มีจงมี ส�ำนกั ทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นักวชิ าการศึกษาปฏิบัตกิ าร
นางสาวอนงนาฏ อินกองงาม ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวิชาการศึกษาช�ำนาญการ
นางสาวรุ่งทิวา งามตา ส�ำนักตดิ ตามและประเมนิ ผล
การจัดการศกึ ษาข้นั พนื้ ฐาน สพฐ.
66
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคณุ ภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑
นายธัญญา เรืองแกว้ ข้าราชการบ�ำนาญ
นางร�ำไพ ไชยพาลี ข้าราชการบำ� นาญ
นางสาวสวุ ณี พมิ พกรรณ์ ขา้ ราชการบำ� นาญ
นายสมบัติ เนตรสวา่ ง ศกึ ษานิเทศกช์ �ำนาญการพเิ ศษ
สำ� นกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษา
สระบรุ ี เขต ๑
ดร.กนกมนตร นาจวง ศกึ ษานเิ ทศกช์ ำ� นาญการพเิ ศษ
สำ� นักงานเขตพ้ืนท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษา
ขอนแก่น เขต ๓
ดร.วราภรณ์ แกว้ สขี าว ศกึ ษานิเทศก์ชำ� นาญการพเิ ศษ
ส�ำนกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
นราธวิ าส เขต ๒
นางสาวพไิ ลลกั ษณ์ หมนั่ วงศ์ ศึกษานเิ ทศก์ช�ำนาญการพิเศษ
สำ� นกั งานเขตพื้นท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษา
อบุ ลราชธานี เขต ๔
นางสาวสุนทรี จันทรส์ ำ� ราญ ศึกษานเิ ทศก์ชำ� นาญการพิเศษ
ส�ำนกั งานเขตพ้ืนที่การศึกษามัธยมศกึ ษา
เขต ๕ (สิงหบ์ ุรี)
ดร.สุชาติ บรรจงการ ผอู้ ำ� นวยการโรงเรยี นพิบลู ประชาสรรค์
สำ� นักบริหารงานการศกึ ษาพิเศษ สพฐ.
นางสาวศริ ินทพิ ย์ ล�ำ้ เลิศ นักประชาสมั พันธช์ �ำนาญการ
สำ� นักงานเขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
อุบลราชธานี เขต ๔
67
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคุณภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
คณะบรรณาธกิ ารกิจ ผู้อำ� นวยการกลมุ่ พฒั นาระบบการประกนั คุณภาพ
ดร.มธรุ ส ประภาจันทร์ การศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
ส�ำนกั ทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นักวิชาการศกึ ษาชำ� นาญการพิเศษ
นางสุอารยี ์ ชืน่ เจรญิ สำ� นักทดสอบทางการศกึ ษา สพฐ.
นักวชิ าการศึกษาชำ� นาญการ
ดร.ฉตั รชยั หวงั มีจงม ี ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศกึ ษาชำ� นาญการ
นายประสทิ ธ์ิ ทำ� กันหา สำ� นักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
นกั วิชาการศกึ ษาปฏบิ ัตกิ าร
นางสาวอนงนาฏ อนิ กองงาม ส�ำนักทดสอบทางการศึกษา สพฐ.
ข้าราชการบ�ำนาญ
นางสาวสุวณ ี พมิ พกรรณ์ ผอู้ ำ� นวยการกลมุ่ นเิ ทศ
นายสมโภชน ์ หลักฐาน ติดตามและประเมนิ ผลการจัดการศกึ ษา
สำ� นักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา
ศรสี ะเกษ เขต ๑
ศกึ ษานิเทศก์ชำ� นาญการพิเศษ
นายสมบตั ิ เนตรสว่าง ส�ำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระบรุ ี
เขต ๑
ศึกษานิเทศกช์ ำ� นาญการพิเศษ
ดร.กนกมนตร นาจวง สำ� นกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษา
ขอนแก่น เขต ๓
ออกแบบปก นักประชาสมั พันธช์ �ำนาญการ
นางสาวศิรินทพิ ย์ ลำ้� เลิศ ส�ำนกั งานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศกึ ษา
อบุ ลราชธานี เขต ๔
68
แนวทางการพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกนั คณุ ภาพการศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๑
สำานักทดสอบทางการศกึ ษา
สำานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน
กระทรวงศกึ ษาธกิ าร
70 http://bet.obec.go.th ๐ ๒๒๘๘ ๕๗๕๗ - ๘ ๐ ๒๖๒๘ ๕๘๖๒
แนวทางการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพการศึกษา ตามกฎกระทรวงการประกันคณุ ภาพการศกึ ษา พ.ศ. ๒๕๖๑