The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.

เล่มรายงานโครงการ

Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search

เล่มรายงานโครงการ

เล่มรายงานโครงการ



คำนำ

รายงานการดำเนนิ งานโครงการเสรมิ สร้างคณุ ธรรม จริยธรรมและธรรมภิบาลในถานศกึ ษา
“ปอ้ งกันการทุจรติ ”“ภายใต้ช่อื โรงเรียนสุจริต”(กิจกรรมประชมุ ผรู้ ับผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสจุ รติ )
เลม่ น้ี ประกอบดว้ ย หลกั การและความเป็นมา แนวทางการดำเนินงานของโครงการโรงเรยี นสจุ ริต
วิธกี ารดำเนนิ งาน ผลการประเมินความพึงพอใจในการเข้าร่วมประชมุ สรปุ ผลและข้อเสนอแนะ
ซ่ึงผจู้ ดั ทำได้รวบรวมขึ้นมา หวงั เป็นอยา่ งยิง่ วา่ เอกสารเลม่ น้จี ะมปี ระโยชนต์ ่อผูอ้ ่านทุกท่าน

ผูจ้ ดั ทำ

สารบัญ ข

คำนำ ก
สารบัญ ข
บทท่ี 1 บทนำ 1
บทท่ี 2 เอกสารท่เี ก่ยี วขอ้ ง 5
บทที่ 3 วิธีการดำเนินการ 17
บทท่ี 4 ผลการดำเนนิ การ 20
บทที่ 5 สรปุ อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ 21
ภาคผนวก ก คำสง่ั แตง่ ตัง้ คณะกรรมการ 26
ภาคผนวก ข ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ 29
ภาคผนวก ค ประมวลภาพกจิ กรรม 36

1

บทที่ 1
บทนำ

หลักการและเหตุผล

สถานการณ์และสภาพปัญหาของชาติ ในปัจจุบันเป็นที่ประจักษ์โดยทั่วกันแล้ววา่ การที่ประเทศม่งุ
พฒั นาทางดา้ นเศรษฐกิจและการเงินเพื่อสร้างความแขง็ แกร่งทางการเงินและการคลังของประเทศอย่างมาก
สง่ ผลใหเ้ กดิ การพฒั นาทางด้านเศรษฐกจิ และความเจริญทางด้านวัตถุอยา่ งเหน็ ได้ชัด ทิศทางของการพัฒนา
นั้นก็มิได้เปน็ ไปอย่างยั่งยืนและครอบคลมุ ทัง้ ด้านคนและวัตถุ เพราะการพัฒนาประเทศโดยมุ่งความเจรญิ
ทางเศรษฐกิจและความกา้ วหน้าทางเทคโนโลยีทีเ่ น้นเรื่องวัตถุอุปกรณ์อย่างรวดเรว็ โดยขาดความสมดุลกบั
การพฒั นาทางด้านจติ ใจของคนให้มีคณุ ธรรมจรยิ ธรรมและค่านิยมท่ีดี ไดก้ อ่ ใหเ้ กิดปัญหาท่ีส่งผลกระทบต่อ
คุณภาพชวี ิตของคนในประเทศจำนวนมาก ผลของการพัฒนา เหลา่ น้ี จึงเปน็ ท่มี าของปัญหาสังคมปัจจุบันที่
จะทวีความรุนแรงขึ้นเป็นลำดับ โดยเฉพาะกลุ่มเด็กและเยาวชน ซึ่งเป็นอนาคตของประเทศชาติกำลัง
ประสบปัญหาสังคมหลายด้านที่รมุ ล้อมคุกคามเด็กเยาวชน นักเรียน นกั ศึกษา ทำใหห้ ลงผดิ และมีพฤติกรรม
ที่เบี่ยงเบน ขาดระเบียบวินัยฯ ละทิ้งค่านิยมความเป็น ไทย และขาดคุณธรรม เป็นปัญหาสังคมที่ควรแก้ไข
เปน็ การเรง่ ดว่ น

จากสภาพสังคมในปัจจุบันมีความเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วและหลากหลายอันเนื่องมาจาก
ความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ข้อมูลข่าวสารต่างๆ แพร่หลายอย่างรวดเร็วทำให้
แนวคิด วิถีชีวติ ค่านิยมของบุคคลในสังคมเกดิ ความเปลี่ยนแปลง เบี่ยงเบนไปจากหลัก ศีลธรรม จริยธรรม
ที่ดีงามตามหลักธรรมของพุทธศาสนา กลับชื่นชมวัฒนธรรมตะวันตก ที่เน้นการ บริโภควัตถุต่างๆ จนเกิด
ความสบั สน ระบบสังคมที่เคยดีงามของไทยได้รับผลกระทบอยา่ งหลีกเลี่ยง ไมไ่ ด้ อันสบื เนอ่ื งมาจากการให้
ความสำคัญในด้านเศรษฐกิจซึ่งเป็นการพัฒนาทางด้านวัตถุมากกว่า พัฒนาสังคมในด้านอื่น ๆ โดยเฉพาะ
การพัฒนาทางด้านจิตใจจึงทำให้เกิดปัญหาความย่อหย่อนของคุณธรรมจริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติที่
เห็นแก่ประโยชนส์ ่วนตัวมากกว่าประโยชน์ส่วนรวม ยังสง่ ผล ไปยังปัญหาต่าง ๆ ทเี่ กดิ ขึน้ ในสังคมไทย อาทิ
เกิดปัญหาทจุ ริตคอรปั ชั่น ปญั หายาเสพติด และปญั หาหย่าร้าง ปญั หา นักเรยี นตีกัน ปัญหาการรักร่วมเพศ
การหลงมัวเมาในอบายมุข การปล่อยตัวปล่อยใจ ขาดระเบียบวินัย ไร้ทิศทางของชีวิต ฟุ่มเฟือย และอื่น ๆ
อีกมากมาย หากปลอ่ ยไวจ้ ะเปน็ ผลกระทบต่อความมัน่ คงของประเทศด้วย

ผลจากการพัฒนาประเทศในระยะผ่านมาโดยเฉพาะด้านเศรษฐกิจทำให้เกิดการขยายตัว
ทางเศรษฐกิจในอัตราสูง มีความก้าวหน้าทางวัตถุและเทคโนโลยีใหม่ ๆ อย่างรวดเร็ว ประกอบกับอิทธิพล
จากวัฒนธรรมต่างชาติเขา้ มามบี ทบาทในสงั คมไทย ทำให้เกดิ ปญั หาสังคมท่ีสลบั ซบั ซอ้ น ระบบสังคมที่เคยดี
งามของไทยได้รับผลกระทบอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ ซึ่งการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจเป็น การพัฒนาทางด้าน
วัตถมุ ากกวา่ พฒั นาสังคมในด้านอืน่ ๆ โดยเฉพาะการพฒั นาทางด้านจิตใจจึงทำใหเ้ กิดปัญหา

ความย่อหย่อนของคุณธรรม จริยธรรม มีการประพฤติปฏิบัติที่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตัวมากกว่า
สว่ นรวม การขาดคุณธรรมจริยธรรม ทำให้เกดิ ปญั หาทุจริตคอรปั ชน่ั ปญั หายาเสพติด และปัญหาอื่น ๆ อีก
มากมาย หากปล่อยไว้จะเป็นผลกระทบต่อความมั่นคงของประเทศด้วย การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรมของ
คนไทยในสงั คมใหเ้ ป็นคนดี จึงเป็น เร่ืองที่จำเปน็ เพราะคน ในสังคมตา่ งเรียกรอ้ งในเรื่องคุณธรรมจริยธรรม
ให้เกิดขึ้นในสังคมไทยแม้เป็น เรื่องที่มีความยากเปน็ อย่างยิ่ง เพราะเป็นกระบวนการที่มีความสลับซับซอ้ น
และมีองค์ประกอบอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง มากมาย ดังนั้น กระทรวงศึกษาธิการ โดยสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้พิจารณาถึงความจำเป็นที่จะต้องดำเนินการ ในเรื่องการเสริมสร้างคุณธรรม
จริยธรรมและธรรมภิบาลในสถานศกึ ษา “ โรงเรยี นสุจรติ ”

2

วตั ถปุ ระสงค์

1. เพ่ือพัฒนานกั เรียนทุกคนให้มคี ณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ตามหลกั สตู รแกนกลาง
การศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551

2. เพือ่ พฒั นาครผู ู้รบั ผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสจุ ริตให้สามารถจดั กิจกรรมตามแนวทาง
โรงเรยี นสุจริตได้

3. เพอ่ื ส่งเสริม สนับสนนุ โรงเรียนจัดกิจกรรมเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิบาลใน
สถานศึกษา “ โครงการโรงเรียนสจุ ริต”

เป้าหมาย
1. นักเรียนรอ้ ยละ 100 มีคุณลักษณะอันพงึ ประสงคต์ ามหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน

พุทธศักราช 2551
2. ครผู ูร้ บั ผิดชอบโครงการโรงเรียนสุจริตทุกโรงๆละ 1 คน
3. โรงเรียนต้นแบบ โรงเรียนเครอื ข่ายจัดกจิ กรรมเสริมสร้างคุณธรรม จรยิ ธรรม และ

ธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษาได้อย่างหลากหลายและเหมาะสมกบั วยั

4. ระยะเวลาดำเนนิ งาน ปงี บประมาณ 2564

5. สถานทดี่ ำเนินโครงการ หอ้ งประชมุ คชสาร สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2
และโรงเรียนในสังกัด

6. งบประมาณ 40,000 บาท
ไดร้ บั จัดสรรงบประมาณจากสำนกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน แผนงานงานบูรณา พ.ศ.

2559 จำนวน 40,000 บาท ภายใต้แผนงานบูรณาการป้องกัน ปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
โครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา

รายละเอียดงบประมาณทใ่ี ช้ในการดำเนนิ การ

งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย รว

กิจกรรม/รายละเอยี ดการใชง้ บประมาณ ค่าตอบแทน คา่ ใชส้ อย คา่ วัสดุ ค่าพาหนะ ม

1.ประชมุ ปฏิบตั กิ ารวางแผนเตรยี มการอบรม

ประกอบด้วยคณะทำงาน 5 คน วิทยากร 1 คน

วนั ท่ี 16-17 สิงหาคม 2564

-คา่ อาหารกลางวนั ของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 2 ม้ือ

( 5x100)

-คา่ อาหารว่างของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 4 มอื้ ๆละ

30 บาท ( 5 x30x4) 1,000

3

-คา่ ตอบแทนวทิ ยากรจำนวน 1 คน 6 ชม.ๆละ 600 บาท 600
-ค่าพาหนะการเดนิ ทางคณะทำงานและวิทยากร 3,600
นางวาสนา เกตโุ สระ จำนวน 600 บาท
นายบญุ เกิด เหลามี จำนวน 400 บาท 600
นางจนิ ตนา พบบุญ จำนวน 200 บาท 400
นายสทิ ธิกร ศรจี ันทร์ จำนวน 400 บาท 200
นางระย้า สพานทอง 600 บาท 400
นายนคร เจอื จนั ทร์ 118 x2x4 600
รุ่นที่ 1 วันท่ี 18 สิงหาคม 2564 944
-การอบรมปฏิบตั ิการออนไลน์ครูผู้รบั ผิดชอบโครงการ
โรงเรยี นสจุ รติ ทกุ โรง โรงเรยี นจากอำเภอทา่ ตูม 64 โรง 500 รวม
คณะทำงาน 5 คน วทิ ยากร 1 คน 300
คา่ อาหารกลางวนั ของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 1 ม้ือ
( 5x100) 3,600
-ค่าอาหารว่างของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 2 มือ้ ๆ
ละ 30 บาท (5x30x2) 300
-คา่ ตอบแทนวทิ ยากรจำนวน 1 คน 6 ชม.ๆละ 600 บาท 200
-ค่าพาหนะการเดินทางคณะทำงานและวิทยากร 100
นางวาสนา เกตโุ สระ จำนวน 300 บาท 200
นายบุญเกดิ เหลามี จำนวน 200 บาท 300
นางจนิ ตนา พบบญุ จำนวน 100 บาท 944
นายสทิ ธกิ ร ศรจี ันทร์ จำนวน 200 บาท งบประมาณจำแนกตามหมวดรายจ่าย
นางระย้า สพานทอง 300 บาท ค่าตอบแทน ค่าใช้สอย คา่ วสั ดุ คา่ พาหนะ
นายนคร เจอื จนั ทร์ 118 x2x4
500 300
กิจกรรม/รายละเอยี ดการใช้งบประมาณ 300
รนุ่ ท่ี 2 วันที่ .19 สงิ หาคม 2564การอบรมปฏบิ ัติ
ออนไลนค์ รผู ้รู บั ผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสจุ รติ ทกุ โรง ใน 3,600
อำเภอรตั นบรุ ี และอำเภอโนนนารายณ์ จำนวน 76 โรง
-คา่ อาหารกลางวนั ของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 1
ม้ือ ( 5x100)
-ค่าอาหารว่างของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 2 มอ้ื ๆ
ละ 30 บาท ( 5 x30x2)
-คา่ ตอบแทนวทิ ยากรจำนวน 1 คน 6 ชม.ๆละ 600 บาท
ค่าพาหนะการเดินทางคณะทำงานและวิทยากร
นางวาสนา เกตโุ สระ จำนวน 300 บาท
นายบุญเกิด เหลามี จำนวน 200 บาท
นางจินตนา พบบญุ จำนวน 100 บาท
นายสทิ ธกิ ร ศรีจนั ทร์ จำนวน 200 บาท

4

นางระย้า สพานทอง จำนวน 300 บาท 3,600 500 200
นายนคร เจอื จนั ทร์ 118 x2x4 14,400 300 100
รนุ่ ที่ 3 วนั ที่ .20. สิงหาคม 2564 200
การอบรมปฏบิ ตั ิออนไลนค์ รูผู้รับผดิ ชอบโครงการโรงเรียน 12,324 300
สุจรติ ทกุ โรง ในอำเภอชมุ พลบรุ ี และอำเภอสนม จำนวน 4,000 12,324 944
78 โรง
- คา่ อาหารกลางวันของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 1 300
มอื้ ( 5x100) 200
- คา่ อาหารว่างของคณะทำงานจำนวน 5 คนๆละ 2 ม้ือๆ 100
ละ 30 บาท ( 5 x30x2) 200
-คา่ ตอบแทนวทิ ยากรจำนวน 1 คน 6 ชม.ๆละ 600 บาท 300
ค่าพาหนะการเดินทางคณะทำงานและวิทยากร 944
นางวาสนา เกตโุ สระ จำนวน 300 บาท
นายบุญเกิด เหลามี จำนวน 200 บาท 9,276 40,000
นางจินตนา พบบญุ จำนวน 100 บาท
นายสทิ ธิกร ศรีจนั ทร์ จำนวน 200 บาท
นางระยา้ สพานทอง จำนวน 300 บาท
นายนคร เจือจันทร์ 118 x2x4
ค่าวัสดุ/อุปกรณ์ /สำเนาเอกสาร

รวมทัง้ หมด

หมายเหตุ : ถ่วั จ่ายทกุ รายการ

ความคาดหวังทจ่ี ะเกิดข้นึ
1 โรงเรียนตน้ แบบและโรงเรียนเครือข่ายดำเนนิ งานกจิ กรรมเสรมิ สรา้ งคุณธรรมให้กบั

นกั เรยี น 5 กจิ กรรมได้ชัดเจน เป็นรปู ธรรม
2 โรงเรยี นขับเคล่ือนดำเนินงานด้านโรงเรียนสุจรติ ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพตามบรบิ ท

ของโรงเรยี น
3 นกั เรยี นไดร้ บั การสง่ เสรมิ ใหเ้ ปน็ คนดดี ว้ ยวิธกี ารท่หี ลากหลาย เหมาะสมกบั วัย

5

บทที่ 2
เอกสารทีเ่ ก่ียวข้อง

ด้วยยุทธศาสตร์ชาติว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ.2560-2564) ได้
กาหนดวิสัยทัศน์ว่า “ประเทศไทยใสสะอาด ไทยทั้งชาติต้านทจุ รติ (Zero tolerance & Clean Thailand)
มีพันธกิจในการสร้างวัฒนธรรมต่อต้านการทุจริต ยกระดับธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการทุกภาคส่วน
แบบบรู ณาการและปฏิรปู กระบวนการปอ้ งกันและปราบปรามการทจุ ริตท้ังระบบ ให้มมี าตรฐานสากล โดยมี
เป้าหมายเชิงยุทธศาสตร์ คือ ประเทศไทยได้รับการประเมินดัชนีการรับรู้การทุจริต ( Corruption
Perception Index) ไมน่ อ้ ยกวา่ รอ้ ยละ 50 นอกจากนี้ ทิศทางการพฒั นายทุ ธศาสตร์ชาตวิ ่าดว้ ยการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริตระยะที่ 3 ยังมีความสอดคล้องกับทิศทางของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติฉบับที่ 12 (ยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการเพิ่มประสิทธิภาพและธรรมาภิบาลในภาครัฐ) และทิศทาง
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (ยุทธศาสตร์การปลูกฝัง “คนไทยไม่โกง” และยุทธศาสตร์การป้องกันด้วยการ
เสริมสร้างสังคมธรรมาภิบาล) อีกด้วย สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ
(สานักงาน ป.ป.ช.) ทาข้อตกลงความร่วมมือต่อต้านการทุจริตร่วมกับกระทรวงศึกษาธิการ เพื่อประสาน
ความรว่ มมอื ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ คอร์รัปชัน โดยอาศัยกลไกทางการศกึ ษาเป็นเครื่องมือในการปลูกจิตสา
นึกให้แก่เยาวชน ถือเป็นจุดเริ่มต้นของการดาเนินงานโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภิ
บาลในสถานศึกษา “ปอ้ งกนั การทุจริต” (โครงการโรงเรียนสจุ ริต) ของสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้ัน
พื้นฐาน โดยให้ความสำคัญกับการเตรียมการด้านป้องกันและราบรามการทุจริตในสถานศึกษา เพื่อ
วางรากฐานการปลูกจิตสานึก ซึ่งเป็นกลไกสำคัญในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตของประเทศมา
อย่างต่อเนื่อง ดังนั้น เพื่อตอบสนองยุทธศาสตร์และแนวทางการดาเนินงานของสานักงานคณะกรรมการ
การศึกษาข้นั พ้ืนฐาน โรงเรียนทา่ ศาลาประสทิ ธศิ์ ึกษา จงึ ได้จัดทาโครงการเสริมสรา้ งคุณธรรม จรยิ ธรรมและ
ธรรมาภิบาลในสถานศึกษาศึกษา “โรงเรียนสุจริต” ขึ้น โดยมีเป้าหมายให้มีการบริหารจัดการ และบูรณา
การเรยี นการสอนท่ีเน้นให้ผ้เู รียนมคี ุณลักษณะ 5 ประการ คือ มีทักษะกระบวนการคิด มวี ินยั ซื่อสัตย์สุจริต
อยู่อย่างพอเพียงและมีจิตสาธารณะ เพื่อพัฒนาศักยภาพผู้บริหาร ครู นักเรียนแกนนาและผู้เกี่ยวข้องให้มี
ความเข้าใจ ตลอดจนเป็นกลไกสำคัญในการขับเคลื่อน “โรงเรียนสุจริต” ให้ประสบความสำเร็จและยั่งยืน
ตอ่ ไป

วสิ ยั ทัศน์
“สพฐ. เปน็ องค์กรแห่งการเรียนรอู้ ยอู่ ย่างพอเพยี งหลีกเล่ยี งอบายมุขทุกหน่วยงานรับผิดชอบ

ตอบสนองการปูองกนั ทจุ ริต”

พนั ธกิจ
1. พฒั นาทุกหนว่ ยงานของสพฐ. ใหเ้ ปน็ องค์กรแห่งการเรียนรู้ มรี ะบบและวถิ พี อเพียง มคี วามสุจรติ

รบั ผดิ ชอบ ปลอดอบายมขุ
2. พัฒนากระบวนการเรียนรู้ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง รวมทั้งปลูกจิตส านึกให้นักเรียนสังกัด

สพฐ. มีทกั ษะกระบวนการคดิ มวี นิ ัย ซือ่ สตั ย์ อย่อู ย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ ยึดม่นั ในคณุ ธรรม จริยธรรม
และ ปูองกันการทจุ รติ

3. พัฒนาครู ผู้บริหาร บุคลากรทางการศึกษาแบบบูรณาการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่องให้มี
คณุ ภาพ ความพอเพยี ง สุจริต รับผดิ ชอบ ปลอดอบายมขุ บนฐานการเรยี นรทู้ ่ีเท่าทนั ต่อการเปลยี่ นแปลง

6

4. ส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการองค์ความรู้ด้านการส่งเสริมและต่อต้านการทุจริต อย่างเป็น
ระบบ และ มเี ครอื ข่ายระดับชาติและนานาชาติท่ีเขม้ แขง็ และก้าวหนา้ อย่างมีพลวัตร วสิ ัยทัศน์ พนั ธกจิ

พนั ธกจิ แบบบรู ณาการ

“พัฒนาสพฐ. ให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ทั้งระบบ ปลอดอบายมุข ร่วมปูองกันทุจริต ปลูกจิตส
านึก ให้นักเรียนสังกัด สพฐ. มีความรู้ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง มีทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์
อยูอ่ ยา่ งพอเพยี ง มจี ิตสาธารณะและยึดม่ันในคุณธรรม จรยิ ธรรม ควบคู่กับการพัฒนาครู ผบู้ รหิ าร บุคลากร
ทางการศึกษา อย่างบูรณาการ โดยให้ผู้เกี่ยวข้อง มีบทบาทในกระบวนการด าเนินงานอย่างมีส่วนร่วม
โปร่งใส เสมอภาคและ เป็นธรรม รวมทั้งการปฏิบตั ิ การพัฒนาและเผยแพร่องค์ความรู้ด้านการปูองกันการ
ทจุ รติ อย่างมีจรรยาบรรณ ท่ีตอ่ เนื่องและยง่ั ยืน”

ตัวชี้วัดหลัก

ถือเป็นตัวชี้วัดความสำเร็จที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา โดยมุ่งให้นักเรียน ครู ผู้บริหาร
สถานศึกษา และบุคลากรทางการศึกษา เกิดคุณลักษณะของโรงเรียนสุจริต เพื่อให้ผู้ปฏิบัติสามารถ
ดำเนินการ ได้ตรง จงึ ได้กำหนดตวั ชี้วัดหลกั ดงั น้ี

1. นักเรียนสังกัด สพฐ. มีกระบวนการเรียนรู้ทีเ่ ท่าทันต่อการเปล่ียนแปลง มีทักษะกระบวนการคิด
มีวินยั ซือ่ สัตย์ อยูอ่ ยา่ งพอเพียง มจี ิตสาธารณะ ยึดมนั่ ในคุณธรรม จรยิ ธรรม และป้องกันการทจุ รติ

2. ครู ผบู้ รหิ าร บุคลากรทางการศึกษามีส่วนร่วมในการปอู งกนั การทุจรติ
3. นักเรยี นสังกัด สพฐ. ครู ผู้บรหิ าร บุคลากรทางการศึกษา รู้เท่าทนั รว่ มคิดปูองกนั การทจุ ริต

ยทุ ธศาสตร์

ยุทธศาสตร์ที่ 1 : สร้างองค์ความรู้และกระบวนการเรียนรู้ที่เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง ปลูกจิตส
านึก ทักษะกระบวนการคิด มีวินัย ซื่อสัตย์ อยู่อย่างพอเพียง มีจิตสาธารณะ ยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรม
แก่นกั เรียนสงั กดั สพฐ. ครู ผบู้ รหิ าร บุคลากรทางการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 2 : สพฐ. รวมพลังร่วมสร้างองค์กรแหง่ การเรียนรู้ สร้างระบบและวิถีพอเพียง สุจริต
รบั ผดิ ชอบ ปลอดอบายมขุ และปอู งกันการทจุ รติ

ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 3 : สรา้ งครู ผบู้ ริหาร บุคลากรทางการศึกษามืออาชีพเพื่อเป็นรากฐานในการป้องกัน
การทจุ ริตอยา่ งมีจติ สำนกึ และเป่ยี มด้วยคณุ ภาพ

การดำเนินการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ
(Integrity and Transparency Assessment: ITA) ที่ผ่านมา ถือว่าประสบความสำเร็จเป็นอย่างย่ิง โดย
ไดร้ บั ความรว่ มมอื จากหน่วยงานภาครัฐท่ีเข้าร่วมเป็นอยา่ งดีและได้รบั เสียงสะท้อนว่าการประเมินคุณธรรม
และความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐนั้น เป็นเครื่องมือที่ช่วยให้หน่วยงานที่รับการ
ประเมิน ได้มีการตรวจสอบและสอบทานตนเอง มีการปรับปรุงการดำเนินงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิ
บาลในส่วนที่ ยังขาดตกบกพร่อง มีการพัฒนาระบบงานให้เกิดความโปร่งใส มีการปรับปรุงการบริหารงาน
และการปฏิบัติงาน อย่างเป็นธรรมทั้งต่อบุคลากรในหน่วยงานและต่อผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหน่วยงานได้
เป็นอยา่ งดี

7

ปัจจุบันการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ ได้ถูก
กำหนดเป็นตัวชี้วัดและค่าเป้าหมายของแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ ประเด็นที่ 21 การต่อต้าน การ
ทจุ ริตและประพฤติมชิ อบ (พ.ศ. 2561 – 2580) โดยในระยะแรก (พ.ศ. 2561 – 2565) กำหนด ค่าเป้าหมาย
ให้หนว่ ยงานภาครฐั ทมี่ ผี ลการประเมนิ ผา่ นเกณฑ์ (85 คะแนนขนึ้ ไป) ไมน่ ้อยกว่าร้อยละ 80

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน นอกจากจะเป็นหน่วยงานระดับกรม ที่รับการ
ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานจากสำนักงาน ป.ป.ช. แล้ว ยังเป็นหน่วยงาน ที่นำ
เครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and
Transparency Assessment: ITA) ไปขยายผลเพื่อพัฒนาและยกระดับคุณธรรมและความโปร่งใส ของ
หน่วยงานในสังกัด โดยการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่
การศกึ ษา จำนวน 225 เขต อย่างตอ่ เนอ่ื ง และได้พฒั นานวตั กรรมการประเมนิ คณุ ธรรมและความโปร่งใสใน
การดำเนินงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาในรูปแบบออนไลน์ โดยมีแนวคิดการพัฒนานวัตกรรมการ
ประเมินด้วยระบบ ITA Online เพื่อความสะดวกในการจัดเก็บข้อมูล รวดเร็วในการวิเคราะห์และ
ประมวลผล โปร่งใสตรวจสอบได้ด้วยระบบเวลาจริง (Real-time system) และการประเมินมีประสิทธภิ าพ
ลดภาระงาน ด้านเอกสาร (Paperless) ของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาที่รับการประเมินโดยปรับปรุง
ระบบการเก็บข้อมลู ใหเ้ ปน็ แบบออนไลนเ์ ตม็ รปู แบบ

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 สำนักงาน ป.ป.ช. โดยสำนักประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส ของ
หน่วยงานภาครัฐ ได้พัฒนาเกณฑ์การประเมินให้เกิดการสนับสนุนต่อการยกระดับค่าคะแนนดัชนีการรับรู้
การทจุ รติ ของประเทศไทยได้อย่างเปน็ รูปธรรม ซง่ึ เป็นไปตามทิศทางของยุทธศาสตรช์ าติว่าด้วยการป้องกัน
และปราบปรามการทุจริต ระยะที่ 3 (พ.ศ. 2560 – 2564) โดยได้สังเคราะห์ผลการวิจัยเรื่องแนวทางการ
ปรับปรุงและแนวการพัฒนาเครื่องมือการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของ
หน่วยงาน ภาครัฐ เพื่อนำไปสู่การยกระดับคะแนนดัชนีการรับรู้การทุจริต (Corruption Perceptions
Index: CPI) ของประเทศไทยให้สูงขึ้น และพัฒนาเกณฑ์การประเมินให้สามารถป้องกันการทุจริตเชิงรุกได้
อย่าง มีประสทิ ธิภาพ รวมท้งั มีการบูรณาการเครื่องมือส่งเสริมด้านคุณธรรมและความโปร่งใสจากหน่วยงาน
อื่น ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน ลดความซ้ำซ้อนของการดำเนินการ และมุ่งเน้นการร่วม
ดำเนินการ ขับเคล่ือนด้านธรรมาภิบาลในภาพรวมของประเทศ ส่งผลให้หน่วยงานราชการที่ได้รับการ
ประเมิน ได้ประโยชน์ จากการประเมิน และนำผลการประเมินไปการปรับปรุงและพัฒนาประสิทธิภาพใน
การปฏิบัติงาน และได้รับ ประโยชน์ในมุมของการสื่อสารภาพลักษณ์องค์กร โดยเฉพาะการแสดงให้สังคม
และสาธารณชนรับรู้ ว่าหนว่ ยงานใหค้ วามสำคญั กบั การเปิดเผยขอ้ มลู และการป้องกันการทจุ รติ ในหน่วยงาน
อย่างไร และการ ดำเนินการดังกล่าว ไม่เป็นต้นทุนหรือภาระของหน่วยงานมากเกินไป รวมทั้งต้องไม่เป็น
ภาระกบั บุคคล ท่เี ขา้ ร่วมกระบวนการประเมินด้วย

คณุ ลักษณะ 5 ประการของโรงเรียนสจุ รติ
1.ทักษะกระบวนการคดิ
2. มีวินัย
3. ซ่ือสัตย์ สุจริต
4. อย่อู ย่างพอเพียง
5. มจี ติ สาธารณะ

8

รูปแบบการจดั กจิ กรรมโรงเรยี นสุจริต

1. กิจกรรมรอ้ งเพลงชาติไทย บุคลากร ครู นกั เรียน ภายในโรงเรยี น มีการยืนตรงเคารพธงชาตทิ ุก
วนั ในระหว่างกิจกรรมหน้าเสาธง หรอื เวลา ๐๘.๐๐ น. และ ๑๘.๐๐ น. ทุกวนั และควรมีขั้นตอนการร้อง
เพลงชาตไิ ทย ในขั้นตอนแรกกอ่ นการดำเนินกิจกรรมอืน่ ๆ ภายในโรงเรยี น

2. กิจกรรมสวดมนตไ์ หว้พระ บคุ ลากร ครู นักเรยี น ภายในโรงเรยี น มกี ารสวดมนต์ไหว้พระ ทุกวนั
ในระหวา่ งกิจกรรมหนา้ เสาธงหรือชว่ งเวลาอ่ืน ๆ ตามความเหมาะสม และควรมขี นั้ ตอนการสวดมนต์ไหว้
พระหลงั ร้องเพลงชาติไทย ในขัน้ ตอนแรกก่อนการดำเนินกิจกรรมอ่นื ๆ ภายในโรงเรยี น

3. กิจกรรมกล่าวคำปฎิญญาโรงเรียนสจุ ริต บคุ ลากร ครู นักเรยี น ภายในโรงเรยี น มีการกลา่ วคำ
ปฎญิ ญาโรงเรยี นสจุ ริต ทุกวนั ในระหวา่ งกิจกรรมหน้าเสาธง และควรมีขน้ั ตอนการกล่าวคำปฎิญญา
โรงเรียนสุจรติ หลังร้องเพลงชาตไิ ทยและการสวดมนต์ไหว้พระ ในขั้นตอนแรกก่อนการดำเนินกิจกรรมอืน่ ๆ
ภายในโรงเรียน

โรงเรียนสุจริตดำเนินการอยา่ งไร
โรงเรยี นสุจริตทกุ โรงเรียน ตอ้ งดำเนินการกจิ กรรมต่าง ๆ ตามท่ีสำนักงานคณะกรรมการการศกึ ษา

ข้นั พืน้ ฐานกำหนดขึ้น สามารถศึกษาได้ตามหวั ข้อดังน้ี
1. แผนภมู ิการดำเนินงานโรงเรียนสจุ ริต
2. การจดั ทำคำส่งั ผ้รู ับผิดชอบโครงการ
3.จัดแผน/โครงการรองรับ
4.จัดทำส่งั ป.ป.ช.สพฐ.ชุมชน /ป.ป.ช.สพฐ.น้อย
5 การจัดคา่ ยเยาวชน “คนดีของแผน่ ดิน”
6. การรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นสจุ รติ
7. การจดั กจิ กรรมเพื่อใหเ้ กิดคุณลักษณะที่กำหนด
8.กจิ กรรมบริษัทสรา้ งการดี
9.งานวิจยั ๑๐๐๐ เรื่อง

9

10

การจัดทำคำส่ัง
2.1 จดั ทำคำส่ังผูร้ ับผดิ ชอบในโรงเรยี น
โรงเรยี นทีไ่ ดเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ดำเนนิ การจัดทาคาส่งั แต่งต้ังผรู้ ับผดิ ชอบโครงการฯ ระดับโรงเรียน เพ่ือทำ
หน้าทีร่ บั ผดิ ชอบ และประสานงานระหว่างสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาและสำนกั งานคณะกรรมการ
การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ให้ผู้ท่ีได้รับการอบรมการดาเนินงานจากสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน
ดำเนินการขยายผลแนวทางการดาเนนิ งานโครงการใหก้ ับครู นกั เรยี น และบุคลากรภายในโรงเรียน ให้มี
ความเขา้ ใจโครงการฯ รว่ มกัน
2.2 จดั ทำคำส่งั แตง่ ต้ัง ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย
โรงเรียนที่ไดเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ดำเนินการจดั ทำคำสงั่ แต่งตงั้ อนุกรรมการการป้องกันและปราบปรามการ
ทจุ รติ สำหรับนักเรียน (ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย) ดงั นี้
2.2.1 แตง่ ต้งั ป.ป.ช. สพฐ. นอ้ ย โดยมวี าระ 1 ปีการศึกษา ตามขนาดของโรงเรยี น (แบ่งตาม
สพฐ.) โดยเป็นนกั เรยี นระดับชั้นใดกไ็ ด้ ท่ีไดม้ าโดยการเลือกต้งั หรอื สรรหามาจากนกั เรียนท่ีมีคณุ ลักษณะ
สจุ รติ 5 ประการ
โรงเรยี นขนาดเลก็ จำนวน 5 คน
โรงเรยี นขนาดกลาง จำนวน 10 คน
โรงเรยี นขนาดใหญ่ จำนวน 15 คน
2.2.2 ส่งคำสั่งแตง่ ตงั้ ป.ป.ช. สพฐ. น้อย มายงั สำนักงานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาและสำนกั งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน
2.2.3 โรงเรียนประสานงานกับสำนักงานเขตพนื้ ที่การศึกษา รว่ มกนั ดำเนนิ การจัดอบรม ป.ป.ช.
สพฐ. น้อย เพือ่ ให้ทราบบทบาทหน้าทขี่ องตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนนิ การโครงการไปยงั สำนักงาน
เขตพ้นื ที่การศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้ พน้ื ฐาน
หากอนุกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. น้อย พ้นสภาพการศึกษา หรือ หมดวาระ ให้โรงเรยี นดาเนนิ การแตง่ ต้ังใหม่
และส่งคำสง่ั ใหมม่ ายังสานักงานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขนั้ พ้ืนฐาน
บทบาทหนา้ ที่ของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. น้อย
1. กำหนดมาตรการและแนวทางการดำเนนิ การส่งเสรมิ ป้องกนั และพัฒนาตามคุณลักษณะของโรงเรียน
สุจรติ
2. ปฏิบตั ติ นเป็นแบบอย่างที่ดตี ามคุณลักษณะของโรงเรยี นสจุ ริต
3. สอดส่องดแู ลพฤติกรรมของนักเรยี นท่ีไมพ่ ึงประสงค์ตามคณุ ลกั ษณะของโรงเรียนสจุ ริต
4. เป็นผู้นำในการสร้างเครือข่ายคณุ ลักษณะของโรงเรยี นสจุ รติ ในการดำเนินการจดั กจิ กรรมเพ่อื ป้องกันการ
ทจุ รติ ต่อโรงเรยี นและชุมชน
5. ประสานความรว่ มมือในการปฏิบัตงิ านระหว่างนกั เรียน โรงเรยี น ชุมชน และหน่วยงานทีเ่ ก่ยี วข้อง
6. สรรหา/คดั สรร ผปู้ ระพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามลกั ษณะของโรงเรยี นสจุ รติ
7. ยกยอ่ ง เชดิ ชเู กยี รติบุคคลที่เป็นแบบอย่างท่ดี ตี ามคุณลักษณะของโรงเรียนสุจริต
8. ประชาสัมพนั ธก์ ารดำเนนิ งานโครงการโรงเรียนสจุ รติ
9. รายงานผลการปฏบิ ตั ิงานต่อ ป.ป.ช. สพฐ. จังหวดั และหนว่ ยงานทีเ่ กีย่ วข้อง

11

2.3 จัดทำคำสั่งแต่งตั้ง ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน
โรงเรยี นท่ีไดเ้ ข้ารว่ มโครงการฯ ดำเนินการจัดทำคำสั่งแต่งต้งั อนุกรรมการการปอ้ งกนั และปราบปรามการ
ทจุ ริตสาหรับชมุ ชน (ป.ป.ช. สพฐ. ชุมชน) ดังนี้
2.3.1 แตง่ ตงั้ ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน โดยมีวาระ 4 ปี ประกอบด้วยบคุ ลากร ระหวา่ ง 9 ถึง 15 คน โดยมาจาก
ผแู้ ทนตา่ งๆ ดงั นี้
- ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาและ/หรือผูท้ รงคุณวฒุ ทิ ่เี หมาะสม ประธานกรรมการ
- ผแู้ ทนองค์กรสว่ นท้องถน่ิ กรรมการ
- ผู้แทนองค์กรศาสนา กรรมการ
- ผแู้ ทนชุมชน กรรมการ
- ผแู้ ทนผู้ปกครอง กรรมการ
- ผ้แู ทนครู กรรมการ
- ผูแ้ ทนศษิ ยเ์ ก่า กรรมการ
- ผู้อำนวยการโรงเรยี น กรรมการและเลขานุการ
2.3.2 ส่งคำสั่งแต่งตง้ั ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน มายังสำนักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาและสำนักงานคณะกรรมการ
การศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน
2.3.3 โรงเรียนประสานงานกับสำนกั งานเขตพน้ื ท่ีการศึกษา รว่ มกนั ดำเนินการจัดอบรม ป.ป.ช. สพฐ.
ชุมชน เพือ่ ใหท้ ราบบทบาทหนา้ ทข่ี องตนเอง พร้อมรายงานผลการดำเนนิ การโครงการไปยังสำนกั งานเขต
พ้ืนทีก่ ารศกึ ษาและสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พ้ืนฐาน
หากอนุกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน ส้นิ สภาพ (เสยี ชีวติ ย้ายภูมลิ าเนา ลาออก หรือหมดวาระ) หรอื ไม่
สามารถปฏิบัติหน้าที่ได้ ให้โรงเรียนดำเนินการแต่งตงั้ ใหม่ และสง่ คำสัง่ ใหม่ไปยังสำนักงานเขตพืน้ ท่ี
การศกึ ษาและสานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พนื้ ฐาน
บทบาทหน้าท่ีของคณะกรรมการ ป.ป.ช. สพฐ. ชมุ ชน
1. กำหนดมาตรการและแนวทางการดาเนนิ การส่งเสริมป้องกนั และพฒั นาตามคุณลักษณะของโรงเรียน
สจุ ริตร่วมกับโรงเรียน
2. ปฏบิ ัติตนเปน็ แบบอยา่ งที่ดตี ามคุณลักษณะของโรงเรยี นสจุ ริต
3. สง่ เสริมและสนบั สนนุ การดาเนนิ การใหบ้ รรลุตามคณุ ลักษณะของโรงเรียนสจุ รติ
4. สรา้ งเสรมิ ทศั นคติ ค่านิยมและจัดกจิ กรรมตา่ งๆ เพ่ือให้บรรลตุ ามคณุ ลักษณะของโรงเรียนสุจริต
5. ใหค้ ำปรึกษาและขอ้ เสนอแนะการดำเนนิ งานตามคณุ ลักษณะของโรงเรยี นสจุ ริตแบบมีสว่ นร่วมของชมุ ชน
6. สร้างเครือขา่ ยชมุ ชนในการขับเคลือ่ นโรงเรียนสุจริต
7. ยกยอ่ ง เชิดชูเกียรตบิ คุ คลทเ่ี ป็นแบบอย่างที่ดตี ามคุณลักษณะของโรงเรียนสุจรติ
8. ประชาสมั พันธ์การดาเนินงานโครงการโรงเรยี นสุจริต
9. รายงานผลการปฏบิ ัตงิ านต่อ ป.ป.ช. สพฐ. จงั หวดั และหนว่ ยงานที่เกยี่ วข้อง

12

3. การจดั คา่ ยเยาวชน “คนดขี องแผน่ ดิน”

เป็นกิจกรรมทีส่ ง่ เสริมคุณธรรม จรยิ ธรรมใหก้ ับนักเรยี นโดยเน้นไปท่ีคุณลักษณะทีส่ ำคญั ของ
โรงเรียนสุจรติ 5 ประการ คือ ทกั ษะการคดิ มีวินยั ซอื่ สตั ย์ สจุ รติ อยอู่ ย่างพอเพียง และมีจติ สาธารณะ ซง่ึ
ไดด้ ำเนินการในโรงเรียนสุจริต ต้ังแต่ปงี บประมาณ 2556 เป็นตน้ มา

โรงเรยี นในโครงการฯ จำเป็นตอ้ งจัดกิจกรรมการจัดคา่ ยเยาวชน “คนดีของแผน่ ดนิ ” ให้กับ
นักเรียนของตนเองตามเป้าหมายน้ี โดยบรู ณากบั คา่ ยคณุ ธรรม ในแตล่ ะปีงบประมาณ

4. การรายงานผลการดำเนนิ งานโรงเรยี นสจุ ริต

โรงเรยี นทเี่ ข้าร่วมโครงการต้องดำเนนิ กจิ กรรมการเรียนรู้ ตลอดจนกจิ กรรมตามมาตรฐานตาม
เกณฑ์โรงเรียนสจุ รติ และกิจกรรมอื่นๆ ที่โรงเรียนได้ดำเนินการ และสนบั สนุน ส่งเสรมิ ปลกู ฝัง ป้องกัน ทำ
ใหเ้ กดิ คุณลกั ษณะผูเ้ รยี นทัง้ 5 ประการ และใหโ้ รงเรียนรายงานผลการดาเนินงานตามไตรมาส ตามแบบ
รายงานที่ สพฐ. กำหนด (ภาคผนวก) ตามช่วงเวลาไตรมาส ดังนี้
ไตรมาสท่ี 1 เดือน มกราคม – เดือน มนี าคม
ไตรมาสที่ 2 เดือน เมษายน – เดือน มถิ ุนายน
ไตรมาสที่ 3 เดือน กรกฎาคม – เดือน กนั ยายน
ไตรมาสที่ 4 เดือน ตลุ าคม – เดอื น ธนั วาคม

นอกจากนี้โรงเรยี นต้องรายงานผลการประเมินคณุ ลกั ษณะ 5 ประการของผ้เู รยี น คือ ทักษะการคิด
มีวนิ ัย ซอื่ สัตย์สุจรติ อยอู่ ย่างพอเพยี ง และมีจิตสาธารณะ ตามแบบรายงาน ARS ท่ีสำนักงานเขตพน้ื ท่ี
การศึกษาสง่ ไปให้ปีละ 1 ครงั้ แล้วสำนกั งานเขตพน้ื ทสี่ ่งข้อมลู ของโรงเรยี นไปยังเวบ็ ไซต์ ของสำนักงาน
คณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ (กพร.) เพ่ือให้ผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรียนสุจรติ ของสำนักงาน
คณะกรรมการการศึกษาข้ันพื้นฐาน เปน็ ผูร้ ับรองขอ้ มลู

5. การจัดกิจกรรมเพื่อใหเ้ กดิ คุณลกั ษณะสจุ ริต

5.1 การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน

การจัดการเรยี นร้ใู นโรงเรยี นสุจริต มุ่งเนน้ การพัฒนาเด็กให้มีคณุ ลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องผูเ้ รียนใน
ศตวรรษที่ 21 การจดั การเรียนการสอนของโรงเรยี นสจุ รติ ตอ้ งยึดหลักการจดั การเรียนรู้ หลกั การสอนที่ดี
และต้องสอนใหผ้ ู้เรยี นเกิดคุณลักษณะสจุ รติ 5 ประการ คือ ทกั ษะกระบวนการคดิ มีวนิ ยั ซ่อื สัตยส์ จุ ริต อยู่
อย่างพอเพียง และมีจิตสาธารณะ ซึง่ การจดั การเรียนการสอนใหผ้ ู้เรยี นเกดิ คุณลักษณะสุจริต ดงั กลา่ ว
โครงการโรงเรียนสุจรติ ได้จดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ช้นั อนุบาล 1 ถึง ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ี่ 6 ไว้ใหค้ รูได้
ศกึ ษาและใชเ้ ปน็ แนวทางในการจดั การเรยี นรู้แล้ว ( ตามเอกสาร / Website โรงเรียนสจุ รติ ) ครผู สู้ อนอาจ
จัดการเรยี นการสอนโดยบูรณาการ กบั กลุ่มสาระการเรียนรู้ทั้ง 8 กลุ่มสาระ หรือบูรณาการกบั กจิ กรรม หรือ
โครงการตา่ งๆ ทโ่ี รงเรียนดำเนินการอยู่ก็ได้ ตามบริบทของโรงเรยี น

13

การประเมนิ ผลการเรียนการสอน คณุ ลกั ษณะสุจรติ 5 ประการ จากการสอนในแต่ละครั้ง ผู้เรยี น
อาจจะเกดิ คุณลักษณะสุจริต ตัวใดตวั หนง่ึ หรือเกดิ 2 หรอื 3 คณุ ลกั ษณะก็ได้ แตเ่ ม่ือสอนครบทุกแผน
จดั การเรียนรู้ ผ้เู รยี นจะเกิดคุณลักษณะสจุ ริต 5 ประการ โดยครสู ามารถนำไปใชเ้ ป็นสว่ นหนง่ึ ของการ
ประเมนิ คุณลักษณะท่ีพึ่งประสงคข์ องผูเ้ รียนตามหลกั สตู รปฐมวยั 2546 และหลกั สตู รการศึกษาขนั้ พื้นฐาน
2551 ได้ นอกจากน้ี ผบู้ ริหาร ครู และศกึ ษานเิ ทศก์ สามารถจัดทำวิจัยโรงเรียนสุจริต ในการแก้ไขปญั หา
หรอื เพื่อพฒั นาโรงเรยี นสุจริต แลว้ นำไปแลกเปลีย่ นเรียนรู้ และเผยแพร่ต่อสาธารณะชน และโรงเรยี นสุจรติ
ดว้ ยกัน

5.2 Best Practice

จากผลการจดั การเรียนการสอน ท่มี ีคุณภาพผูเ้ รียนเกดิ คุณลกั ษณะสจุ รติ 5 ประการ ได้อยา่ งมี
ประสทิ ธภิ าพ ผบู้ ริหารโรงเรยี น สามารถจัดทำผลงานดเี ด่น ( Best Practice ) ทเ่ี กดิ จากการบริหารจดั การ
โรงเรยี นสจุ ริต หรอื การนิเทศแนะนาช่วยเหลอื ครูใหด้ ำเนนิ งานบรรลุตามเป้าหมาย แล้วนำมาแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ เพอื่ เผยแพรใ่ หก้ ับโรงเรียนสุจริตดว้ ยกนั

ครู สามารถนำกระบวนการ หรอื เทคนิควิธีการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน มาจัดทำผลงานดีเด่น
เพือ่ ใช้ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เพ่อื เผยแพร่ให้กับครู และโรงเรียนสุจรติ ด้วยกัน
ศกึ ษานเิ ทศก์ สามารถจดั ทำผลงานดเี ด่น ที่เกดิ จากการนเิ ทศแนะนำชว่ ยเหลอื ครูให้ดำเนินงานบรรลผุ ล
สำเรจ็ ตามวัตถปุ ระสงค์ และนำมาแลกเปลีย่ นเรยี นรู้

ผู้เรยี น เมื่อมีผลการดำเนินงานส่งเสริมคุณลักษณะสุจริตได้ผลดี สามารถจดั ทำผลงานดีเด่น เพ่อื
นำเสนอผลงานแลกเปล่ียนเรียนรู้และเผยแพร่ต่อสาธารณะชน และโรงเรียนสุจรติ
จากการท่สี านักงานคณะกรรมการสถานศึกษาขน้ั พ้นื ฐานได้คัดเลือกสถานศึกษาต้นแบบ จานวน 225
โรงเรยี น เขา้ รว่ มโครงการฯ โดยมุ่งหวังให้ ผู้บรหิ าร ครู นกั เรยี น เกดิ คุณลักษณะทสี่ ำคัญ 5 ประการของ
โรงเรียนสุจรติ ซ่ึงจากการดาเนินงานมาเป็นระยะเวลา 2 ปี ได้ใชแ้ นวทางในการทีจ่ ะดาเนินงานให้บรรลผุ ล
สาเร็จ นั่นคอื ผู้บรหิ าร ครู นักเรยี น ของโรงเรียนสุจริต จะต้องค้นหาวธิ กี ารทางานท่ีดีท่ีสดุ ในการขบั เคล่อื น
โครงการ ฯ โดยกำหนดเป็นแนวทางไว้ ดังนี้

ผู้บรหิ ารโรงเรียน : จดั ทำ คน้ หาวธิ ีการทำงานทด่ี ีทส่ี ุดและคัดเลอื กเปน็ Best Practice จำนวน 1
เรอ่ื ง

ครผู ู้สอน 5 คน : จัดทำ คน้ หาวิธีการทางานที่ดีทส่ี ดุ และคัดเลอื กเป็น Best Practice จำนวน 5
เรอ่ื ง

นกั เรียน 3 คน : จัดทำ ค้นหาวธิ กี ารทางานท่ีดีท่สี ดุ และคัดเลอื กเป็น Best Practice จำนวน 1
เรื่อง

ในแต่ละปี สำนกั งานคณะกรรมการสถานศึกษาขนั้ พื้นฐาน ไดจ้ ัดให้โรงเรียน นำเสนอ Best
Practice ของผูบ้ ริหาร ครู และนักเรยี น เพื่อแลกเปลีย่ น เรียนรู้ ซึ่งสง่ ผลให้เกดิ นวตั กรรมในการดำเนินงาน
สเู่ ป้าหมายของโรงเรียนสุจรติ ท่หี ลากหลาย

ดังนนั้ โรงเรยี นที่ร่วมโครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรม จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา ภายใต้
ช่อื โครงการ “โรงเรยี นสจุ รติ ” จะต้องขบั เคลอ่ื นโครงการโดยการส่งเสรมิ ใหผ้ รู้ ่วมโครงการ ฯ ได้สร้าง
นวัตกรรมการดำเนนิ งานเพ่ือใหผ้ มู้ สี ว่ นเก่ยี วข้องได้เกดิ คุณลักษณะของโรงเรียนสจุ รติ

14

6.แนวทางการดำเนินกิจกรรมบรษิ ัทสรา้ งการดี
เปน็ กิจกรรมหน่งึ ใน โครงการเสริมสรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมาภบิ าลใน

สถานศกึ ษา “ปอ้ งกนั การทจริต” (โครงการโรงเรยี นสจุ ริต) เพือ่ ป้อง ปลกู ฝงั นักเรยี น
ใหต้ ระหนัก รู้ เขา้ ใจ คดิ อยา่ งมีเหตผุ ลเปน็ คนเกง่ เรียนรู้ เป็นคนดซี ือ่ ตรง มกี ริยามารยาทกบั การทำมาหา
กนิ สร้างชีวิตใหร้ ุ่งเรืองข้ึนได้ซึมซับคุณคา่ แห่งการทำความดี สร้างความรสู้ ึกรบั ผิดชอบในบรบทิ ของสงัคม
ไทยปัจจุบนั ปลูกฝงั ค่านิยมการไมท่ ุจรติ ใหก้ ับเด็กนกั เรียน ให้มจี ิตสำนึกของการมี คุณธรรมไม่มุ่งหวงั แต่
ผลประโยชน์ส่วนตน ซ่งึ จะส่งผลให้เยาวชนทผี่ ่าน กระบวนการ เปน็ นักเรยี นที่มีคณุ ภาพเป็นประโยชน์ต่อ
การพัฒนาชาติ บ้านเมืองและมีความรกั ชาตใิ นทางทถี่ ูก

กิจกรรมบริษัทสรา้ งการดีไม่ไ่ดจ้ ดั แคใ่ ่นโรงเรียนเท่านัน้ แต่หมายรวม ถึงคนรอบข้างของนกั เรยี น
เพราะเมือ่ นักเรยี นกลับบ้านพรอ้ มคำสอนและแนวปฏบิ ัตทิ ี่ดี นกั เรยี นสามารถถา่ ยทอดให้คนในบา้ นได้รับรู้
เป็นอีก แนวทางหนงึ่ โดยวิธที างอ้อมเพราะความซ่ือสัตย ์สุจริตเกดิ ขึ้นตั้งแต่การบ่ม เพาะในครอบครวั พ่อแม่
และบคุ คลในครอบครวั เปน็ ตัวอย่างโดยการดำเนิน ชวี ติ ตามหลักศลี ธรรม ไม่พูดปด ไมห่ ลอกลวงใหเ้ หน็ ถา้
เดก็ ๆ ได้รบั ร้ตู ้ัง แตต่ น้ จะได้แบบพิมพ์ดแี่ ละยงั่ ยืนผูน้ ำในสงั คมต้องเป็นแบบอยา่ งมสี ญั ลักษณ์ บุคคลที่
ซ่อื สัตยส์ จุ รติ ท่สี ามารถสัมผัส แตะต้องได้

15

แนวทางการประเมิน ITA Online

สำหรับเกณฑ์การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษา ออนไลน์
ยังคงใช้กรอบแนวทางการประเมินเช่นเดียวกับปีงบประมาณที่ผ่านมา เพื่อให้สถานศึกษาที่เข้ารับการ
ประเมิน ได้ทราบผลการประเมินตลอดจนข้อเสนอแนะที่จะนำไปสู่การปรับปรุงพัฒนาคุณธรรมและความ
โปรง่ ใสของหนว่ ยงานอยา่ งเช่ือมโยงและต่อเน่ือง โดยมกี ารเก็บขอ้ มลู จาก 3 ส่วน ดังน้ี

ส่วนที่ 1 การเก็บข้อมูลจากบุคลากรในสถานศึกษา (Internal Integrity and Transparency
Assessment: IIT) โดยเปิดโอกาสให้บุคลากรทุกระดับที่ปฏิบัติงานมาได้มีโอกาสสะท้อนและแสดงความ
คิดเห็น ต่อคุณธรรมและความโปร่งใสของสถานศึกษาตนเอง โดยสอบถามการรับรู้และความคิดเห็นใน 5
ตวั ชี้วัด ได้แก่

ตัวชวี้ ัดท่ี 1 การปฏิบัติหน้าท่ี
ตวั ช้วี ดั ที่ 2 การใช้งบประมาณ
ตวั ชีว้ ัดท่ี 3 การใชอ้ ำนาจ
ตัวชี้วัดที่ 4 การใช้ทรพั ย์สนิ ของราชการ
ตวั ชว้ี ัดที่ 5 การแก้ไขปัญหาการทุจรติ
ส่วนที่ 2 การเก็บข้อมูลจากผู้รับบริการหรือผู้ติดต่อสถานศึกษา (External Integrity and
Transparency Assessment: EIT) โดยเปิดโอกาสใหผ้ ูร้ ับบริการหรือผูต้ ิดต่อสถานศึกษาได้มีโอกาสสะท้อน
และแสดงความคิดเห็นต่อการดำเนินงานของสถานศึกษา โดยสอบถามการรับรู้และความคิดเห็นใน 3
ตัวชว้ี ดั ไดแ้ ก่
ตวั ชว้ี ัดที่ 6 คณุ ภาพการดำเนนิ งาน
ตัวชี้วัดท่ี 7 ประสิทธิภาพการสือ่ สาร
ตวั ชี้วดั ท่ี 8 การปรบั ปรงุ ระบบการทำงาน
ส่วนที่ 3 การเปิดเผยข้อมูลทางเว็บไซต์ของสถานศึกษา ( Open Data Integrity and
Transparency Assessment: OIT) เป็นการตรวจสอบระดับการเปิดเผยข้อมูลของสถานศึกษา ที่เผยแพร่
ไว้ทาง หน้าเว็บไซต์หลักของสถานศึกษา โดยมีคณะที่ปรึกษาการประเมินเป็นผู้ตรวจสอบข้อมูลและให้
คะแนน พรอ้ ม ขอ้ เสนอแนะตามหลกั เกณฑก์ ารประเมนิ ทีก่ ำหนด แบง่ ออกเปน็ 2 ตัวชวี้ ัด ได้แก่
ตวั ชีว้ ัดที่ 9 การเปิดเผยขอ้ มูล

ตัวชีว้ ดั ย่อยท่ี 9.1 ขอ้ มลู พื้นฐาน
ตัวชว้ี ัดย่อยท่ี 9.2 การบรหิ ารงาน
ตัวชวี้ ัดยอ่ ยที่ 9.3 การบริหารเงินงบประมาณ
ตัวชว้ี ดั ยอ่ ยที่ 9.4 การบรหิ ารและพัฒนาทรพั ยากรบุคคล
ตัวชว้ี ัดย่อยท่ี 9.5 การส่งเสริมความโปร่งใส
ตวั ช้ีวดั ท่ี 10 การปอ้ งกันการทุจรติ
ตวั ชี้วัดยอ่ ยท่ี 10.1 การดำเนินการเพ่ือป้องกนั การทุจริต
ตวั ชี้วดั ยอ่ ยท่ี 10.2 มาตรการภายในเพื่อป้องกันการทุจริต
แต่เนื่องด้วยมีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ระลอกใหม่ ขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ทั้งในเขตพืน้ ที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และทุกจังหวัดทั่วประเทศ เป็นผลใหม้ ีผู้ตดิ เชื้อ เพิ่มข้ึน
จำนวนมาก สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จึงกำหนดมาตรการป้องกันและควบคุม
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รวมทั้งการปรับลดเวลาและวันทำงาน ของ

16

บุคลากรในสังกัด เพื่อป้องกัน ควบคุม และจำกัดการแพร่ระบาดตามมาตรการของศูนย์บรหิ ารสถานการณ์
การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) โดยให้บุคลากรและหน่วยงานในสังกัด จัด
บุคลากรหมุนเวียนมาปฏิบัติงาน ณ สถานที่ทำงาน มอบหมายงานให้บุคลากรในสังกัดปฏิบัติงาน ณ ที่พัก
อาศัย เลื่อนการจัดประชุม การฝึกอบรม หรือการสัมมนาต่าง ๆ ออกไป งดการจัดการเรียนการสอนและ
กิจกรรมใด ๆ ที่ต้องมีการรวมกลุ่ม และปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างทางสังคม (Social Distancing)
อย่างเคร่งครัด การประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของสถานศึกษาออนไลน์ จึงต้องมี
การ ปรับแผนการดำเนินกิจกรรมให้สอดรับกับสถานการณ์ เพื่อสนองตอบมาตรการสำนักงาน
คณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานดังกล่าวข้างต้น โดยปรับรูปแบบจากการประเมินคุณธรรมและความ
โปรง่ ใสในการ ดำเนนิ งานของสถานศกึ ษาออนไลน(์ ITA Online) เปลยี่ นเป็น

- การเผยแพร่ประชาสัมพนั ธ์องค์ความรูเ้ กย่ี วกบั การประเมิน ITA ใหก้ บั สถานศึกษาเพอ่ื เตรียม รับ
การประเมิน ITA Online

- การส่งเสริมและสนับสนุนให้สถานศึกษามีการเผยแพร่ข้อมูลที่เป็นปัจจุบันบนเว็บไซต์ของ
สถานศึกษาเพ่ือเปิดเผยข้อมลู และการดำเนินการต่าง ๆ ของสถานศึกษาที่สอดคลอ้ งกับแบบวดั การเปดิ เผย
ข้อมูล สาธารณะ (Open Data Integrity and Transparency Assessment : OIT) ให้สาธารณชนได้รับ
ทราบ

- การปรบั ปรงุ และพัฒนาระบบการประเมนิ ITA Online ระดบั สถานศกึ ษา
จากสถานการณ์การแพร่ระบาดของ โควิด-19 ดังที่กล่าวมาข้างตน้ ส่งผลตอ่ การกำหนดกลไก และ
กระบวนการในการขับเคลื่อนแนวทางการประเมิน ITA Online ในปีนี้ โดยสำนักงานคณะกรรมการ
การศึกษาขน้ั พ้นื ฐาน ได้ออกแบบระบบเพือ่ ใหส้ ามารถรองรบั การประเมินสถานศึกษา ทงั้ นเ้ี พอ่ื ประโยชน์ ใน
การนำผลท่ไี ดจ้ ากการประเมนิ ITA Online มาใช้เป็นฐานข้อมลู ในการพัฒนาหน่วยงานในอนาคต

17

บทที่ 3
วธิ ีดำเนนิ การ

เพอ่ื ใหบ้ รรลจุ ดุ ประสงค์ของโครงการเสรมิ สร้างคุณธรรมจริยธรรมและธรรมภบิ าลในสถานศกึ ษา “
โรงเรียนสุจรติ ” จึงมีการดำเนินงานตามกระบวนการ (PDCA) ดังนี้

ในการดำเนนิ โครงการเสรมิ สรา้ งคณุ ธรรมจริยธรรมและธรรมภบิ าลในสถานศึกษา “ โรงเรียน
สจุ รติ ” ใหก้ ับคณุ ครูผู้รับผิดชอบโครงการโรงเรยี นสุจริต ได้ดำเนนิ การดังนี้

1. ประชมุ คณะกรรมการดำเนนิ งาน ( P )
2. เสนอโครงการเพอ่ื อนุมัติลงในแผนปฏบิ ตั ิงาน (P)
การเสริมสร้างคุณธรรมจรยิ ธรรมและธรรมภิบาลในสถานศึกษา “ โรงเรียนสุจริต”เปน็ โครงการ
ทีจ่ ัดข้นึ ในวนั ท่ี 16-20 สงิ หาคม 2564 ณ สำนกั เขตพนื้ ที่การศกึ ษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2 ใช้การ
ประชมุ เชิงปฏิบตั ิการ ผ่านระบบ google Meet โดยได้รบั งบประมาณสนบั สนุน ในการจดั ซือ้ วัสดุและ
อุปกรณ์ที่ใชใ้ นการดำเนินโครงการ จำนวน 40,000 บาท (ส่ีหม่ืนบาทถ้วน)

3. เสนออนมุ ัตโิ ครงการตามแผนปฏบิ ัติการ (P)
4. แจง้ รายละเอียดให้ครูผ้รู บั ผดิ ชอบทราบในการดำเนินโครงการ (P)
5. เตรยี มเอกสาร จัดหาวสั ดอุ ุปกรณ์ พร้อมดำเนนิ การ (P)
6. ดำเนนิ การตามโครงการ (วันที่ 16-20 สิงหาคม 2564) ( D)

การเสรมิ สรา้ งคุณธรรมจริยธรรมและธรรมภิบาลในสถานศึกษา “ โรงเรียนสจุ รติ ”เป็น
โครงการทจี่ ดั ขนึ้ ในวันท่ี 16-20 สิงหาคม 2564 ณ สำนกั เขตพน้ื ท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2 ใช้
การประชุมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ ผา่ นระบบ google Meet โดยได้รับงบประมาณสนับสนนุ ในการจัดซ้ือวัสดแุ ละ
อุปกรณ์ทีใ่ ช้ในการดำเนนิ โครงการ จำนวน 40,000 บาท (สี่หมน่ื บาทถว้ น) ดงั ตารางการประชมุ ปฏิบัตกิ าร
ดงั นี้

18

การประชุมปฏิบัติการครูผูร้ บั ผดิ ชอบโครงการโรงเรยี นสจุ ริตโรงเรยี นในสังกดั ออนไลน์
ในรปู แบบ Google Meet

ระหว่างวันท่ี 16-20 สิงหาคม 2564
......................................

วนั ท่ี 16 สิงหาคม ๒๕๖4
07.00 น.- 08.00 น. รับลงทะเบยี น
08.00 น.- 09.30 น. พิธีเปิดการอบรม (โดยรองผอ.สพป.สร 2)
09.30 น.- 12.00 น. ทบทวนกจิ กรรมโรงเรียนสจุ ริตและการนำหลักสูตรตา้ นทจุ ริตลงสู่ชั้นเรียน

โดย 1. นายนคร เจอื จนั ทร์
ผู้อำนวยการกลมุ่ กฎหมายและคดี สพป. สรุ นิ ทร์ เขต 3

2. นางอมรรตั น์ ศรีวเิ ศษ ศึกษานเิ ทศก์ สพป. สรุ ินทร์ เขต 2
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.00 น.- 16.30 น. การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส ( ITA Oline)

โดย 1. นายนคร เจือจันทร์
ผู้อำนวยการกล่มุ กฎหมายและคดี สพป. สุรินทร์ เขต 3

2. นางอมรรตั น์ ศรวี ิเศษ ศึกษานเิ ทศก์สพป. สุรินทร์ เขต 2
16.30 น. – 16.40 น. สรปุ ผลการจัดกจิ กรรม (นางอมรรตั น์ ศรีวเิ ศษ)

วันที่ 17 สงิ หาคม 2564
07.00 น.- 08.00 น. รับลงทะเบียน
08.00 น.- 12.00 น. การจดั ทำเตรียมใบงาน ใบความรู้ เพอื่ ทบทวนกิจกรรมโรงเรียนสจุ ริต

การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส ( ITA Online)
โดย คณะทำงานทุกคน
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.๐๐ น.- 16.30 น. จดั ระบบและทดสอบห้องรับส่งสัญญาณห้องประชมุ ต้นทาง
โดยคณะทำงานทกุ คน

วนั ท่ี 18 สิงหาคม 2564
07.00 น.- 08.00 น. รบั ลงทะเบยี น
08.00 น.- 09.30 น. พธิ เี ปดิ การอบรม (โดยรองผอ.สพป.สร 2)
09.30 น.- 12.00 น. ทบทวนกิจกรรมโรงเรียนสุจริตและการนำหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ลงสู่ชนั้ เรยี น

โดย 1. นายนคร เจอื จันทร์
ผอู้ ำนวยการกล่มุ กฎหมายและคดี สพป. สรุ นิ ทร์ เขต 3

2. นางอมรรัตน์ ศรีวิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพป. สุรินทร์ เขต 2
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.00 น.- 16.30 น. การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส ( ITA Oline)

โดย 1. นายนคร เจอื จันทร์
ผ้อู ำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี สพป. สรุ ินทร์ เขต 3

2. นางอมรรตั น์ ศรีวิเศษ ศึกษานเิ ทศกส์ พป. สุรนิ ทร์ เขต 2

19

16.30 น. – 16.40 น. สรุปผลการจดั กจิ กรรม (นางอมรรัตน์ ศรวี ิเศษ)
วนั ท่ี 19 สงิ หาคม 2564
07.00 น.- 08.00 น. รบั ลงทะเบยี น
08.00 น.- 09.30 น. พธิ ีเปดิ การอบรม (โดยรองผอ.สพป.สร 2)
09.30 น.- 12.00 น. ทบทวนกิจกรรมโรงเรยี นสจุ ริตและการนำหลักสูตรตา้ นทจุ รติ ลงสู่ชั้นเรยี น

โดย 1. นายนคร เจอื จันทร์
ผู้อำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี สพป. สุรินทร์ เขต 3

2. นางอมรรัตน์ ศรวี ิเศษ ศึกษานิเทศก์ สพป. สุรินทร์ เขต 2
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.00 น.- 16.30 น. การประเมนิ คุณธรรมและความโปร่งใส ( ITA Oline)

โดย 1. นายนคร เจอื จนั ทร์
ผู้อำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี สพป. สรุ นิ ทร์ เขต 3

2. นางอมรรัตน์ ศรีวเิ ศษ ศึกษานิเทศกส์ พป. สุรินทร์ เขต 2
16.30 น. – 16.40 น. สรุปผลการจดั กิจกรรม (นางอมรรัตน์ ศรวี เิ ศษ)

วันท่ี 20 สิงหาคม 2564
07.00 น.- 08.00 น. รับลงทะเบียน
08.00 น.- 09.30 น. พธิ เี ปดิ การอบรม (โดยรองผอ.สพป.สร 2)
09.30 น.- 12.00 น. ทบทวนกจิ กรรมโรงเรียนสจุ ริตและการนำหลักสตู รต้านทุจริตลงสชู่ ้นั เรียน

โดย 1. นายนคร เจือจนั ทร์
ผอู้ ำนวยการกลมุ่ กฎหมายและคดี สพป. สรุ ินทร์ เขต 3

2. นางอมรรัตน์ ศรีวิเศษ ศึกษานเิ ทศก์ สพป. สรุ นิ ทร์ เขต 2
12.00 น. – 13.00 น. รับประทานอาหาร
13.00 น.- 16.30 น. การประเมนิ คุณธรรมและความโปรง่ ใส ( ITA Oline)

โดย 1. นายนคร เจือจันทร์
ผ้อู ำนวยการกลุม่ กฎหมายและคดี สพป. สรุ ินทร์ เขต 3

2. นางอมรรตั น์ ศรวี ิเศษ ศึกษานเิ ทศก์สพป. สุรินทร์ เขต 2
16.30 น. – 16.40 น. สรปุ ผลการจดั กิจกรรม (นางอมรรตั น์ ศรีวเิ ศษ)

20

บทที่ 4
ผลการดำเนินงาน

การดำเนินโครงการจดั กิจกรรมเสริมสรา้ งคุณธรรม จริยธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศึกษา “
โครงการโรงเรยี นสุจริต” ให้กับคุณครผู ู้รบั ผิดชอบโครงการโรงเรยี นสจุ รติ โดยมผี ลการประเมนิ ความพงึ
พอใจหลงั เขา้ รบั การอบรมเชงิ ปฏบิ ัติการ ดงั นี้
ตอนที่ 1 สถานภาพทวั่ ไป

เพศ
1. เพศชาย จำนวน 104 คน คดิ เป็นร้อยละ 21.10
2. เพศหญิง จำนวน 389 คน คิดเปน็ รอ้ ยละ 78.90

การศกึ ษา
1. ระดบั ปริญญาตรี จำนวน 340 คน คิดเปน็ ร้อยละ 69.00
2. ระดบั ปริญญาโท จำนวน 152 คน คิดเปน็ ร้อยละ 30.80
3. ระดบั ปรญิ ญาเอก จำนวน 1 คน คดิ เป็นรอ้ ยละ 0.20

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ / ความรู้ความเขา้ ใจ / การนำไปใชต้ ่อการเข้ารว่ มอบรม

ระดับคุณภาพ

รายการประเมนิ มาก มาก ปาน น้อย น้อย เฉลย่ี

ทีส่ ุด กลาง ท่สี ุด 4.52
4.17
1. ระบบภาพและเสยี งชัดเจน นำเสนอได้อยา่ งต่อเนื่อง 271 205 17 0 0 4.56
4.64
2. ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการประชุม / อบรมมีความเหมาะสม 234 206 49 4 0 4.37
4.50
3. เน้อื หาทไ่ี ด้รบั เปน็ ประโยชน์ สามารถนำไปใช้ได้ 281 205 7 0 0 4.39
4.48
4. วิทยากรมีความสามารถในการถ่ายทอดความรู้ 319 170 4 0 0 4.44
4.14
5. สรา้ งบรรยากาศ จูงใจให้ผ้เู ข้าประชุมมีความนา่ สนใจ 213 251 29 0 0

6. เปิดโอกาสให้ผูเ้ ข้ารว่ มประชมุ มีส่วนรว่ มในการซักถาม 264 211 18 0 0

7. หลังจากไดร้ บั การอบรมท่านมีความร้เู พิ่มมากขึน้ เพียงใด 219 248 26 0 0

8. ประโยชนท์ ไี่ ด้รับจากการอบรม 253 227 12 1 0

9. สามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการปฏิบัติงานได้ 239 231 23 0 0

10. สามารถนำความรู้ไปปฏบิ ัติ / เผยแพร่หรือถา่ ยทอดได้ 209 249 35 0 0

21

บทท่ี 5
สรปุ อภิปรายผลและข้อเสนอแนะ

สรปุ

ครผู ูร้ ับผิดชอบโครงการโรงเรียนสจุ รติ ผูเ้ ข้ารบั การอบรมออนไลน์ มคี วามพงึ พอใจในระดับมากท่ีสดุ
คอื วิทยากรมีความสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ ท่รี ะดับ 4.64 รองลงมา คือ เน้ือหาที่ได้รบั เปน็ ประโยชน์
สามารถนำไปใชไ้ ด้ ทรี่ ะดบั 4.56 ระบบภาพและเสยี งชดั เจน นำเสนอได้อยา่ งต่อเน่อื ง ท่ีระดบั 4.52 เปิด
โอกาสใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมประชมุ มสี ่วนรว่ มในการซกั ถาม 4.50 ตามลำดับ ส่วนการประเมินความพึงพอใจในระดับ
มาก คือ ประโยชน์ทไ่ี ดร้ ับจากการอบรม ที่ระดับ 4.48 สามารถนำความร้ทู ไี่ ด้รับไปประยกุ ต์ใช้ในการ
ปฏบิ ัติงานได้ ทร่ี ะดบั 4.44 หลงั จากไดร้ บั การอบรมท่านมีความรเู้ พิม่ มากข้นึ เพียงใด ทีร่ ะดบั 4.39 สรา้ ง
บรรยากาศ จงู ใจใหผ้ ู้เข้าประชุมมีความนา่ สนใจ ทีร่ ะดบั 4.37 ระยะเวลาท่ีใช้ในการประชุม / อบรมมีความ
เหมาะสม ทร่ี ะดบั 4.17สามารถนำความร้ไู ปปฏบิ ตั ิ / เผยแพรห่ รอื ถ่ายทอดได้ ทรี่ ะดับ 4.14 ตามลำดับ

อภิปรายผล

ครผู ู้รบั ผิดชอบโครงการโรงเรียนสจุ ริตผู้เขา้ รับการอบรมออนไลน์ มีความพึงพอใจในระดับมากทส่ี ดุ
คอื วทิ ยากรมคี วามสามารถในการถา่ ยทอดความรู้ เพราะวทิ ยากรท่านมีความเชย่ี วชาญในด้านองคค์ วามรู้
เพราะทา่ นรบั ผดิ ชอบโดยตรง โดยเน้อื หาที่นำมาถ่ายทอดให้คณุ ครุผ้เู ขา้ รับการอบรมลว้ นมปี ระโยชนท์ ั้งสนิ้
และครยู ังสมารถนำความรู้ไปปรับใชก้ ับบรบิ ทของโรงเรยี น โดยการอบรมในครง้ั น้ี ถึงแม้จะเปน็ การอบรม
ออนไลน์ แตค่ ุณครไู ด้มีปฏสิ ัมพนั ธ์ วทิ ยากรเปิดโอกาสใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมประชมุ มีสว่ นร่วมในการซักถาม และตอบ
ขอ้ สงสัยตา่ งๆ ได้อย่างชัดเจน มีการเตรียมวัสดุอุปกรณ์ในการถา่ ยทอด อยา่ งเตม็ รปู แบบ ทำให้ระบบภาพ
และเสียงชัดเจน นำเสนอไดอ้ ยา่ งต่อเนื่อง

สว่ นการประเมนิ ความพึงพอใจในระดบั มาก คือ คุณครูผุ้รบั ผดิ ชอบโครงการโรงเรียนสุจริตล้วนเหน็
ประโยชน์ทไ่ี ด้รบั จากการอบรม สามารถนำความรู้ทไ่ี ด้รับไปประยกุ ต์ใชใ้ นการปฏิบัติงานและสามารถ
เผยแพรห่ รือถา่ ยทอดใหค้ ุณครทู ่านอ่ืนๆได้รับทราบและรว่ มกันขบั เคลอ่ื น จัดกจิ กรรมเสริมสร้างคณุ ธรรม
จรยิ ธรรมและธรรมาภบิ าลในสถานศกึ ษา “ โครงการโรงเรียนสจุ รติ ” ตอ่ ไป

ข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะจากครูผู้ร่วมอบรมออนไลน์ คำตอบ 148 ข้อ

- ขอบคุณค่ะ
- ดีมาก
- มีความรู้ความเข้าใจเพ่ิมมากขึ้น
- เป็นการอบรมท่ีดีมากค่ะ
- เป็นการอบรมที่ได้รับความรู้มากค่ะ
- จัดอบรมได้น่าสนใจมากคะ

22

- อยากให้มีการส่งไฟล์ อบรมก่อนการอบรมเพ่ือจะได้มีการบันทึกเอกสารเพื่อนำมาประกอบการ
อบรมขอบคุณครับ

- อยากให้อธิบายให้ละเอียดกว่าน้ีในแต่ละหัวข้อครับ
- ควรจัดให้มีการอบรมทุกปี
- ขอขอบคุณวิทยากรทุกท่านมากค่ะ
- พัฒนาต่อไปให้ดีๆยิ่งขึ้นไปครับ
- การสร้างวิดีโอสอนการกรอข้อมูลแต่ละตัวชี้วัด
- อยากให้พาลงมือทำ ITA on line
- อยากให้จัดการอบรมโครงการนี้อีก
- เวลาควรกระชับ
- ควรจัดอบรมให้ครูทุกคน
- ควรมีข้อมูลท่ี link ไว้ในเว็ปเขต ในการศึกษาเพ่ิมเติมครับ
- อินเตอร์เน็ตติดขัดบางช่วง
- วิทยากรอธิบายได้ดีมากๆค่ะ
- ขอบคุณมากๆๆนะคะ
- ระบบเสียงสะท้อนในบางช่วงของการอบรม
- ขอให้มีการเปิดอบรมการลงระบบอย่างละเอียดอีกครั้ง
-แข้ันตอนการกรอกข้อมูลต่างๆ
- เป็นการอบรมท่ีดี
- ระบบอินเทอร์เน็ตขัดข้องบางช่วง
- จัดการระบบให้ดีกว่าน้ี
- ดีมากค่ะ
- ขอบคุณวิทยากรทุกท่านคะ ได้ความรู้เพ่ิมมากข้ึนคะ
- ขอความอนุเคราะห์อบรมITA เพื่อเพิ่มความรู้เพ่ิมเติมคะ
- อยากให้จัดภาคปฏิบัติสำหรับการทำ OTA ครับ
- มีความรู้เพิ่มข้ึนมากๆค่ะ
- อยากให้มีการอบรม ita เพิ่มเติมอีกค่ะ
- อยากให้มีการจัดอบรมเร่ืองการประเมิน OIT
- สุดยอดมากครับผม
- ควรมีการติดตามนิเทศโครงการอย่างต่อเน่ือง
- เป็นกิจกรรมที่ดีและได้รับความรู้มากค่ะ
- การอบรมดีมากค่ะ
- เน้ือหาเยอะมาก
- จัดกิจกรรมอย่างต่อเน่ือง
- สนับสนุนงบประมาณในการอบรม
- อยากให้มีอบรมอีก
- อบรมวิธีทำ
- กิจกรรมการอบรมนี้ทำให้ผู้เข้าอบรมสามารถเรียนรู้การใช้เทคโนโลยีในการติดต่อส่ือสารกัน
และทำให้ผู้น้ันได้ความรู้เกี่ยวกับการทำ OTA ในโรงเรียนเพ่ือนำไปพัฒนาต่อยอดให้เกิดความรู้ด้านการ
ต่อต้านการทุจริต

23

- เป็นการประชุมที่เกิดประโยชน์
- วิทยากรนำเสนอได้ดีมากๆค่ะ ขอบคุณค่ะ
- อยากให้อบรม ITA
- ระยะเวลาในการอบรมนานเกินไป
- เป็นการอบรมท่ีดีค่ะ
- ได้รับความรู้มากค่ะ
- ควรจัดบ่อยๆค่ะ
- กิจกรรมดีค่ะ
- ดีครับ
- ขอขอบคุณคณะวิทยากรทุกท่านค่ะ
- ควรมีการประชุมเชิงปฏิบัติการอีกคร้ังหนึ่ง
- อยากให้จัดอบรมผ่าน zoomแบบน้ีอีกค่ะ
- จัดกิจกรรมการอบรมได้น่าสนใจมากครับ
- อยากให้มีการอบรมออนไลน์แบบนี้บ่อยๆค่ะ งดการแออัด วิทยากรเสียงดังดีมากค่ะ
- ขอขอบคุณท่าน ศน.และทีมงานมากคะ
- วิทยากรนำเสนอได้ชัดเจน เข้าใจดีค่ะ
- เวลากระชับมากทำให้เนื้อหาบางส่วนยังไม่เข้าใจ
- อยากให้มีการอบรมออนไลน์แบบนี้อีก
- การนำเสนอมีความชัดเจน ได้รับความเข้าใจดีมากครับ
- ครูที่รับผิดชอบงานไม่เก่งเรื่องเทคโนโลยี
- ระยะเวลาในการอบรมควรกระชับกว่านี้ค่ะ
- คนเราถ้าทำดีมีความซ่ือสัตย์คนรอบข้างก็จะมีความเชื่อถือการทำงานก็จะก้าวหน้า
- ควรแนะนำการทำข้อมูลท่ีจะป้อนในระบบเพ่ิมเติมค่ะ
- เป็นการอบรมที่อุ่นใจ ปลอดภัยมากค่ะ
- ให้อบรมปฏิบัติจริง
- ขอบคุณครับ
- เป็นโครงการท่ีดี
- ถ้าเพ่ิมระยะเวลาในการอบรมเป็น 2 วัน จะทำให้เนื้อหาไม่แน่นจนเกินไป
- ควรจัดการเรื่องวุฒิบัตรให้ดีกว่านี้
- ขอขอบคุณคณะวิทยากรมากค่ะ
- ควรได้รับวุฒิบัตรพร้อมกันไม่ต้องรอ
- ควรมีการขยายผล
- ขอบคุณท่านวิทยากรทุกท่านมากค่ะ
- อยากให้จัดอบรมแบบนี้ทุกปี
- ควรได้รับวุฒิบัตรพร้อมกัน
- ควรจัดประชุมแบบนี้ เพราะประหยัดงบประมาณในการเดินทางไปเข้าร่วมประชุมอบรมท่ีเขต-
เพราะระยะทางของต่างอำเภอไกลมาก
- เป็นการอบรมท่ีดีและได้รับความรู้
- จัดให้มีการอบรมอย่างต่อเน่ือง
- ขอบคุณสำหรับโครงการดีๆค่ะ

24

- ให้มีการจัดอบรมในโครงการอ่ืนๆเพิ่มมากขึ้น
- ขอขอบคุณวิทยากรและคณะทำงานทุกท่านค่ะ
- ควรจัดอบรมไม่เกิน 16.00
- อยากให้มีการอบรมอีกครั้ง เพ่ือพัฒนางานให้ดีย่ิงขึ้นไปค่ะ
- ควรจัดอบรมให้กับครูอย่างต่อเนื่องครับ
- ยังไม่ได้รับเกียรติบัตรค่ะ น่ังอบรมทั้งวัน ส่งแบบประเมินตั้งแต่ศน.ส่งล้ิงค์มา
- ควรเพิ่มเวลาในการจัดอบรม
- ควรอบรมใช้เวลามากกว่าน้ี
- ระยะเวลาน้อยเกินไปสำหรับผู้ไม่เคยอบรม

25

ภาคผนวก

26

ภาคผนวก ก
คำสั่งแตง่ ตง้ั คณะทำงาน

27

คำส่งั สำนักงานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2

ที่ 400/256๔

เรอ่ื ง แต่งตงั้ คณะทำงานการประชมุ ปฏิบตั ิการครูผ้รู ับผิดชอบโครงการโรงเรยี นสจุ ริต

สำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

…………………………………………………………………………..

ด้วยกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจดั การศึกษา กำหนดประชุมปฏิบัติการ

ครผู รู้ บั ผิดชอบโรงเรยี นสุจรติ ออนไลน์ ในรูปแบบ Google Meet ระหวา่ งวันท่ี 16 – 20 สิงหาคม

๒๕๖๔ ณ ห้องสมุดช้นั 3 ตง้ั แต่เวลา ๐๘.๐๐ น. เป็นตน้ ไป เพ่อื ให้การดำเนนิ การ เป็นไปด้วยความ

เรียบรอ้ ยจงึ แต่งตั้ง คณะกรรมการดำเนนิ การ ดงั รายละเอียดตอ่ ไปน้ี

1.คณะกรรมการบริหารโครงการ มหี นา้ ท่ีอำนวยการ ส่งเสริม สนับสนนุ ตดิ ตาม กำกับ และให้

คำปรกึ ษาการดำเนินการ ของทกุ ฝ่าย ประกอบด้วย

1.1 ผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพนื้ ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาสรุ นิ ทร์ เขต 2 ประธานกรรมการ

1.2 นายประเสรฐิ ศักด์ิ เหนิ ไธสง รองประธานกรรมการ

รองผอู้ ำนวยการสำนักงานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต 2

1.๓ นายสภุ พ ไชยทอง กรรมการ

ผอู้ ำนวยการกลุ่มนิเทศ ตดิ ตามและประเมลิ ผลการจดั การศึกษา

1.4 นางอมรรตั น์ ศรวี ิเศษ กรรมการและเลขานุการ

ศึกษานเิ ทศก์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2

2. คณะทำงาน มีหน้าทีเ่ ป็น เตรียมความพร้อมสัญญาณตน้ ทางการจดั การประชมุ ปฏบิ ตั ิการ สือ่

ตรวจใบงานประกอบดว้ ย

2.๑ นายสภุ พ ไชยทอง ผอ.กลุ่มนเิ ทศฯ หวั หน้าคณะทำงาน

2.2 นายวิชัย ทองจันทร์ ผอ.กลุม่ สง่ เสริมการจัดการศึกษาทางไกลฯ คณะทำงาน

2.3 นายณฏั ฐยชญ์ บญุ สด ศกึ ษานิเทศก์ คณะทำงาน

๒.4 นายสทุ ี ชงิ ชนะ ศึกษานิเทศก์ คณะทำงาน

๒.5 นายกญุ ช์พิสิฏฐ์ คงนุรตั น์ ศึกษานเิ ทศก์ คณะทำงาน

๒.6 นางปทมุ มาศ ขาวมะเริง ศึกษานเิ ทศก์ คณะทำงาน

2.7 นางกรรณิการ์ รัตนวงกต ศึกษานเิ ทศก์ คณะทำงาน

๒.8 นางจริ ชั ยา กินไธสง ศึกษานเิ ทศก์ คณะทำงาน

2.9 นางสภุ ัคร พทุ ธานุ ศึกษานิเทศก์ คณะทำงาน

2.10 นายสิทธิกร ศรีจนั ทร์ ผอ.โรงเรยี นบา้ นม่วงหมาก คณะทำงาน

2.11 นางระย้า สะพานทอง ครูโรงเรยี นโนนนารายณ์วทิ ยา คณะทำงาน

2.13 นางจรสั ./

28

2.14 นางจรัส พลิ าจนั ทร์ ครโู รงเรยี นบ้านน้ำเขียว คณะทำงาน

2.13 นางจินตนา พบบุญ ครโู รงเรียนบา้ นหนองกา คณะทำงาน

2.14 นายบญุ เกิด เหลามี ครูโรงเรยี นบา้ นหนองบัวน้อย คณะทำงาน

2.๑5 นายศิรวทิ ย์ เอ็นดู พนกั งานราชการโรงเรยี นบ้านระเวยี ง คณะทำงาน

2.๑6 นายภักพงษ์ จันพงู าม ลูกจ้างช่ัวคราว SP๒ คณะทำงาน

2.17 นางอมรรตั น์ ศรีวิเศษ ศกึ ษานิเทศก์ คณะทำงาน/เลขานุการ

3. คณะกรรมการฝา่ ยประชาสมั พนั ธ์ และวดั ประเมนิ ผล รับลงทะเบียน มหี น้าทใี่ นการประชาสมั พนั ธ์

พธิ ีกร รับลงทะเบยี น วัดประเมนิ ผล ทำเกียรติบตั ร ประกอบดว้ ย

๓.๑ นางอมรรตั น์ ศรีวิเศษ ศึกษานิเทศก์ ประธานกรรมการ

3.2 นางวาสนา เกตโุ สระ ผอ.โรงเรยี นบ้านนาอุดม กรรมการ

๓.๓ นางสุภัคร พทุ ธานุ ศึกษานเิ ทศก์ กรรมการ

๓.๔ นางกรรณิการ์ รตั นวงกต ศึกษานิเทศก์ กรรมการ

๓.๕ นางจริ ัชยา กนิ ไธสง ศกึ ษานิเทศก์ กรรมการ

๓.7 นางสาวทพิ วรรณ กระแสโท ลูกจา้ งชว่ั คราว กรรมการ

3.8 น.ส.นันทริ ัตน์ เหมันตา ธุรการโรงเรียนรตั นวิทยาคม กรรมการ

๓.9 นางวาฤณี บุญเลศิ เจา้ พนักธรุ การ กรรมการและเลขานุการ

๓.๑0 นางวชั รนิ ทร์ ชมุ แสง พนักงานธุรการ ส 4 กรรมการและผชู้ ว่ ยเลขานุการ

4.คณะกรรมการการเงินและพสั ดุมีหนา้ ที่จดั เตรียมงบประมาณและเบิก-จา่ ยตลอดการประชมุ

จดั หาหลักฐานการใช้จา่ ยเงินอืน่ ๆ ตามที่ไดร้ บั มอบหมาย ประกอบด้วย

4.1 นางอญั ชลี นามพรหม ประธานกรรมการ

ผู้อำนวยการกล่มุ บริหารการเงินและสนิ ทรพั ย์

4.2 นางอวยพร ไชยทอง กรรมการ

นักวิชาการการเงินและบญั ชชี ำนาญการพิเศษ

๔.3 นางวไิ ลรัตน์ ใจแกว้ กรรมการ

นักวชิ าการการเงนิ และบญั ชชี ำนาญการ

๔.4 นางอมรรตั น์ ศรวี เิ ศษ กรรมการและเลขานุการ

ศึกษานิเทศก์

ให้คณะกรรมการท่ีได้รบั การแต่งตง้ั ปฏบิ ัติหน้าที่ทไี่ ดร้ ับมอบหมายด้วยความรับผิดชอบ โดย
คำนงึ ถึงประโยชน์ ทท่ี างราชการจะได้รบั เปน็ สำคัญ เพ่ือให้เกิดประสทิ ธิภาพสูงสุดและเป็นไปตาม
วตั ถุประสงค์ทต่ี ัง้ ไว้ หากเกดิ ปญั หาใดๆ ในระหวา่ งปฏบิ ตั ิให้รายงานต่อคณะกรรมการอำนวยการโดยด่วน
เพือ่ จะได้หาแนวทางแก้ไข และให้การช่วยเหลอื สนับสนุน ต่อไป

ทง้ั น้ีตัง้ แต่บัดนเี้ ปน็ ต้นไป

สั่ง ณ วันที่ 4 เดือนสิงหาคม พ.ศ. 25๖๔

(นายณรงคศ์ ักด์ิ เหมอื นชาต)ิ
ผ้อู ำนวยการสำนักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาสุรนิ ทร์ เขต 2

29

ภาคผนวก ค ผลการประเมนิ ความพึงพอใจ

30

ตอนท่ี1 สถานภาพทั่วไป

31

ตอนที่ 2 ระดับความพึงพอใจ / ความรู้ความเข้าใจ / การนำไปใช้ ต่อการเข้าร่วมอบรม

32

33

34

35

ภาคผนวก ง
ประมวลภาพกจิ กรรม

36

ประมวลภาพกจิ กรรม

ทา่ น ณรงค์ศกั ดิ์ เหมอื นชาติ ทา่ นผูอ้ ำนวยการสำนกั งานเขตพนื้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ นิ ทร์ เขต 2
เป็นประธานเปิดการอบรม ผ่านระบบ online ดว้ ยโปรแกรม Zoom Meeting

37

ท่าน ประเสรฐิ ศักด์ิ เหินไธสงค์ รองผู้อำนวยการสำนกั งานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาสรุ ินทร์ เขต
2 รว่ มเปิดการอบรม ผ่านระบบ online ดว้ ยโปรแกรม Zoom Meeting

ท่าน ดร.สุภพ ไชยทอง ผู้อำนวยการกลุ่มนเิ ทศ ตดิ ตามประประเมนิ ผลการจัดการศึกษา บรรยายให้
ความรู้เกี่ยวกับการนำหลกั สูตรตา้ นทจุ ริตไปปรบั ใช้ในสถานศกึ ษา

38

ท่าน อมรรัตน์ ศรวี ิเศษ ศึกษานเิ ทศก์ บรรยายใหค้ วามรเู้ กี่ยวกบั โรงเรยี นสุจรติ

ท่าน นคร เจอื จนั ทร์ ผูอ้ ำนวยการกลุ่มกฎหมายและคดี สพป.สรุ ินทร์ เขต 3
บรรยายให้ความรู้เกีย่ วกบั การประเมิน ITA Online

39

ท่าน สทิ ธิกร ศรีจันทร์ ผูอ้ ำนวยการโรงเรยี นบ้านม่วงหมาก สพป.สุรินทร์ เขต 3
บรรยายใหค้ วามร้เู ก่ยี วกบั การประเมิน ITA Online ที่ประสบความสำเร็จและเปน็ แบบอยา่ ง พร้อมทงั้

ดูแลระบบในการอบรมออนไลน์ในคร้งั น้ี

คณะทำงานในการอบรม

40

บรรยากาศในการทำงานของคณะทำงานเพอ่ื สร้างความเข้าใจให้กบั คุณครูผเู้ ขา้ รบั การอบรมแบบออนไลน์
บรรยากาศการเขา้ รับการอบรม

41

คุณครูมีส่วนรว่ มในการอบรมออนไลน์

42


Click to View FlipBook Version