The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by 33947, 2022-11-27 06:32:36

721CB97F-F7D5-40C4-B74F-3228A63420BD

721CB97F-F7D5-40C4-B74F-3228A63420BD

ACID-BASE THEORY

ทฤษฎี กรด-เบส
วิชาเคมี ว3224

ส า ร บั ญ
ทฤษฎี กรด- เบสของอาร์เรเนียส
ทฤษฎี กรด- เบส ของเบรินสเตต- เลาว์ รี
ทฤษฎี กรด- เบสของลิวอีส

ท ฤ ษ ฎี ก ร ด - เ บ ส

ในการที่จะให้นิยามของกรด- เบส และในการ
จำแนกสารต่างๆ ว่าเป็ นกรดหรือเบสนั้นได้มีนัก
วิทยาศาสตร์ ได้ศึกษาและตั้งทฤษฎีกรด- เบส

ขึ้นหลายทฤษฎีด้วยกัน ทฤษฎีกรด- เบสที่
สำคัญมีดังนี้

อาร์เรเนียส

อาร์เรเนียส เป็นนักวิทยาศาสตร์ชาวสวีเดน
ได้ตั้งทฤษฎีกรด-เบส ในปี ค.ศ.1887 อาร์เร

เนียสศึกษาสารที่ละลายน้ำ (Aqueous
solution) และการนำไฟฟ้าของสารละลาย เขา
พบว่าสารอิเล็กทรอไลต์จะแตกตัวเป็นไอออน

เมื่อละลายอยู่ในน้ำและให้นิยามกรดไว้ว่า

กรด คือ สารที่เมื่อละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮโดรเจนไอออน” เช่น
เบสคือ สารที่เมื่อละลายน้ำแล้วแตกตัวให้ไฮดรอกไซด์ไอออน” เช่น

ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด - เบส อาร์เรเนียส
1)ทฤษฎีกรด- เบส อาร์เรเนียส จะเน้นเฉพาะการแตกตัวในน้ำ
ให้เป็นH +และ OH- ไม่รวมถึงตัวทำละลายอื่นๆ ทำให้อธิบาย

ความเป็นกรด- เบสได้จำกัด
+


2)สารที่จะเป็นกรดได้ต้องมี H อยู่ในโมเลกุล และสารที่จะเป็น
เบสได้ก็ต้องมี OH - อยู่ในโมเลกุล

ทฤษฎีกรด- เบส ของเบรินสเตต- เลาว์รี

โจฮันส์ นิโคลัส เบรินสเตต นักเคมีชาวเดนมาร์ก และ โทมัส มาร์ติน เลาว์รี นักเคมีชาวอังกฤษ ได้ศึกษาการให้และรับ
โปรตอนของสาร เพื่อใช้ในการอธิบายและจำแนกกรด- เบสได้กว้างขึ้น และได้ตั้งทฤษฎีกรด- เบสขึ้นในปี ค. ศ.1923 (พ.ศ. 2466)

กรด คือ สารที่สามารถให้โปรตอนกับสารอื่นๆ ได้ (Proton donor)
เบส คือ สารที่สามารถรับโปรตอนจากสารอื่นได้ (Proton acceptor)

พิจารณาตัวอย่างต่อไปนี้

ข้อจำกัดของทฤษฎีกรด - เบสของเบ
รินสเตต- เลาว์รี

ทฤษฎีกรด- เบสของเบรินสเตต-
เลาว์รี ใช้อธิบายสมบัติของกรด- เบส

ได้กว้างกว่าทฤษฎีของอาร์เรเนียส
แต่ยังมีข้อจำกัดคือ สารที่จะทำหน้าที่
เป็นกรดจะต้องมีโปรตอนอยู่ในสาร

นั้น

สารที่เป็นได้ทั้งกรดและเบส (Amphoteric) ในกรณีนี้ H2
O เป็นกรดเมื่อทำปฏิกิริยา
สารบางตัวทำหน้าที่เป็นกรด เมื่อทำปฏิกิริยากับสารตัว
หนึ่ง และทำหน้าที่เป็นเบส เมื่อทำปฏิกิริยากับอีกสารหนึ่ง กับ NH
และเป็นเบสเมื่อทำปฏิกิริยา
นั่นคือเป็นได้ทั้งกรดและเบส สารที่มีลักษณะนี้เรียกว่า สาร 3 +
เอมโพเทอริก(Amphoteric) เช่น H2O , HCO3- เป็นต้น 4
กับNH
กรณีของ H2O

ดังนั้นอาจจะสรุปได้ว่า ส
ารที่เป็นเอมโฟเท

อริก ถ้าทำปฏิกิริยากับสารที่ให้โปรตอน

ได้ดีกว่า ตัวมันเองจะรับโปรตอน ( ทำ

หน้าที่เป็นเบส) แต่ถ้าไปทำปฏิกิริยากับ

สารที่ให้โปรตอนได้ไม่ดี ตัวมันเองจะ

เป็นตัวให้โปรตอนกับสารนั้น ( ทำหน้า

เป็นกรด)

ลิวอิส

ทฤษฎีกรด- เบสของลิวอีส
ในปี ค. ศ. 1923 ( พ. ศ. 2466) ลิวอีสได้เสนอนิยามของกรดและเบสดังนี้
กรด คือ สารที่สามารถรับอิเล็กตรอนคู่ จากเบส แล้วเกิดพันธะโคเวเลนต์

เบส คือ สารที่สามารถให้อิเล็กตรอนคู่ในการเกิดพันธะโคเวเลนต์
ปฏิกิริยาระหว่างกรด- เบส ตามทฤษฎีนี้ อธิบายในเทอมที่มีการใช้อิเล็กตรอนคู่
ร่วมกัน กรดรับอิเล็กตรอนเรียกว่าเป็น Electrophile และเบสให้อิเล็กตรอนเรียก
ว่าเป็น Nucleophile และตามทฤษฎีนี้สารที่เป็นเบสต้องมีอิเล็กตรอนคู่อิสระ เช่น

ในกรณีนี้ NH3 เป็นเบส มีอิเล็กตรอนคู่ 1 คู่ จะให้อิเล็กตรอนคู่
กับกรดในการเกิดพันธะโคเวเลนต์ และ BF3 รับอิเล็กตรอนจาก

NH3 ดังนั้น BF 3 จึงเป็นกรด
ทฤษฎีของลิวอิสนี้มีข้อดีคือ สามารถจำแนกกรด- เบส ที่ไม่มีทั้ง

+-

H หรือ OH ในสารนั้น และแม้ว่าสารนั้นไม่ได้อยู่ในรูป

สารละลาย แต่อยู่ในสถานะก๊าซก็สามารถใช้ทฤษฎีลิวอิสอธิบาย

ความเป็นกรดเบสได้

เอกสารอ้างอิง นางสาวณัฐสุดา พลหาญศึก
1)https://www.pw.ac.th/sci/acid- ม.5/12 เลขที่6
เสนอ
base/content/ch3.html
2)https://tuemaster.com/blog/ทฤษฎี ครูปรีช์ญภัทร เล่งระบำ
โรงเรียนสีคิ้วสวัสดิ์ผดุงวิทยา
กรด-เบส-acid-base-theoryเบื้องต้/


Click to View FlipBook Version