ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสื่อดิจิทัล
ผู้จัดทำ
นาย ปวินท์ เลิกแตง
สาขาเทคโนโลยีดิจิทัล
สารบัญ 4
5
ความหมายสื่อดิจิทัล 6
12
สื่อดิจิทัล คือ
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอล
ข้อดี/ข้อเสีย ของสื่อดิจิทัล
ความหมายสื่อดิจิทัล
สื่อดิจิทัล เป็นนวัตกรรมที่สร้างขึ้นมาทดแทนสิ่งที่มีอยู่เดิม เพื่อ
ให้ราคาถูกลงและรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ เอื้อต่อประโยชน์การใช้สอย
ที่มากกว่าเดิมและสื่อดิจิตอล (ตรงกันข้ามกับสื่ออนาล็อก) มัก
หมายถึงสื่ออิเล็กทรอนิกส์ซึ่งทางานโดยใช้รหัสดิจิตอล ใน
ปัจจุบัน การเขียนโปรแกรมตั้งอยู่บนพื้นฐานของเลขฐานสอง ใน
กรณีนี้ ดิจิตอล หมายถึงการแยกแยะระหว่าง "0" กับ "1" ใน
การแสดงข้อมูล คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องจักรที่มักจะแปลข้อมูล
ดิจิตอลฐานสองแล้วจึงแสดงชั้นของเครื่องประมวลผลชั้นของ
ข้อมูลดิจิตอลที่เหนือกว่า สื่อดิจิตอลเช่นเดียวกับสื่อเสียง วิดีโอ
หรือเนื้อหาดิจิตอลอื่น ๆ
สื่อดิจิทัล คือ
ดิจิทัล ( Digital) คืออะไร
ดิจิตอล คือ เทคโนโลยีอีเล็คโทรนิคส์ที่ใช้สร้าง เก็บ และประมวลข้อมูลในลักษณะ 2
สถานะ คือ
-บวก (positive) และไม่บวก (non-positive)
-บวก (positive) แสดงด้วย เลข 1
-ไม่บวก (non-positive) แสดงด้วย เลข 0
ดังนั้น ข้อมูลส่งผ่าน หรือเก็บด้วยเทคโนโลยีดิจิตอล เป็นการแสดงด้วยข้อความ 0 และ 1
แต่ละค่าของตำแหน่งสถานะเหล่านี้ เป็นการอ้างแบบ binary digital เป็นเลขฐาน 2 เลข
ฐานสองนั้นถูกนำมาใช้ในทางคอมพิวเตอร์ เพราะว่าเลข 0 กับเลข 1 ในหน่วยความจำตัว
เก็บข้อมูล , การประมวลผล เลขฐานสองเป็นพื้นฐานในการทำงานของคอมพิวเตอร์
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอล
องค์ประกอบของสื่อดิจิตอลเบื้องต้น
จึงน่าจะเป็นอย่างเดียวกันกับองค์
ประกอบเบื้องต้นของ มัลติมีเดียด้วย
ซึ่งมักประกอบไปด้วยพื้นฐาน 5 ชนิด
ได้แก่
1. ข้อความ (Text)
2. เสียง (Audio)
3. ภาพนิ่ง (Still Image)
4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
5. ภาพวีดีโอ (Video)
1. ข้อความ (Text)
เป็นส่วนที่เกี่ยวกับเนื้อหาของมัลติมีเดีย ใช้แสดงรายละเอียด หรือเนื้อหาของเรื่องที่นา
เสนอ ถือว่าเป็นองค์ประกอบพื้นฐานที่สาคัญของมัลติมีเดีย ระบบมัลติมีเดียที่นาเสนอผ่าน
จอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์ นอกจากจะมีรูปแบบและสีของตัวอักษรให้เลือกมากมายตาม
ความต้องการแล้วยังสามารถกาหนดลักษณะของการปฏิสัมพันธ์ (โต้ตอบ)ในระหว่างการนา
เสนอได้อีกด้วย ซึ่งปัจจุบัน มีหลายรูปแบบ ได้แก่
1.1 ข้อความที่ได้จากการพิมพ์ เป็นข้อความปกติที่พบได้ทั่วไป ได้จากการพิมพ์ด้วย
โปรแกรมประมวลผลงาน (Word Processor) เช่น NotePad, Text Editor,
Microsoft Word โดยตัวอักษรแต่ละตัวเก็บในรหัส เช่น ASCII
1.2 ข้อความจากการสแกน เป็นข้อความในลักษณะภาพ หรือ Image ได้จากการนาเอกสาร
ที่พิมพ์ไว้แล้ว(เอกสารต้นฉบับ) มาทาการสแกน ด้วยเครื่องสแกนเนอร์ (Scanner) ซึ่งจะได้
ผลออกมาเป็นภาพ(Image) 1ภาพ ปัจจุบันสามารถแปลงข้อความภาพ เป็นข้อความปกติได้
โดยอาศัยโปรแกรม OCR ข้อความอิเล็กทรอนิกส์ เป็นข้อความที่พัฒนาให้อยู่ในรูปของสื่อ ที่
ใช้ประมวลผลได้
1.3 ข้อความไฮเปอร์เท็กซ์ (HyperText) เป็นรูปแบบของข้อความ ที่ได้รับความนิยมสูง
มากในปัจจุบัน โดยเฉพาะการเผยแพร่เอกสารในรูปของเอกสารเว็บ เนื่องจากสามารถใช้
เทคนิค การลิงก์ หรือเชื่อมข้อความไปยังข้อความ หรือจุดอื่นๆ ได้
2. เสียง (Audio)
ถูกจัดเก็บอยู่ในรูปของสัญญาณดิจิตอลซึ่งสามารถเล่นซ้ากลับ
ไปกลับมาได้ โดยใช้โปรแกรมที่ออกแบบ มาโดยเฉพาะสาหรับทา
งานด้านเสียง หากในงานมัลติมีเดียมีการใช้เสียงที่เร้าใจและ
สอดคล้องกับเนื้อหาใน การนาเสนอ จะช่วยให้ระบบมัลติมีเดีย
นั้นเกิดความสมบูรณ์แบบมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยสร้าง
ความน่าสนใจและน่าติดตามในเรื่องราวต่างๆ ได้เป็นอย่างดี
ทั้งนี้เนื่องจากเสียงมีอิทธิพลต่อผู้ใช้มากกว่าข้อความหรือภาพนิ่ง
ดังนั้น เสียงจึงเป็นองค์ประกอบที่จาเป็นสาหรับมัลติมีเดียซึ่ง
สามารถนาเข้าเสียงผ่านทางไมโครโฟน แผ่นซีดีดีวีดี เทป และ
วิทยุ เป็นต้น
3. ภาพนิ่ง (Still Image)
เป็นภาพที่ไม่มีการเคลื่อนไหว เช่น ภาพถ่าย ภาพวาด และภาพลาย
เส้น เป็นต้น ภาพนิ่งนับว่ามีบทบาทต่อระบบงานมัลติมีเดีย
มากกว่าข้อความหรือตัวอักษร เนื่องจากภาพจะให้ผลในเชิงการ
เรียนรู้หรือรับรู้ด้วยการมองเห็นได้ดีกว่า นอกจากนี้ยังสามารถ
ถ่ายทอดความหมายได้ลึกซึ่งมากกว่าข้อความหรือตัวอักษรซึ่ง
ข้อความหรือตัวอักษรจะมีข้อจากัดทางด้านความแตกต่างของ
แต่ละภาษา แต่ภาพนั้นสามารถสื่อความหมายได้กับทุกชนชาติ
ภาพนิ่งมักจะแสดงอยู่บนสื่อชนิดต่างๆ เช่น โทรทัศน์ หนังสือพิมพ์
หรือวารสารวิชาการ เป็นต้น
4. ภาพเคลื่อนไหว (Animation)
ภาพกราฟิกที่มีการเคลื่อนไหวเพื่อแสดงขั้นตอนหรือปรากฏ การณ์
ต่างๆ ที่เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น การเคลื่อนที่ของลูกสูบของ
เครื่องยนต์ เป็นต้น ทั้งนี้เพื่อสร้างสรรค์จินตนาการให้เกิดแรงจูงใจ
จากผู้ชม การผลิตภาพเคลื่อนไหวจะต้องใช้โปรแกรมที่มีคุณสมบัติ
เฉพาะทางซึ่งอาจมีปัญหาเกิดขึ้นอยู่บ้างเกี่ยวกับขนาดของไฟล์ที่
ต้องใช้พื้นที่ในการจัดเก็บมากกว่าภาพนิ่งหลายเท่า
5. ภาพวีดีโอ (Video)
เป็นองค์ประกอบของมัลติมีเดียที่มีความสาคัญเป็นอย่างมาก เนื่องจากวิดีโอ
ในระบบดิจิตอล สามารถ นาเสนอข้อความหรือรูปภาพ (ภาพนิ่งหรือภาพ
เคลื่อนไหว) ประกอบกับเสียงได้สมบูรณ์มากกว่าองค์ประกอบชนิดอื่นๆ
อย่างไรก็ตาม ปัญหาหลักของการใช้วิดีโอในระบบมัลติมีเดียก็คือ การสิ้น
เปลืองทรัพยากรของพื้นที่บนหน่วยความจาเป็นจานวนมาก เนื่องจากการนา
เสนอวิดีโอด้วยเวลาที่เกิดขึ้นจริง (Real-Time) จะต้องประกอบด้วยจานวน
ภาพไม่ต่ากว่า 30 ภาพต่อวินาที(Frame/Second) ถ้าหากการประมวลผล
ภาพดังกล่าวไม่ได้ผ่านกระบวนการบีบอัดขนาดของสัญญาณมาก่อน การนา
เสนอภาพเพียง 1 นาทีอาจต้องใช้หน่วยความจามากกว่า 100 MB ซึ่งจะทาให้
ไฟล์มีขนาดใหญ่เกินขนาดและมีประสิทธิภาพในการทางานที่ด้อยลงนั้นเอง
ข้อดี/ข้อเสีย ของสื่อดิจิทัล
ข้อดี
1.สามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลความรู้ในสิ่งที่สนใจร่วมกันได้
2.เป็นคลังข้อมูลความรู้ขนาดย่อมเพราะเราสามารถเสนอและแสดงความ
คิดเห็น แลกเปลี่ยนความรู้ หรือตั้งคาถามในเรื่องต่างๆ
3.ประหยัดค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่อสารกับคนอื่น สะดวกและรวดเร็ว
4.เป็นสื่อในการนาเสนอผลงานของตัวเอง เช่น งานเขียน รูปภาพ วีดิโอ
ต่างๆ เพื่อให้ผู้อื่นได้เข้ามารับชมและแสดงความคิดเห็น
5.ใช้เป็นสื่อในการโฆษณา ประชาสัมพันธ์ หรือบริการลูกค้าสาหรับบริษัท
และองค์กรต่างๆ
6. ช่วยสร้างผลงานและรายได้ให้แก่ผู้ใช้งาน เกิดการจ้างงานแบบใหม่ๆ
7. คลายเครียดได้สาหรับผู้ใช้ที่ต้องการหาเพื่อนคุยเล่นสนุกๆ
8.สร้างความสัมพันธ์ที่ดีจากเพื่อนสู่เพื่อนได้
ข้อเสีย
1.เว็บไซต์ให้บริการบางแห่งอาจจะเปิดเผยข้อมูลส่วนตัวมากเกินไปหากผู้ใช้บริการไม่
ระมัดระวังในการกรอกข้อมูล
2.SocialNetworkเป็นสังคมออนไลน์ที่กว้างหากผู้ใช้รู้เท่าไม่ถึงการณ์หรือขาด
วิจารณญาณอาจโดนหลอกลวงผ่านอินเทอร์เน็ต
3.เป็นช่องทางในการถูกละเมิดลิขสิทธิ์ขโมยผลงานหรือถูกแอบอ้างเพราะSocial
Network Service เป็นสื่อในการเผยแพร่ผลงาน
4.ข้อมูลที่ต้องกรอกเพื่อสมัครสมาชิกและแสดงบนเว็บไซต์ในรูปแบบSocialNetworkยาก
แก่การตรวจสอบว่าจริงหรือไม่
5.ผู้ใช้ที่เล่นsocialnetworkและอยู่กับหน้าจอคอมพิวเตอร์เป็นเวลานานอาจสายตาเสียได้
หรือบางคนอาจตาบอดได้
6.ถ้าผู้ใช้หมกหมุ่นอยู่กับsocialnetworkมากเกินไปอาจทาให้เสียการเรียนหรือผลการเรียน
ตกต่าลงได้
7.จะทาให้เสียเวลาถ้าผู้ใช้ใช้อย่างไร้ประโยชน