The words you are searching are inside this book. To get more targeted content, please make full-text search by clicking here.
Discover the best professional documents and content resources in AnyFlip Document Base.
Search
Published by captain71278, 2022-09-15 13:33:47

1234567

1234567

โครงงานภาษาไทย

การวเิ คราะหว จิ ารณวรรณคดสี มัยสโุ ขทยั เรอ่ื งไตรภมู พิ ระรวง

๑. นายธที ัต ผจู ัดทำ ม. ๔/๘ เลขที่ ๑
๒. นายสริ ิศกั ด์ิ ม. ๔/๘ เลขท่ี ๒
๓. นางสาวกีรติกาญจน ศริ โิ กไศยกานนท ม. ๔/๘ เลขท่ี ๑๙
๔. นางสาวฐติ ิพร ยอดอนิ ทร ม. ๔/๘ เลขที่ ๒o
๕. นางสาวพัชรินทร ปทมุ รตั นกุล ม. ๔/๘ เลขท่ี ๒๑
๖. นางสาววิมลสิริ อนุ วงศ ม. ๔/๘ เลขที่ ๒๒
๗. นางสาวกัญญาภคั บเุ งิน ม. ๔/๘ เลขท่ี ๓๔
๘. นางสาวเบญญาภา มาศขาว ม. ๔/๘ เลขที่ ๓๖
ถงึ ปช ชา
ลำงาม

ครูท่ีปรึกษาโครงงาน

คณุ ครกู รรณกิ าร พลพวก
คณุ ครวู ิไลวรรณ เดชผล

โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช อำเภอเมืองอบุ ลราชธานี จังหวดั อบุ ลราชธานี
รายงานนีเ้ ปน สว นประกอบโครงงานวชิ าภาษาไทย
ระดับชน้ั มัธยมศึกษาปท ่ี ๔



เกี่ยวกับโครงงาน

โครงงานภาษาไทย

เรือ่ ง ไตรภูมิพระรว ง
กลมุ สาระการเรยี นรู ภาษาไทย

ผจู ดั ทำ ๑. นายธที ตั ศิรโิ กไศยกานนท ม. ๔/๘ เลขท่ี ๑
๒. นายสริ ิศกั ด์ิ ยอดอนิ ทร ม. ๔/๘ เลขท่ี ๒
๓. นางสาวกรี ติกาญจน ปทมุ รตั นกลุ ม. ๔/๘ เลขที่ ๑๙
๔. นางสาวฐิตพิ ร อนุ วงศ ม. ๔/๘ เลขท่ี ๒o
๕. นางสาวพชั รินทร บุเงนิ ม. ๔/๘ เลขที่ ๒๑
๖. นางสาววมิ ลสริ ิ มาศขาว ม. ๔/๘ เลขท่ี ๒๒
๗. นางสาวกัญญาภัค ถงึ ปช ชา ม. ๔/๘ เลขท่ี ๓๔
๘. นางสาวเบญญาภา ลำงาม ม. ๔/๘ เลขท่ี ๓๖

ครูทป่ี รกึ ษา ๑. คณุ ครภู ัทรพร สบื สงิ ห
๒. คณุ ครูธนาภรณ ศริ กิ ลุ

สถานทศี่ ึกษา โรงเรียนเบญ็ จะมะมหาราช
สำนกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศกึ ษามธั ยมศกึ ษา เขต ๒๙

ปการศกึ ษา ๒๕๖๕



หวั ขอโครงงาน : การวเิ คราะหวิจารณว รรณคดสี มัยสุโขทยั เรื่อง ไตรภูมิพระรว ง

ประเภทของโครงงาน : การรวบรวมขอ มลู

ผูน ำเสนอโครงงาน : นายธที ัต ศริ โิ กไศยกานนทและคณะ

ครทู ป่ี รกึ ษาโครงงาน : คณุ ครูกรรณิการ พลพวก
คุณครูวไิ ลวรรณ เดชผล

โรงเรยี นเบ็ญจะมะมหาราช
ป พ.ศ. ๒๕๖๕

บทคดั ยอ

โครงงานนีไ้ ดศึกษาจากหนงั สือไตรภูมพิ ระรว งซึ่งเปนวรรณคดีในสมัยสุโขทัย และเปน พระราชนพิ นธ
ของพระมหาธรรมราชาที่ ๑ เปนวรรณกรรมชัน้ เอกสมัยกรุงสุโขทัยนับเปนวรรณคดเี ร่ืองแรกของไทย เปน
พระชาชนิพนธในสมเด็จพระศรีสุริยพงศรามมหาธรรมราชาธิราช หรือพระมหาธรรมราชาลิไทย เปน
วรรณคดไี ทยท่ีมอี ิทธิพลตอสังคมไทยตั้งแตส มยั กรุงสุโขทัย กรุงศรีอยธุ ยามาจนถงึ ปจจุบัน เพราะไดรวบรวม
เอาคตคิ วามเชอื่ ทุกแงท ุกมุมของทุกชนชน้ั หลายเผา พันธุมารอยเรยี งเปน เร่ืองราวใหผูอานผูฟงยำเกรงในการ
กระทำบาปทุจริต และเกดิ ความปติยินดีในการทำบญุ ทำกุศล อาจหาญมงุ มน่ั ในการกระทำคุณงามความดี

ผลการศึกษาพบวา เรือ่ งไตรภูมิพระรวงเปน วรรณกรรมทแ่ี สดงใหเหน็ ความเจรญิ รงุ เรอื งของศาสนาใน
สมยั สโุ ขทัย ยงั เปน ช้นิ งานท่แี สดงใหเ ห็นถงึ พระปรีชาสามารถในดา นพระพุทธศาสนาของพระมหาธรรมราชา
ท่ี ๑ และเปนวรรณคดเี ลมแรกทเี่ รียบเรียงในลักษณะการคน ควาจากคมั ภีรต า ง ๆ ถงึ ๓o คมั ภีร และพระองค
ยงั เชย่ี วซาญในวชิ าโหราศาสตรด าราศาสตร และไสยศาสตรจนถงึ ขน้ั ทรงบัญญตั ิคมั ภีรศ าสตราคมเปนธรรม
เนยี มสืบตอมา จนถึงปจจุบนั พระองทรงพรรณาถงึ เร่ืองการเกิด การตาย ของสัตวทง้ั หลายวา การเวยี นวาย
ตายเกดิ อยใู นภูมทิ ั้งสามคือ กามภมู ิ รูปภมู ิ และอรูปภมู ิ ซง่ึ สามารถนำไปใชใ นการศึกษา และนำมาปฎบิ ตั ิตน
ใหร จู กั ยำเกรงตอบาป หมั่นทำแตความดี



กติ ตกิ รรมประกาศ

การศกึ ษาโครงงานภาษาไทยการวิเคราะหว จิ ารณว รรณคดีสมัยสุโขทัย เรื่อง ไตรภมู พิ ระรว ง เปนอีก
โครงงานหนึ่งที่ชวยใหน กั เรยี นเกิดไดศึกษาถึงวรรณคดีท่ีทรงคุณคา ในสมัยสโุ ขทัย เปนหนังสือท่ีแตงข้ึนอยาง
มีศิลปะ มีความงดงามทางภาษา ถา ยทอดความสะเทือนใจ ความนกึ คดิ ออกมาไดอยา งครบถวน ทำใหผูอ าน
เกดิ จินตนาการ มอี ารมณร วมไปดว ย นอกจากน้ันวรรณคดยี ังตองเปนเรื่องทดี่ ี ไมชักจูงจิตใจไปในทางต่ำ ท้ัง
ยังแสดงความรูความคิด และสะทอนความเปนไปของสังคมในแตละสมัยดวย เปนอีกทักษะกระบวนการ
ความรู ซึง่ สามารถนำไปปรบั ใชใ นชวี ิตประจำวนั ได

การจดั ทำโครงงานในคร้งั น้ีสำเรจ็ ลลุ วงไปไดด ว ยดี ดวยไดรบั ความอนเุ คราะหแ ละการสนับสนุนจาก
คุณครูกรรณิการ พลพวก และคุณครูวิไลวรรณ เดชผล ครูประจำวิชาภาษาไทย ท่ีทำใหมีกิจกรรมโครงงาน
และคอยใหคำแนะนำตางๆ ในการทำโครงงานภาษาไทยใหถูกตองตามหลักการเปนไปดวยดีตาม
วัตถปุ ระสงค

ขอขอบคณุ คณะผูจัดทำทุกทานที่ชวยเหลือซ่ึงกันและกันมีความสามัคคีกันและใหคำปรึกษาทำให
โครงงานนส้ี ำเรจ็ ลลุ ว งไปไดด วยดี

คณะผจู ดั ทำ

สารบัญ ง

เก่ยี วกบั โครงงาน หนา
บทคัดยอ
กิตตกิ รรมประกาศ ก
สารบญั ข
บทท่ี ๑ บทนำ ค

- ทีม่ าและความสำคัญของโครงงาน ๑
- วัตถุประสงค ๑
- ประโยชนท ีค่ าดวาจะไดร บั ๒
- ขอบเขตของการศกึ ษาคนควา ๒

บทท่ี ๒ การศกึ ษาเอกสารทเ่ี กีย่ วของ
๓-๖
บทท่ี ๓ การดำเนนิ การโครงงาน
- ขนั้ ตอนการดำเนินงาน ๗
- วสั ดุ อุปกรณ เครื่องมือทใี่ ชในการศึกษา ๗

บทที่ ๔ ผลการศึกษาและอภปิ รายผลการศกึ ษา
๘-๑o
บทที่ ๕ สรปุ ผลการศกึ ษา
๑๑
บรรณานกุ รม
๑๒



บทท่ี ๑
บทนำ

ท่ีมาและความสำคญั ของโครงงาน

วรรณคดี หมายถึง หนงั สือทีแ่ ตงขน้ึ อยา งมศี ลิ ปะ อาจเปนรอ ยแกวหรือรอ ยกรอง มคี วามงดงามทาง
ภาษา ถายทอดความสะเทือนใจ ความนึกคดิ และจินตนาการของผูแตงออกมาไดอยางครบถว น ทำใหผอู าน
เกิดจินตนาการ มีอารมณรวมไปกับผูแตงดวย นอกจากนั้นวรรณคดียังตองเปนเรื่องที่ดี ไมชักจูงจิตใจไป
ในทางต่ำ ทง้ั ยงั แสดงความรู ความคิด และสะทอนความเปนไปของสงั คมในแตละสมัยดวย

สุโขทยั เปน ราชธานีแหง แรกของไทย โดยมพี อขุนบางกลางหาว เจา เมอื งบางยางกับพอขุนผาเมือง
เจาเมืองราด ไดรวมกนั กำจัดอิทธพิ ลของขอมออกไปจากเมอื งสุโขทยั แลว สถาปนากรุงสุโขทยั เปนราชธานี
และไดอภเิ ษกพอขุนบางกลางหาวขน้ึ เปนปฐมบรมกษัตรยิ  ทรงพระนามวา พอขุนศรอี ินทราทิตย ใน พ.ศ.
๑๗๙๒

วรรณคดีทเี่ กา แกทส่ี ุดและมีการบนั ทกึ เปนลายลกั ษณอ กั ษรที่ปรากฏมาจนถึงทุกวันน้ี คอื จารกึ สมัย
สุโขทยั ทัง้ น้ไี มไ ดห มายความวากอนสมัยสุโขทัยไมม ีการจดบนั ทกึ แตก ารเขยี นหนงั สือในสมัยนั้น ใชกระดาษ
ขอ ยหรอื ใบลาน เวลาผา นไปนับรอ ย ๆ ป สมดุ ขอยหรือใบลานก็สูญหายไป จนกระทั่งพอขุนรามคำแหง
มหาราชทรงคดิ ประดษิ ฐอกั ษรไทยขึ้นมา โดยทรงเรียกวา “ลายสือไท” แลว โปรดเกลา ฯ ใหจารึกไว เม่ือเวลา
ผานไปหลายรอยป ขอความบนศลิ าจารึกกย็ ังคงปรากฏอยู ไมล บเลอื นสญู หาย

ลักษณะของวรรณคดสี มยั สุโขทยั มลี ักษณะเปนการบรรยายสภาพบา นเมือง วัฒนธรรม สังคม และ
การอบรมศลี ธรรม มีลกั ษณะเปนวรรณคดปี ระยุกต ไมไดม ุง ความบันเทงิ ทำนองแตงเปนรอยแกว ใชคำไทย
โบราณ บาลสี นั สกฤต และเขมรปะปนอยมู าก

ในการวิเคราะหวิจารณวรรณคดีในสมัยสุโขทัยนั้น เปนการศึกษาถึงเรื่อง ไตรภูมิพระรวงในสมัย
สุโขทัย พระยาลไิ ททรงศกึ ษาพระพุทธศาสนาจนมีความแตกฉานในพระไตรปฎก พระองคไดท รงนิพนธเตภูมิ
กถาหรอื ไตรภมู ิพระรวงขึ้น มเี น้อื หาท่ีเก่ียวกบั แนวคิดที่ทรงอธบิ ายภพภูมิตาง ๆ โดยมีพระประสงคเพ่ือการ
ปกครองไพรฟา ประชาราษฎรมีจริยธรรม ใหเกรงกลัวตอการทําความชั่วและใหมีความขวนขวายในการทํา
คณุ งามความดี เพราะคนทาํ ความชว่ั จะไดไ ปเกิดในอบายภมู ิเชน ถกู ลงโทษในนรก สวนคนทําความดจี ะไดไป
เกิดในสุคตภิ ูมิเชน ไดเสวยทิพยสมบัติในสวรรคชั้นไตรทศ ซึ่งทําใหมีผลดีตอการปกครอง ไมตองบังคับใช
กฎหมายมาก ถือไดวาไตรภูมิพระรว ง เปน วรรณคดเี กา แกเ ลม หนึ่งของชาตไิ ทย เปนวรรณคดีท่มี ีการกลาวถึง
แนวคิดเร่อื งจักรวาลวทิ ยา อันเปนแนวคดิ เชิงอภิปรชั ญา ท่แี สดงหาคําตอบเพ่ือความจริงเกี่ยวกบั สภาพความ
เปน จริงของโลก ไดพ ดู ถงึ การเกดิ ข้นึ ของภเู ขา แมน ้ำ พระจนั ทรพระอาทิตยดาวนพเคราะหและดวงดาวอ่ืนๆ
เพ่อื แสดงใหเ หน็ ถึงสง่ิ ทมี่ ชี วี ติ ในภมู ทิ งั้ ๓ และยงั ไดนําเสนอแมก ระทั่งสง่ิ ทเ่ี ปนวัตถแุ วดลอมทางธรรมชาตซิ ึ่ง



ไดแ สดงใหเห็นวา จะเปน สง่ิ มชี วี ิตในภูมทิ ้งั ๓ ก็ดีสง่ิ แวดลอ มก็ดลี วนเปนส่ิงเปนอนิจจงั ไมเที่ยงแทเชนเดียวกัน
ซึ่งอีกปจ จัยหนึ่งที่ทำใหเลือกศึกษาวรรณคดีเรื่องน้ี ก็เนื่องมาจากตองการที่จะคนควาหาขอมูล ศึกษาหา
ความรใู หเ ขาใจในวรรณคดเี ร่อื งนี้อยางแทจ ริง เพอื่ ทจ่ี ะนำไปประกอบในการทำโครงงานครงั้ นี้อีกดวย

วตั ถปุ ระสงค
๑. เพอื่ ศกึ ษาวิเคราะหว จิ ารณวรรณคดสี มัยสโุ ขทยั เร่ืองไตรภูมิพระรวง ทางดา นท่มี าและเน้ือหา
๒. เพือ่ ศกึ ษาแนวคดิ ภพภูมใิ นไตรภูมพิ ระรว ง
๓. เพ่ือวิเคราะหแ นวคิดภพภูมใิ นพระไตรปฎกที่ปรากฏในไตรภูมิพระรวง
๔. เพอ่ื ศกึ ษาคุณคา ในดา นตางๆ

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ
๑. ไดค วามรูเกยี่ วกับเนื้อหาจากเร่อื งไตรภูมิพระรว งวามีความเปนมาและเน้ือเร่ืองมีการดำเนิน
อยางไรบาง
๒. ไดเ ขา ใจคุณคา จากเรื่องไตรภมู พิ ระรว งในดา นตา งๆ
๓. ไดข อคดิ มากมายในเร่อื งท่สี ามารถนำมาใชในชวี ิตประจำวันได

ขอบเขตของการศกึ ษาคนควา
๑. เน้อื หาของโครงงานน้ี เปน เน้อื หาที่ศกึ ษาเก่ยี วกับวรรณคดีสมัยสุโขทัยเรื่อง ไตรภูมิพระรว ง ท้ัง
ดา นทมี่ าและคณุ คา ในดา นตางๆ เพอื่ นำมาปรบั ใชแ ละเปน ขอ คดิ ในชวี ติ ประจำวันได
๒. ระยะเวลาจดั ทำ ตัง้ แต ๖ กันยายน - ๑๔ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๕
๓. จดั ทำเปน หนังสอื อเิ ลก็ ทรอนิกส ( E-book ) เพอ่ื สะดวกตอการศกึ ษาคน ควาตอไป



บทท่ี ๒
การศึกษาเอกสารท่ีเกี่ยวของ

การจัดทำโครงงานวิเคราะหวิจารณวรรณคดีสุโขทยั เรื่อง ไตรภูมิพระรว ง กลุมผูจ ัดทำไดศึกษาจาก
วรรณคดีสมัยสโุ ขทัย เรอ่ื ง ไตรภูมพิ ระรวง ดังน้ี

๑. ลกั ษณะวรรณคดสี มัยสุโขทัย
๒. ทม่ี าและประวัตผิ แู ตงเรื่องไตรภูมิพระรว ง
๓. ลกั ษณะคำประพันธและจุดมุงหมาย
๔. วเิ คราะหเ น้ือหาและความหมายของภพภูมิทั้ง ๓
๕. วิเคราะหคณุ คา ทางดานตา งๆ

๑. ลักษณะวรรณคดสี มยั สุโขทัย
วรรณคดีที่เกาแกที่สุดและมีการบันทึกเปนลายลักษณอักษรที่ปรากฏมาจนถึงทุกวันนี้ คอื จารึกสมัย
สุโขทัย ทัง้ นไี้ มไ ดหมายความวากอนสมัยสุโขทัยไมมีการจดบันทึก แตก ารเขียนหนังสอื ในสมัยน้นั ใชก ระดาษ
ขอยหรือใบลาน เวลาผานไปนับรอย ๆ ป สมุดขอยหรือใบลานก็สูญหายไป จนกระทั่งพอขุนรามคำแหง
มหาราชทรงคดิ ประดษิ ฐอ ักษรไทยข้นึ มา โดยทรงเรยี กวา “ลายสือไท” แลว โปรดเกลา ฯ ใหจารึกไว เมอ่ื เวลา
ผานไปหลายรอ ยป ขอความบนศลิ าจารึกก็ยงั คงปรากฏอยู ไมล บเลอื นสญู หาย

ไตรภูมิพระรวง เปน พระราชนิพนธข องพระมหาธรรมราชาที่ ๑ ซ่ึงแตง ขนึ้ เมือ่ วนั พฤหัสบดี ขนึ้
๑๕ ค่ำ เดือน ๔ ประกา ตรงกับวันพฤหัสบดีท่ี ๔ มนี าคม พ.ศ. ๑๘๖๔ (ปเกา) จ.ศ. ๕๘๓ ม.ศ. ๑๒๔๓ เปน
ปครองราชยที่ ๖ โดยมีพระประสงคที่จะเทศนาโปรดพระมารดา และเพื่อจำเรญิ พระอภิธรรม ไตรภูมิพระ
รว งเปนหลักฐานช้นิ หนง่ึ ทีแ่ สดงใหเ ห็นถึงพระปรชี าสามารถอยา งลึกซึ้ง ในดา นพุทธศาสนาของพระมหาธรรม
ราชาลิไทที่ทรงรวบรวมขอความตางๆ ในคัมภีรพระพุทธศาสนา นับแตพระไตรปฎก อรรถกถา ฎีกา และ
ปกรณพิเศษตางๆ มาเรยี บเรียงขนึ้ เปนวรรณคดีโลกศาสตรเ ลมแรกทแี่ ตง เปนภาษาไทยเทาทีมีหลักฐานอยูใน
ปจจุบันนี้ ทั้งนี้ อ.สินชัย กระบวนแสง ไดวิเคราะหเ หตุผลการแตงไตรภูมิพระรวงของพระมหาธรรมราชาลิ
ไท วาจะเกี่ยวของกับเรื่องการเมอื งดว ย เนื่องจากไตรภมู ิเปน เร่ืองท่ีเกีย่ วของกับนรก-สวรรค สอนใหคนรูจัก
การทำความดเี พ่ือจะไดข นึ้ สวรรค หากแตใ ครทำชวั่ ประพฤติตนผดิ ศีลก็จะตองตกนรก กลา วคือ ประชากรใน
สมัยที่พระมหาธรรมราชาลิไทปกครองนั้นเริ่มมีมากขึ้นกวาแตกอน ทำใหการปกครองบานเมืองใหสงบสุข
ปราศจากโจรผรู า ยเปน ไปไดยากยิง่ ข้ึน การดแู ลของรฐั ก็ไมอาจดแู ลไดท วั่ ถงึ พระมหาธรรมราชาลิไทจึงไดคดิ
นพิ นธว รรณกรรมทางศาสนาเรื่องไตรภูมิพระรวงขึ้นมาเพ่ือท่ีตองการสอนใหประชาชนของพระองคทำความ
ดี เพื่อจะไดข้ึนสวรรคมีชวี ติ ที่สขุ สบาย และหากทำความชั่วก็จะตอ งตกนรก ดวยเหตุนี้วรรณกรรมเร่ืองไตร
ภูมิพระรวง จึงเปนสิ่งท่ีใชควบคุมทางสังคมไดเปนอยางดียิ่ง เพราะสามารถเขาถึงจิตใจทุกคนไดโดยมิตอ งมี
ออกกฎบังคบั กนั แตอ ยา งไร ไตรภูมิพระรว ง เดิมเรียกวา “เตภมู กิ ถา” หรอื “ไตรภูมกิ ถา”



ตอมาสมเด็จพระเจาบรมวงศเธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพทรงเปลี่ยนชื่อใหมวา “ไตรภูมิพระ
รว ง” เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระรวงเจาแหงกรุงสุโขทัย ไตรภูมิพระรวงฉบับเกาที่สุดบันทึกไวในใบลานดวย
อักษรขอม เมอ่ื พ.ศ. ๒๓๒๑ โดยพระมหาชวย วัดปากน้ำ หรือวัดกลาง จงั หวดั สมุทรปราการ ในสมัยสมเด็จ
พระเจาตากสนิ มหาราช และนายวิทรู มลวิ ัลย ไดต รวจสอบอกี คร้งั ใน พ.ศ. ๒๕๑๗

๒. ทมี่ าและประวตั ิผูแ ตงเร่อื งไตรภูมพิ ระรวง
ท่มี าของเรื่อง
หอพระสมุดวชิรญาณไดตนฉบับไตรภูมิพระรว งมาจากจังหวัดเพชรบุรี เปนใบลาน ๑o ผูก จารดวย

อักษรขอมในสมัยสมเด็จพระเจากรุงธนบุรีพระมหาชวย วัดปากน้ำ (วัดกลาง จังหวัดสมุทรปราการ ใน
ปจจุบัน) เปนผูจารหอพระสมุดวชิรญาณ ไดถอดความออกเปนอักษรไทย โดยมิไดแกไขถอยคำไปจาก
ตนฉบับเดิมไตรภูมิพระรวงเปนวรรณคดีพุทธศาสนาที่แตงในสมัยสุโขทัยประมาณ พ.ศ. ๑๘๘๘ โดย
พระราชดำริในพระยาลไิ ท รวบรวมจากคัมภีรใ นพระพุทธศาสนา

ประวัตผิ แู ตง
พระมหาธรรมราชาท่ี ๑ (พญาลไิ ท) เปนกษัตรยิ องคท ๖่ี แหงกรุงสุโขทยั ข้นึ ครองราชยตอจากพญา
งัวนำถม จากหลกั ฐานในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ พ.ศ. ๑๙๓๕ หลักที่ ๘ ข. คนพบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๘๘ เมื่อพญา
เลอไทสวรรคต ในพ.ศ. ๑๘๘๔
พญาลไิ ท ทรงเล่ือมใสในพระพุทธศาสนา ทรงอาราธนาพระเถระชาวลังกาเขามาเปนสงั มราชในกรุง
สุโขทัย ไดสละราชสมบัติออกทรงผนวชที่วัดปามะมวงนอกเมืองสุโขทยั ทางทิศตะวันตก พญาลิไททรงมี
ความรูแตกฉานในพระไตรปฎกทรงสนพระทัยทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาเปนอันมาก และทรงพัฒนา
บานเมืองใหเจริญหลายประการ เชน สรางถนนพระรวง ตั้งแตเมืองศรสี ัชนาลัยผานกรุงสุโขทัยไปถึงเมือง
นครชุม (กำแพงเพชร) บูรณะเมืองนครชุม สรางเมอื งสองแคว (พิษณุโลก) เปนเมืองลูกหลวง และสรางพระ
พทุ ธชนิ ราช พระพทุ ธชินสีหทฝี่ มอื การชางงดงามเปน เยีย่ ม
งานพระราชนิพนธของพญาลไิ ท ไดแก ไตรภูมิพระรวงหรือเตภูมิกถา ศิลาจารึกวัดปามะมวงและ
ศิลาจารกึ วดั ศรชี ุม เปน หลักฐานทางประวตั ิศาสตร กลาวถึงเหตุการณและขนบธรรมเนยี มประเพณีตางๆการ
สรางวัดพระศรรี ัตนมหาธาตุ การผนวชทีว่ ดั ปา มะมว ง เปน ตน

๓. ลกั ษณะคำประพนั ธแ ละจุดมุงหมาย
ลกั ษณะคำประพนั ธ
ไตรภูมิพระรว ง แตงเปนรอ ยแกว ประเภทความเรียงสำนวนพรรณนา เชน “เปรตลางจำพวกตวั เขา

ใหญ ปากเขานอยเทารูเข็มนั้นก็มี เปรตลางจำพวกผอมหนักหนา เพื่ออาหารจะกินบมิได แมวาจะขอดเอา
เน้อื นอย ๑ กด็ ี เลือดหยด ๑ ก็ดี บมไิ ดเ ลย เทา วามีแตกระดูกและหนงั พอกกระดกู ภายนอกอยูไส หนังทอ ง



เกลียดนกั หนาแลเขาน้ันเทยี รยอมเดือดเนื้อรอนใจเขาแล เขารองไหร องครางอยูทุกเมื่อแลเพราะวา เขาอยาก
อาหารนกั หนาแล ”

จุดมุงหมายในการแตง
๑. เพอ่ื เทศนาโปรดพระมารดา เปน การเจรญิ ธรรมกตญั ู
๒. เพื่อใชส ่ังสอนประชาชนใหมคี ุณธรรม เขาใจพุทธศาสนาและชวยกนั ธำรงพระพุทธศาสนา

๔. วเิ คราะหเ นอ้ื หาและความหมายของภพภูมิทง้ั ๓
ไตรภูมิกถา หรือไตรภูมิพระรวง เปนวรรณกรรมชั้นเอกสมัยกรุงสุโขทัยนับเปนวรรณคดีเรื่องแรก

ของไทย เปนพระชาชนิพนธใ น สมเด็จพระศรสี ุริยพงศรามมหาธรรมราชาธริ าช หรือพระมหาธรรมราชาลี
ไทย เปนวรรณคดีไทยทีม่ อี ทิ ธิพลตอ สงั คมไทย ตัง้ แตส มัยกรุงสุโขทยั กรุงศรอี ยุธยามาจนถึงปจจุบัน เพราะ
ไดรวบรวมเอาคติความเช่อื ทุกแงท กุ มุมของทุกชนชน้ั หลายเผาพันธุมา รอ ยเรยี งเปน เรื่องราวใหผูอานผูฟงยำ
เกรงในการกระทำบาปทจุ ริต และเกิดความปติยินดีในการทำบญุ ทำกศุ ลอาจหาญมงุ มัน่ ในการกระทำคุณงาม
ความดี พระมหารรรมราชาลิไทย มีพระปรีชารอบรูแตกฉานในพระไตรปฎก อรรถกถาฎีกาอนุฎีกา และ
ปกรณพเิ ศษตา ง ๆ พระองคยังเชีย่ วชาญในวิชาโหราศาสตรดาราศาสตร และไสยศาสตรจนถงึ ขน้ั ทรงบัญญัติ
คัมภีรศาสตราคม เปนปฐมธรรมเนียมสืบตอ มา จนถงึ ปจจุบันทรงพรรณาถึงเร่ืองการเกิด การตาย ของสัตว
ทั้งหลายวา การเวียนวา ยตายเกิดอยูในภูมิทัง้ สามคือ กามภูมิ รูปภูมิ และอรูปภมู ิ ดวยอำนาจของบุญและ
บาปที่ตนไดก ระทำแลว

๑. กามมมู ิ เปน แดนทขี่ องอยดู วยกามตณั หา ยังมีความโลภ โกรธ หลง แบง เปน “อบายภูมิ ๔
หรอื ทคุ ติภมู ิ” และ “สุดติภมู ิ” อบายภูมิ 4 คือภูมทิ ี่ไมม ีความเจรญิ เปน ฝายไมดี มีความทกุ ข ไดแ ก

๑. นรก คอื สภาวะท่ีไมมคี วามสุขความเจริญ ภาวะเรา รอน กระวนกระวาย
๒. เปรต คอื ภมู ิแหงผูหิวกระหาย ไรสุข
๓. อสรุ กาย คอื พวกหวาดหวัน่ ไรค วามรน่ื เริง เปน ศตั รกู ับเทวดา
๔. เดรจั ฉาน คือ พวกทน่ี ิยมอยใู นเหตุ ๓ ประการ คอื การกิน การนอน การเสพเมถุน หรือสตั วผ ู
ไปโดยขวาง ก็คอื ควำ่ อก (คลาน)
สุคติภูมิ อยูในกามภูมทิ เี่ ปน ฝายดี
๑. มนสุ สภมู ิ กลา วถึง บุตรและมนุษย การแบง ประเภทของมนุษยกลาวถึงทวีปในทิศตา งๆ
๒. สวรรค ๖ ชน้ั (ฉกามาพจร)ไดแ ก จาตุมหาราชกิ ดาวดึงส ยามะ ดุสติ นิมมานรดี

ปรนมิ มิตวสวดั ดี
๒. รูปภูมิ หรอื รูปามาจรภูมิ
เปนแดนท่ีมสี ุขของพรหมมีรูป ซ่ึงไมม เี ร่ืองกามเขาไปปน ไดแก พรหม 16 ชน้ั มีช่อื เรยี กตางๆ กนั ไป แบง
ตามระดบั ฌานไดเ ปน
- ปฐมฌานภมู ิ



- ทุตยิ ฌานภูมิ
- ตตยิ ฌานภมู ิ

- จตตุ ถฌานภูมิ
๓. อรูปภูมิ หรือ อรปู มาจรภูมิ คือ แดนของพรหมไมม ีรูป มีแตจิต มีอยู ๔ แดน

๑. อากาสานัญจายตน ฌานทีเ่ พงอากาศไมม ที สี่ ้นิ สุดเปนอารมณ
๒. วญิ ญาผจั จายตน ฌานทเี่ พง วิญญาณไมม ที ี่สิ้นสดุ เปน อารมณ
๓. อากญิ จัญญายตน ฌานทเี่ พง สิง่ ท่ีไมมอี ะไรเหลือเปนอารมณ
๔. เนวสัญญานสัญญายตน ฌานที่เพงวามีความรูสึกก็ไมใชหรอื จะหาความรูสึกวาไมมีก็
ไมใช

๕. วิเคราะหค ุณคาทางดา นตา งๆของเร่อื ง
๑. ดานภาษาและสำนวนโวหาร
เปนวรรณคดีเลมแรกที่เรียบเรียงในลักษณะการคนควาจากคัมภีรต าง ๆ ถงึ ๓๐ คัมภีร จึงมีศพั ท

ทางศาสนาและภาษาไทยโบราณอยูมาก สามารถนำมาศึกษาการใชภาษาในสมัยกรุงสุโขทัย ตลอดจน
สำนวนโวหารตาง ๆ ไตรภูมิพระรวงมีสำนวนหนักไปในทางศาสนาโวหารและพรรณนาโวหาร ผกู ประโยค
ยาว และใชถ อ ยคำพรรณนาดีเดน สละสลวยไพเราะ กอ ใหเกิดความรสู กึ ดา นอารมณสะเทือนใจและใหจินต
ภาพหรอื ภาพในใจอยา งเดน ชัด

๒. ดา นความรู
ดา นวรรณคดี ทำใหคนช้ันหลังไดรบั ความรทู างวรรณคดี อนั เปน ความคดิ ของคนโบราณ ซ่ึงจะเปน
พื้นฐานของวรรณคดีไทย เชน พระอนิ ทร แทนบัณพุกัมพล ชา งเอราวัณ เขาพระสุเมรุ ปาหิมพานตตนปาริ
ชาติ ตนนารีผล นรก สวรรค เปน ตน
ดานภูมิศาสตร เปน ความรูทางภูมศิ าสตรของคนโบราณโดยเชื่อวาโลกมีอยู ๔ ทวีป ไดแก ชมพู
ทวปี บุรพวิเทหทวีป อตุ ตรกุรุทวีป และอมรโคยานทวีป โดยมเี ขาพระสุเมรเุ ปน ศูนยกลาง
๓. ดา นสงั คมและวัฒนธรรม
คำสอนทางศาสนา ไตรภูมิพระรวงสอนใหคนทำบุญละบาป เชน การทำบุญรักษาศีล สมาธิ
ภาวนาจะไดขึ้นสวรรคการทำบาปจะตกนรก แนวความคิดนี้มีอิทธิพลเหนือนจิตใจของคนไทยมาชานาน
เปนเสมือนแนวการสอนศลี ธรรมของสังคม ใหค นปฏบิ ัติชอบซึ่งเปนประโยชนตอ การอยูร ว มกนั ในสงั คม
คา นิยมเชิงสังคม อิทธิพลของหนังสือเลม นี้ใหคานิยมเชิงสังคมตอ คนไทย ใหตั้งม่ันและยึดมัน่ ใน
การเปน คนใจบญุ มีเมตตากรณุ า รกั ษาศีล บำเพ็ญทาน รูจกั เสียสละ เชอื่ มนั่ ในผล แหงกรรม
ศิลปกรรม จิตรกรนิยมนำเรื่องราวและความคิดในไตรภูมิพระรว งไปเขียนภาพสีไวในโบสถวิหาร
โดยจะเขียนภาพนรกกไวที่ผนังดานลางหรือหลังองคพระประธาน และเขียนภาพสวรรคไวที่ผนังเบื้องบน
รอบโบสถว ิหาร



บทที่ ๓
การดำเนนิ การโครงงาน

ในการจัดทำโครงงานในครั้งนี้ มีวัตถุประสงคเพื่อศกึ ษาวิเคราหวรรณคดสี มัยสุโขทัย เร่อื ง ไตรภูมิ
พระรว ง เพื่อเปน การนำความรทู ไ่ี ดม าใชศ ึกษาและสมารถนำมาปรบั ใชในชีวิตประจำวนั ได
โดยมขี ั้นตอนการดำเนินการดงั นี้

๓.๑. ขั้นตอนการดำเนินงาน
๑. ศกึ ษาขอ มูลจากหนงั สือ ตำรา เอกสารทีเ่ กีย่ วขอ งของเรื่อง ไตรภมู ิพระรวง
๒. วางแผนขอบเขตของขอ มูลท่ีใชศ กึ ษาและขอบเขตของการทำโครงงาน
๓. รวบรวมขอ มลู ทไ่ี ดจ ากเร่ือง ไตรภมู ิพระรวง
๔. ดำเนนิ การวิเคราะหข อ มลู ตามหัวขอ ทท่ี ำโครงงาน
๕. สรปุ ผลการดำเนินการ
๖. นำเสนอโครงงานผา นทางหนังสอื อเิ ล็กทรอนิกส (E-book)

๓.๒. วัสดุ อุปกรณ เครอ่ื งมือทใี่ ชใ นการศึกษา
๑. เครื่องคอมพวิ เตอร
๒. อินเตอรเน็ต
๓. โปรแกรม Microsoft word
๔. เว็บไซตขอมูลของโครงงานเรอ่ื ง ไตรภูมพิ ระรวง
๕. โปรแกรม anyflip



บทท่ี ๔
ผลการศึกษาและอภปิ รายผลการศึกษา

จากผลการศึกษาวรรณคดีสมัยสุโขทัย เรื่อง ไตรภูมิพระรวง ในการจัดทำโครงงานคร้งั น้ขี อมูลที่ไดค ือ

เร่อื ง ไตรภมู ิพระรว ง

พระยาลิไทยทรงพระราชนพิ นธไตรภูมิพระรวงขึ้น เพื่อโปรดพระราชมารดา และเปนธรรมทานแก
ประชาชนทั่วไปโดยเรื่องไตรภมู ิพระรวงน้ันมีจุดมุงหมายสำคัญ คือเพื่อชี้ใหผูอานตระหนักวา ดินแดนใน
สามโลกนี้มีแตอนิจจลักษณะ หมายถึง เปนโลกที่ไมนาอยู ไมมีความแนนอน ไมจีรังยั่งยืน มีแตการ
แปรเปลีย่ น รวมทั้งยังชี้นำใหทุกคนแสวงหาทางหลุดพนไปสูโลกตุ รภูมิ หรอื นพิ พานที่อยูเ หนือกระแสแหง
การเวยี นวา ยตายเกิด

ท่ีมาของเร่ือง
ไตรภูมพิ ระรวงเปน วรรณกรรมทางพุทธศาสนาที่กลาวถึง ภมู ิ(แดน) ทง้ั สาม คือ กามกูมิ รปู ภูมิ และ

อรูปภูมิ ซง่ึ มีเนือ้ หาพรรณนาถึงที่อยู ท่ตี ้งั และการเกดิ ของมนุษย สัตวนรก เปรต อสรุ กาย และเทวดา
กามภูมิ คือโลกของผทู ีย่ ังติดอยูใ นกามกิเลส แบง ออกเปนดนิ แดน ๒ ฝาย และแบงเปน โลกยอยๆ

๑๑ แหง ไดแก
๑. ทุติยภูมิ หรืออบายภูมิ ๔ ดินแดบ เปนฝายไมดีหรือฝายเสื่อม ประกอบดวยโลกยอยๆ ๔ แหง

ไดแก บรกภมู ิ เปรตภูมิ อสุรกายภมู ิ และสตั วดริ จั ฉานภูมิ
๒. สคุ ติภูมิ คือ มนุสสภูมิ ๑ สวรรค ๖ ดินแดน เปนฝายดีหรือฝายเจริญ ประกอบดวยโลกยอยๆ

รวม ๗ แหง ไดแ ก มนสุ สภูมิหรือโลกมนษุ ย ๑ แหง สวรรคภูมิ หรือฉกามาพจรภูมิ ๖ แหง
รูปภมู ิ เปนดินแดนของพรหมที่มีรูป มีทั้งสิน้ ๑๖ ชั้น ผูมาเกิดตอ งบำเพ็ญสมาธิจนไดฌานสมบัติ

พรหมในชนั้ เหลานไี้ มม กี ารเคล่ือนไหวใดๆท้ังส้นิ พรหมท้งั ๑๖ ชน้ั นเ้ี รียกวา โสฬสพรหม พรหม ๕ ชั้นสูงสุด
คือ พรหมตง้ั แตช ัน้ ที่ ๑๒ - ๑๖ เปนพรหมช้นั พิเศษทเี่ รียกวา ปญ จสุทธาวาส เปน ท่ีเกดิ ของพระอนาคามี คอื
ผูทจี่ ะไมกลับมาสูโ ลกนีอ้ กี ตอไป ทา นจะสำเรจ็ เปนพระอรหนั ตแลว นพิ พานในชั้นสุทธาวาสน้ี

อรปู ภูมิ เปน ดนิ แดนของพหมไมม รี ูป มีแตจ ติ หรือวิญญาณ แบงเปน ๔ ชั้น คอื อาสานัญจายตนะ
วิญญานัญจายตนะ อากิญกัญจายตนะ เนวสัญญานาสัญยตนะ เปนการกลาวกถึงการกำเนิด และสภาพ
ความเปนไปแหงหมูภูมิน้นั ๆ ผทู ่มี าเกิดใบดินแดนท้งั ๓ โลกนี้มาเกดิ ตามผลกรรม อนั เปน เหตุใหต อั งเวยี นวาย
ตายเกิดอยใู นสงั สารวฏั อยางไมมีวันสน้ิ สดุ ซ่งึ มีเนอื้ หาพรรณนาถึงทอี่ ยู ที่ตงั้ และการเกิดและดบั ของมนษุ ย

จดุ มุงหมายของการแตง
เพ่อื ทรงแสดงธรรมโปรดพระราชมารดา และสงั่ สอนประชาชน



ผูแตง
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ หรือพระยาลิไทย ทรงพระราชนิพนธไตรภูมิพระรวง เมื่อ พ.ศ. ๑๘๙๖

ขณะครองเมอื งศรสี ชั นาลัยได ๖ ป

ลกั ษณะคำประพนั ธ
ความเรียงรอ ยแกว ประเภทความเรยี งสำนวนพรรณนา เชน

“เปรตลางจำพวกตวั เขาใหญ ปากเขานอยเทา รูเข็มน้ันก็มี เปรตลางจำพวกผอมหนักหนา เพอื่ อาหารจะ
กินบมิได แมวาจะขอดเอาเนื้อนอย ๑ ก็ดี เลือดหยด ๑ ก็ดี บมิไดเลย เทาวามีแตกระดูกและหนังพอก
กระดูกภายนอกอยูไส หนงั ทอ งนน้ั เหย่ี วตดิ กระดกู สันหลังแล ตาน้ันลึกและกลวงดังแสรงควักเสีย ผมเขา
น้นั ยงุ รุย รายลงมาปกปากเขา มาตรวา ผารายนอ ยหนึ่งกด็ ี และจะมีปกกายเขานน้ั ก็หามิไดเลย เทียรยอม
เปลอื ยอยู ชว่ั ตนเขาน้ันเหม็นสาบพงึ เกลยี ดนักหนาแลเขานน้ั เทียรยอมเดือดเนื้อรอนใจเขาแล เขารองไห
รองครางอยทู กุ เม่อื แลเพราะวา เขาอยากอาหารนักหนาแล”

ลักษณะเดน
หนังสือไตรภูมิพระรวง ถึงแมวาเปนวรรณคดีโบราณที่ใชภาษาไทยแบบเกาและมีศัพททาง

พระพุทธศาสนาปะปนอยูม าก ทำใหย ากแกก ารอา น แตสำนวนพรรณนาแจมแจง ไพเราะ ชวยใหเกิดจินต
ภาพและทำใหเกิดความรูสึกคลอ ยตามไปดวย เชน ตอนพรรณนาถึงความนากลัวในนรกภูมิ และความสขุ
สบายในสวรรค ทุกๆ ตอนที่กลาวถึงเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผูทรงพระราชนิพนธไดทรงอธิบายตอนนั้นอยาง
ละเอียด

คณุ คา ของเร่อื ง
๑. ดานภาษาและสำนวนโวหาร เปนวรรณคดีเลมแรกที่เรียบเรียงในลักษณะการคนควาจาก

คัมภีรตางๆ ถึง ๓๐ คัมภีร จึงมีศัพททางศาสนาและภาษาไทยโบราณอยูมาก สามารถนำมาศึกษาการใช
ภาษาในสมัยกรุงสุโขทยั ตลอดจนสำนวนโวหารตาง ๆ ไตรภูมพิ ระรวงมีสำนวนหนักไปในทางศาสนาโวหาร
และพรรณนาโวหาร ใชการผูกประโยคยาว และใชถอยคำพรรณนาดีเดน สละสลวยไพเราะ กอใหเกิด
ความรูส ึกดานอารมณสะเทือนใจ และให
จนิ ตภาพหรือภาพในใจอยางเดน ชัด

๒. ดานความรู
- ดานวรรณคดี ทำใหคนช้ันหลงั ไดรบั ความรูท างวรรณคดี อนั เปนความคิดของคนโบราณซ่ึงจะเปนพ้ืนฐาน
ของวรรณคดไี ทย
- ดานภูมิศาสตร เปนความรูทางภูมศิ าสตรของคนโบราณ โดยเชื่อวาโลกมีอยู ๔ ทวีป ไดแก ชมพูทวีป
บุรพวิเทหทวปี อุตตรกรุ ุทวปี และอมรโคยานทวีป โดยมเี ขาพระสเุ มรเุ ปนศนู ยก ลาง

๑o

๓. ดา นสังคมและวัฒนธรรม
- คำสอนทางศาสนา ไตรภูมพิ ระรวงสอนใหคนทำบญุ ละเวนบาป เชน การทำบุญรกั ษาศีลเจรญิ สมาธิภาวนา
จะไดขึ้นสวรรค การทำบาปจะตกนรก แนวความคิดนี้มีอิทธิพลเหนือจิตใจของคนไทยมาชานาน เปน
เสมือนแนวการสอนศีลธรรมของสังคม สอนปรัชญาทางพระพุทธศาสนาชี้ใหเห็นแกนแทของชีวิต อันนำ
มนษุ ยชาตใิ หห ลดุ พน จากวัฏสงสาร ใหค นปฏิบัตชิ อบซึง่ เปน ประโยชนตอ การอยรู ว มกนั ในสังคม
- คานิยมเชิงสังคม อิทธิพลของหนังสือเลมน้ีใหคานิยมเชิงสังคมตอคนไทย ใหตั้งมั่นและยึดมั่นในการเปน
คนใจบุญ มีเมตตากรุณา รักษาศีล บำเพ็ญทาน รูจักเสยี สละ เช่ือม่ันในผลแหงกรรม ไตรภูมิพระรวงกำหนด
กรอบแหง ความประพฤติ เพื่อใหสังคมมคี วามสงบสุขผูปกครองแผนดินตองมีคุณธรรมดานประเพณีและ
วัฒนธรรม ความเชื่อท่ียังสืบทอดมาจนถึงปจ จุบัน

๑๑

บทที่ ๕
สรปุ ผลการศึกษา

จากการจัดทำโครงงานวิเคราะหวรรณคดีสมัยสุโขทัย เรื่อง ไตรภูมิพระรวง พบวาการนำเสนอใน
รปู แบบหนังสืออิเล็กทรอนิกส (E–book) ทำใหมีผูสนใจศึกษาสามารถเขาใจในเนื้อหาเปนการสงเสริมการ
อานวรรณคดไี ทย เรอ่ื งไตรภูมพิ ระรว ง ไดอ ยางสะดวกและงายตอการเขา ถึง ซ่ึงเปนเน้อื หาท่ีกระชับอา นแลว

เขา ใจงา ยและยงั สมารถนำไปปรับใชใ นชีวติ ประจำวันไดต ามวาระโอกาสท่เี หมาะสม

ประโยชนท ่ีไดรับจากการทำโครงงาน

๑. ไดหนังสืออิเล็กทรอนิกส ( e–book ) เปนการสงเสริมการอานวรรณคดีไทยประกอบการ
เรียนรวู รรณคดสี มัยสุโขทัย เร่อื ง ไตรภมู พิ ระรว ง

๒. ไดฝก การทำงานเปนหมูคณะ
๑. ฝก ทักษะการใชภ าษาไทย
๒. ฝกทกั ษะการใชเ ทคโนโลยี
๓. ฝก ความคดิ รเิ ริ่มสรา งสรรคและจนิ ตนาการ

ขอ เสนอแนะ

๑. ควรมกี ารศกึ ษาขอ มูลจากแหลงตา งๆ ใหมากกวานี้
๒. ควรมกี ารจัดทำในรปู แบบของนทิ าน การตนู เพ่ือเปน การเขาถงึ เน้ือหาไดส ำหรับทุกเพศทุกวัย
๓. ควรจัดทำสื่อในรปู แบบเผยแพรแ บบตางๆเพื่อเปน การสะดวกตอ การใชงานและเขา ถึงไดงาย

๑๒

บรรณานุกรม

พญาลไิ ทย. ไตรภูมกิ ถาหรือไตรภมู พิ ระรวง. พระราชนพิ นธพระมหาธรรมราชาท่ี ๑ พญาลิไทย ฉบับ
ตรวจสอบชำระใหม กรุงเทพฯ : กรมศิลปากร, ๒๕๒๖. ๑๘๙ หนา (กรมศิลปากรจัดพิมพเนื่องในการ
ประชมุ สัมมนาเรอ่ื ง ไตรภมู ิพระรว ง ในโอกาสฉลอง ๗๐๐ ป ลายสือไทย)

ศิลปากร, กรม (ผูรวบรวม). นิทานเรื่องพระรวง. พิมพครั้งที่ ๒ กรุงเทพฯ : โรงพิมพมหามกุฎราช
วิทยาลยั , ๒๕๒๖. ๑๑๗ หนา (พมิ พเปนอนุสรณในงานฌาปนกิจศพ นางเจยี รนัย บุญศิริ ณ เมรวุ ัดธาตุทอง)

เอกพงษ ภสู ทัน. (๒๕๕๓). รปู แบบการเขยี นรายงานโครงงาน ๕ บท. [ออนไลน) . เขา ถงึ ไดจาก :
https://www.slideshare.net/ . (สบื คน เมื่อวันท่ี ๓ กันยายน ๒๕๖๕).

กลุมงานขอมูลสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานจังหวัดสุโขทัย. (๒๕๔๑). ไตรภูมิพระรวง.
[ออนไลน]. เขาถึงไดจาก : http://www.sukhothai.go.th/ . (สืบคนเมือ่ วนั ท่ี ๔ กันยายน ๒๕๖๕).


Click to View FlipBook Version